SlideShare a Scribd company logo
1 of 78
ติวเข้มเติมเต็มความรู้
รายวิชาชีววิทยา
สาหรับนักเรียนระดับชั้น
มัธยมศึกษาตอนปลาย
เรื่อง
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ
คาร์บอนไดออกไซด์ในพืช C4 และ CAM
(C4 AND CAM PHOTOSYNTHESIS)
ผู้สอน...ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้าและการลาเลียงสารของพืช
• ลักษณะและโครงสร้างสาคัญของพืช C4 และ CAM
• กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช C4
• กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช CAM
• ปฏิกิริยาหายใจด้วยแสง (Photorespiration)
ลักษณะและโครงสร้างสาคัญของพืช C4 และ CAM
การสังเคราะห์ด้วยแสง (PHOTOSYNTHESIS)
• กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง เป็นกระบวนการที่พืชและสิ่งมีชีวิตเปลี่ยนพลังงานแสงให้มาอยู่ในรูปของพลังงานเคมีที่อยู่ใน
โมเลกุลของสารอินทรีย์ที่สร้างขึ้น พลังงานที่อยู่ในโมเลกุลสารอินทรีย์นี้ ถูกใช้เป็นแหล่งพลังงานในการดารงชีวิตของพืชและสิ่งมีชีวิต
ทั้งหลายบนโลก กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงนี้อาจถือได้ว่าเป็นเพียงกระบวนการเดียวของพืชและสิ่งมีชีวิตที่สามารถดึงพลังงานจาก
ดวงอาทิตย์ให้เข้ามาหมุนเวียนในโลก
สรุปกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (PHOTOSYNTHESIS)
สรุปกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (PHOTOSYNTHESIS)
สรุปกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (PHOTOSYNTHESIS)
สรุปกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (PHOTOSYNTHESIS)
สรุปกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (PHOTOSYNTHESIS)
สรุปกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (PHOTOSYNTHESIS)
พืช C3 C4 และ CAM
พืช C3
พืช C3 เป็นพืชที่มีระบบการตรึง
คาร์บอนไดออกไซด์ด้วย Calvin Cycle
เพียงอย่างเดียว จะเห็นได้ว่าใน Calvin
Cycle สารอินทรีย์ตัวแรกที่เกิดขึ้นจากการตรึง
คาร์บอนไดออกไซด์คือ PGA จึงเป็นสารที่มี
คาร์บอน 3 อะตอม เราจึงเรียกพืชกลุ่มนี้ว่า พืช
C3
กระบวนการสร้างน้าตาลกลูโคส
พืช C3 C4 และ CAM
พืช C3
โครงสร้างภายในของใบจะประกอบด้วย
mesophyll cell 2 แบบ คือ
palisade mesophyll และ
spongy mesophyll และมีกลุ่มเนื้อเยื่อ
ลาเลียงแทรกอยู่ อาจมีกลุ่มเซลล์ล้อมรอบกลุ่มท่อ
ลาเลียง ซึ่งเรียกว่า bundle sheath cell
หรือไม่ก็ได้ การเกิดการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์
ด้วย Calvin Cycle จะเกิดขึ้นที่
mesophyll cells เป็นหลัก
พืช C3 C4 และ CAM
พืช C3
พืช C3 นี้เป็นพืชกลุ่มใหญ่ที่สุด มีจานวนชนิดมากว่าพืช C4 พืชที่เป็นพืช C3 ได้แก่ ข้าว ข้าวสาลี ถั่ว เป็นต้น
พืช C3 C4 และ CAM
พืช C4
พืช C4 มักเป็นพืชที่มีถิ่นกาเนิดในเขตศูนย์สูตร เช่น ข้าวโพด อ้อย และบานไม่รู้โรย
พืช C3 C4 และ CAM
พืช C4
พืชกลุ่มนี้มีโครงสร้างภายในของใบที่เด่นชัดคือ จะ
มี bundle sheath cells ที่มีคลอโรพ
