SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
พระเศวตอดุลยเดชพาหนฯ

พระยาช้างเผือกประจำ�รัชกาลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
วารสาร	

ปีที่ 4 ฉบับที่ 14 เดือนมกราคม-มีนาคม 2553

ชมรมครูที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ISSN 1905-758X
TSMT Journal สนับสนุนโดย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
2

วารสาร สควค.	

ปีที่ 4 ฉบับที่ 14 เดือนมกราคม-มีนาคม 2553

16 ม.ค. 2553 :: ครู สควค.ร่วมงานวันครู ณ หน่วยงานราชการ 5 ก.พ. 2553 :: นางพรพรรณ ไวทยางกูร ผอ.สสวท. เป็นประธาน
ในสังกัดทั่วประเทศ (น้อมจิตวันทา บูชาคุณครู กตัญญูกตเวที) ในพิธีเปิดการประชุมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย กทม.

ครูปรียาภรณ์ ทะพิงค์แก สควค. รุนที่ 7 และครูไพศาล วงศ์กระโซ่ สควค. รุนที่ 11 ชนะเลิศและรับรางวัล INNOVATIVE TEACHER
่
่
2010 เป็นตัวแทนครูไทยไปเสนองานที่ประเทศสิงคโปร์ สนับสนุนโดย บริษัท ไมโครซอฟท์ (ประเทศไทย) จำ�กัด

9-11 มี.ค. 2553 :: สุดยอดครูไทย หัวใจไอที (INNOVATIVE TEACHER 2010) จำ�นวน 10 คน ตัวแทนประเทศไทยนำ�เสนอผลงาน
ไอที ที่สิงคโปร์ ครูปรียาภรณ์ เสนอผลงาน “สมุนไพรไทย ภูมิปัญญาไทย”และครูไพศาล เสนอผลงาน “การสร้างหุ่นยนต์ทำ�มือ”

11-13 ม.ค. 2553 :: ครู สควค. นำ�นักเรียนร่วมเข้