ลาสต์ล้อมรอบกลุ่มท่อลาเลียง พืชพวกนี้จะมีการ
ตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ 2 ครั้ง โดยครั้งแรกตรึงที่
mesophyll cell โดยมีตัวมารับ CO2
คือ phosphoenol pyruvate
(PEP) ได้เป็นสารประกอบคาร์บอน 4 อะตอม
(อันเป็นที่มาของชื่อว่า พืช C4) คือ กรดออก
ซาโลเอซิติก (oxaloacetic acid)
(OAA) แล้วถูกเปลี่ยนเป็น malic acid
พืช C3 C4 และ CAM
พืช C4
ก่อนจะเคลื่อนที่เข้าสู่ bundle sheath cell
เมื่อถึง bundle sheath cell สาร C4 จะถูก
เปลี่ยนเป็นสาร C3 + CO2 ในคลอโรพลาสต์ที่
bundle sheath cell ซึ่ง CO2 ก็จะเข้าสู่
Calvin Cycle ต่อไป ส่วนสาร C3 ก็จะถูก
นากลับมายัง mesophyll cell เพื่อเปลี่ยนเป็น
PEP สาหรับการตรึง CO2 ครั้งต่อไป ด้วยระบบ
เช่นนี้ จึงทาให้ความเข้มข้นของ CO2 บริเวณ
bundle sheath cell มีความเข้มข้นสูงขึ้น
กว่าบริเวณ mesophyll ของพืช C3
พืช C3 C4 และ CAM
พืช CAM
พืชที่มีการตรึง CO2 แบบ CAM เรียก พืช CAM เป็นพืชที่เจริญได้ดีในสภาพแวดล้อมที่แห้งแล้ง เนื่องจากเวลา
กลางวันมีอุณหภูมิสูง ความชื้นต่า พืชบริเวณนี้จึงมีการปรับตัว โดยปากใบจะปิดในเวลากลางวัน และเปิดในเวลากลางคืนเพื่อลด
การคายน้า เช่น ว่านหางจระเข้ กล้วยไม้ การะบองเพชร สัปปะรด โดยในสภาพที่มีน้า ความชื้นสูงจะตรึง CO2 แบบ C3 หาก
สภาพแวดล้อมแห้งแล้ง ความชื้นต่าจะตรึง CO2 แบบ CAM
พืช C3 C4 และ CAM
พืช CAM
เกิดการตรึง CO2 จานวน 2 ครั้ง ดังนี้
1. เกิดในเวลากลางคืน เนื่องจากปากใบเปิด
CO2 แพร่เข้ามาทางปากใบไปยัง
cytoplasm ของ mesophyll cell
PEP ตรึง CO2 เกิด OAA เปลี่ยนแป็น
maric acid สะสมใน vacuole ของ
mesophyll
2. เกิดในเวลากลางวัน maric
acid แพร่จาก vacuole เข้าสู่
chloroplast maric acid ปล่อย
CO2 ซึ่งจะถูกตรึงครั้งที่ 2 โดย RuBP เข้า
สู่ calvin cycle
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช C4
กลไกการเพิ่มปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของพืช C4
LEAF STRUCTURE OF C3 PLANT
กลไกการเพิ่มปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของพืช C4
ฮูโก คอต์สแชค
(Hugo Kortschak)
กลไกการเพิ่มปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของพืช C4
LEAF STRUCTURE OF C4 PLANT
กลไกการเพิ่มปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของพืช C4
กลไกการเพิ่มปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของพืช C4
กลไกการเพิ่มปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของพืช C4
กลไกการเพิ่มปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของพืช C4
กลไกการเพิ่มปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของพืช C4
กลไกการเพิ่มปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของพืช C4
กลไกการเพิ่มปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของพืช C4
กลไกการเพิ่มปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของพืช C4
กลไกการเพิ่มปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของพืช C4
กลไกการเพิ่มปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของพืช C4
กลไกการเพิ่มปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของพืช C4
กลไกการเพิ่มปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของพืช C4
กลไกการเพิ่มปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของพืช C4
ข้อเปรียบเทียบระหว่างพืช C3 และพืช C4
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช CAM
กลไกการเพิ่มปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของพืช CAM
กลไกการเพิ่มปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของพืช CAM
กลไกการเพิ่มปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของพืช CAM
กลไกการเพิ่มปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของพืช CAM
กลไกการเพิ่มปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของพืช CAM
กลไกการเพิ่มปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของพืช CAM
กลไกการเพิ่มปริมาณก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์ของพืช CAM
กลไกการเพิ่มปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของพืช CAM
กลไกการเพิ่มปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของพืช CAM
กลไกการเพิ่มปริมาณก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์ของพืช CAM
กลไกการเพิ่มปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของพืช CAM
กลไกการเพิ่มปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของพืช CAM
สรุปกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช C3 พืช C4 และพืช CAM
สรุปกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช C3 พืช C4 และพืช CAM
CAM PLANT
LEAF STRUCTURE
C4 PLANT C3 PLANT
ปฏิกิริยาหายใจด้วยแสง (PHOTORESPIRATION)
Otto Warburg เป็นนักเคมีชาวเยอรมัน เป็นผู้ศึกษาการ
สังเคราะห์แสงในสาหร่ายและพบว่า การสังเคราะห์แสงของสาหร่าย
จะถูกระงับโดย O2 และพบว่าการระงับกระบวนการ ดังกล่าวนี้
เกิดกับพืช C3 ทั้งหมดที่ศึกษา กระบวนการดังกล่าวนี้
เรียกว่า Warburg Effect อัตราการสังเคราะห์แสงของถั่ว
เหลืองที่ O2 เข้มข้น 0 เปอร์เซ็นต์จะสูงกว่า
ที่ O2 เข้มข้น 21 เปอร์เซ็นต์ ยิ่งไปกว่านั้น เปอร์เซ็นต์การระงับ
กระบวนการสังเคราะห์แสงของ O2 นี้ จะสูงขึ้นเมื่อระดับ
ของ CO2 ต่าลง อัตราการสังเคราะห์แสงของพืช C4 จะไม่ค่อย
ได้ผลกระทบจากการผันแปรปริมาณของ O2
ปฏิกิริยาหายใจด้วยแสง (PHOTORESPIRATION)
ในขณะนี้เป็นที่ทราบกันดีแล้วว่า อัตราการหายใจของใบพืช C3 ในที่มีแสงจะมากเป็น 2 ถึง 3 เท่า ของอัตราการหายใจในที่มืดและ
จะเร็วประมาณครึ่งหนึ่งของอัตราการสังเคราะห์แสง(การจับ CO2) การหายใจของใบที่ได้รับแสงจะเกิดจากการหายใจในสภาพ
ปกติรวมกับการหายใจที่เกิดเฉพาะในสภาพที่มีแสงซึ่งเรียกว่า Photorespiration ทั้งสองกระบวนการเป็นกระบวนการ
ทางชีวะที่แตกต่างกัน โดยการหายใจจะเกิดในไซโตพลาสต์และไมโตคอนเดรีย ส่วนPhotorespiration เกิดในคลอโรพ
ลาสต์ เพอรอกซิโซม (Peroxisomes) และไมโตคอนเดรีย
ปฏิกิริยาหายใจด้วยแสง (PHOTORESPIRATION)
ในพืช C4 ไม่พบว่ามี Photorespiration เกิดขึ้น ซึ่งเป็นสาเหตุให้พืช C4 มีประสิทธิภาพในการสังเคราะห์แสงในที่มี
แสงแดดจัดดีกว่าพืชC3 Photorespiration จะเกิดเร็วขึ้นเมื่อสภาพแวดล้อมมี O2 ในระดับสูง มี CO2 ในระดับต่า
มีความเข้มของแสงสูงและอุณหภูมิสูง
ปฏิกิริยาหายใจด้วยแสง (PHOTORESPIRATION)
Photorespiration เกิดโดยที่เอนไซม์ RuDP Carboxylase จะจับ O2 ให้รวมกับ RuDP แทนที่จะ
จับ CO2 ซึ่งในกรณีนี้ RuDP Carboxylase จะทาหน้าที่เป็น RuDP Oxygenase ซึ่งการจับ O2 นี้
สามารถอธิบาย Warburg Effect ได้ การรวมกันของ RuDP กับ O2 นี้ ทาให้เกิด Phosphoglycolic
acid ซึ่งมีคาร์บอน 2 อะตอม ในโมเลกุลของ Phosphoglycolic acid จะมี O2 ที่มา
จาก O2 ดังนั้น O2 และ CO2 จึงแก่งแย่งที่จะทาปฏิกิริยากับ RuDP โดยการคะตะไลต์ของเอนไซม์ตัวเดียวกัน การที่
พืช C4 มีการจับ CO2 ใน Bundle Sheath นั่นเองที่ทาให้ O2 ไม่สามารถแข่งขันด้วยได้เพราะ Bundle
sheath อยู่ห่างจากปากใบเข้าไป ต่อมา Phosphoglycolic Acid จะถูกดีฟอสโฟรีเลท
(Dephosphorylated) เกิดเป็น Glycolic Acid ซึ่งมีคาร์บอน 2 อะตอม และคาร์บอกซิลของกรดชนิดนี้จะ
กลายเป็น CO2 ในที่สุด
ปฏิกิริยาหายใจด้วยแสง (PHOTORESPIRATION)
การที่ Glycolic acid ถูกออกซิไดซ์จนให้ CO2 ออกมานั้น ไม่ได้เกิดในคลอโรพลาสต์ แต่เกิดในเพอรอกซิ
โซม โดย Glycolic Acid จะเคลื่อนที่ออกจากคลอโรพลาสต์ไปยังเพอรอกซิโซมซึ่งอยู่ติดกัน ในอวัยวะนี้เอง
Glycolic Acid จะถูกออกซิไดซ์ให้เป็น Glyoxylic Acid และ H2O2 ซึ่ง H2O2 นี้เป็นพิษต่อเซลล์ จึงถูกสลาย
ด้วย คะตาเลส (Catalase) ให้เป็นน้าและ O2 การหายไปของ Glyoxylic Acid ยังไม่เป็นที่เข้าใจกันนัก อาจจะถูก
ออกซิไดซ์ เป็นCO2 และ Formic Acid หรืออาจจะเปลี่ยนไปเป็น Glycine แล้วเคลื่อนที่ไปสู่ไมโตคอนเดรีย แล้ว
กลายเป็น Serine กับ CO2 ต่อมา Serine จะเปลี่ยนไปเป็น 3PGA โดย Glycolate Pathway
ปฏิกิริยาหายใจด้วยแสง (PHOTORESPIRATION)
1. เป็นการควบคุมความปลอดภัยของเซลล์ไม่ให้มีการสะสมพลังงานที่เกิดจากการสังเคราะห์แสงมากเกินไปแต่ข้อโต้แย้งว่าน่าจะ
เป็นการสูญเสียพลังงานมากกว่า
2. เป็นการสร้าง ATP นอกคลอโรพลาสต์ เพราะ ATP ที่เกิดจากการสังเคราะห์แสงจะออกมานอกคลอโรพลาสต์ไม่ได้ แต่ข้อ
โต้แย้งคือ การสร้าง ATP 1 โมเลกุลนั้น พืชต้องใช้ ATP ถึง 9 โมเลกุล และ NADPH อีก 6 โมเลกุล ซึ่งเป็นการ
สร้าง ATP ที่ไม่มีประสิทธิภาพ
3. เป็นการเคลื่อนย้ายคาร์บอนที่ถูกจับจากคลอโรพลาสต์ในรูปของ Glycolate แล้วนาไปสังเคราะห์คาร์โบไฮเดรตอื่น ๆ แต่ก็
เป็นวิธีที่สิ้นเปลืองพลังงานมาก
ปฏิกิริยาหายใจด้วยแสง (PHOTORESPIRATION)
“THE END”
THANK YOU FOR YOUR ATTENTION!

More Related Content

What's hot

กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)Thitaree Samphao
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 
การแยกสาร
การแยกสารการแยกสาร
การแยกสารtaew paichibi
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)สำเร็จ นางสีคุณ
 
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)Thitaree Samphao
 
structure and function of the root
structure and function of the rootstructure and function of the root
structure and function of the rootThanyamon Chat.
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59Wan Ngamwongwan
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศkrupornpana55
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2Sukanya Nak-on
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4krusarawut
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารdalarat
 

What's hot (20)

กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
 
stem structure
stem structurestem structure
stem structure
 
ราก (T)
ราก (T)ราก (T)
ราก (T)
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
การแยกสาร
การแยกสารการแยกสาร
การแยกสาร
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
 
ส่วนประกอบของดอก
ส่วนประกอบของดอกส่วนประกอบของดอก
ส่วนประกอบของดอก
 
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
 
structure and function of the root
structure and function of the rootstructure and function of the root
structure and function of the root
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
การสกัดด้วยตัวทำละลาย
การสกัดด้วยตัวทำละลายการสกัดด้วยตัวทำละลาย
การสกัดด้วยตัวทำละลาย
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 

Viewers also liked

13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชWichai Likitponrak
 
บทที่ 10 การตอบสนอง
บทที่ 10 การตอบสนองบทที่ 10 การตอบสนอง
บทที่ 10 การตอบสนองnokbiology
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชnokbiology
 
การเจริญเติบโตของรากและลำต้น
การเจริญเติบโตของรากและลำต้นการเจริญเติบโตของรากและลำต้น
การเจริญเติบโตของรากและลำต้นnokbiology
 
ใบความรู้+พืชใบเลี่ยงคู่ ใบเลี้ยงเดี่ยว+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f14-1page
ใบความรู้+พืชใบเลี่ยงคู่ ใบเลี้ยงเดี่ยว+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f14-1pageใบความรู้+พืชใบเลี่ยงคู่ ใบเลี้ยงเดี่ยว+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f14-1page
ใบความรู้+พืชใบเลี่ยงคู่ ใบเลี้ยงเดี่ยว+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f14-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อnokbiology
 
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 2
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 2การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 2
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 2Wichai Likitponrak
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกnokbiology
 
การคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืชการคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืชnokbiology
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังnokbiology
 
การรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองการรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองnokbiology
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบnokbiology
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบnokbiology
 
7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์
7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์
7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์Wichai Likitponrak
 
16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืชWichai Likitponrak
 
15.ปัจจัย photosynthesis และการปรับตัวของพืช
15.ปัจจัย photosynthesis และการปรับตัวของพืช15.ปัจจัย photosynthesis และการปรับตัวของพืช
15.ปัจจัย photosynthesis และการปรับตัวของพืชWichai Likitponrak
 
การเจริญเติบโตของรากและลำต้น
การเจริญเติบโตของรากและลำต้นการเจริญเติบโตของรากและลำต้น
การเจริญเติบโตของรากและลำต้นnokbiology
 
17.การตอบสนองพืช
17.การตอบสนองพืช17.การตอบสนองพืช
17.การตอบสนองพืชWichai Likitponrak
 
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืชWichai Likitponrak
 
2.แรงและการเคลื่อนที่gs ลอยตัวเสียดทานโมเม้น
2.แรงและการเคลื่อนที่gs ลอยตัวเสียดทานโมเม้น2.แรงและการเคลื่อนที่gs ลอยตัวเสียดทานโมเม้น
2.แรงและการเคลื่อนที่gs ลอยตัวเสียดทานโมเม้นWichai Likitponrak
 

Viewers also liked (20)

13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
บทที่ 10 การตอบสนอง
บทที่ 10 การตอบสนองบทที่ 10 การตอบสนอง
บทที่ 10 การตอบสนอง
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
 
การเจริญเติบโตของรากและลำต้น
การเจริญเติบโตของรากและลำต้นการเจริญเติบโตของรากและลำต้น
การเจริญเติบโตของรากและลำต้น
 
ใบความรู้+พืชใบเลี่ยงคู่ ใบเลี้ยงเดี่ยว+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f14-1page
ใบความรู้+พืชใบเลี่ยงคู่ ใบเลี้ยงเดี่ยว+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f14-1pageใบความรู้+พืชใบเลี่ยงคู่ ใบเลี้ยงเดี่ยว+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f14-1page
ใบความรู้+พืชใบเลี่ยงคู่ ใบเลี้ยงเดี่ยว+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f14-1page
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 2
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 2การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 2
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 2
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
 
การคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืชการคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืช
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
 
การรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองการรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนอง
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์
7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์
7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์
 
16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช
 
15.ปัจจัย photosynthesis และการปรับตัวของพืช
15.ปัจจัย photosynthesis และการปรับตัวของพืช15.ปัจจัย photosynthesis และการปรับตัวของพืช
15.ปัจจัย photosynthesis และการปรับตัวของพืช
 
การเจริญเติบโตของรากและลำต้น
การเจริญเติบโตของรากและลำต้นการเจริญเติบโตของรากและลำต้น
การเจริญเติบโตของรากและลำต้น
 
17.การตอบสนองพืช
17.การตอบสนองพืช17.การตอบสนองพืช
17.การตอบสนองพืช
 
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
 
2.แรงและการเคลื่อนที่gs ลอยตัวเสียดทานโมเม้น
2.แรงและการเคลื่อนที่gs ลอยตัวเสียดทานโมเม้น2.แรงและการเคลื่อนที่gs ลอยตัวเสียดทานโมเม้น
2.แรงและการเคลื่อนที่gs ลอยตัวเสียดทานโมเม้น
 

Similar to 14.พืช C4 and CAM

กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2 ในcam
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2   ในcamกลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2   ในcam
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2 ในcamAnana Anana
 
กระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 cam
กระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 camกระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 cam
กระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 camappseper
 
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesis
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesisปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesis
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesisAnana Anana
 
การหายใจแสง
การหายใจแสงการหายใจแสง
การหายใจแสงNokko Bio
 
โลกร้อน
โลกร้อนโลกร้อน
โลกร้อนsudsanguan
 
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสงฟลุ๊ค ลำพูน
 

Similar to 14.พืช C4 and CAM (13)

3 photosyn 2
3 photosyn 23 photosyn 2
3 photosyn 2
 
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2 ในcam
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2   ในcamกลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2   ในcam
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2 ในcam
 
กระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 cam
กระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 camกระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 cam
กระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 cam
 
C3 c4-cam
C3 c4-camC3 c4-cam
C3 c4-cam
 
Bio3 62 photosyn_2
Bio3 62 photosyn_2Bio3 62 photosyn_2
Bio3 62 photosyn_2
 
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesis
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesisปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesis
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesis
 
การหายใจแสง
การหายใจแสงการหายใจแสง
การหายใจแสง
 
Photosynthesis
PhotosynthesisPhotosynthesis
Photosynthesis
 
โลกร้อน
โลกร้อนโลกร้อน
โลกร้อน
 
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
 
30233
3023330233
30233
 
30233
3023330233
30233
 
Photosynthesis
PhotosynthesisPhotosynthesis
Photosynthesis
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

14.พืช C4 and CAM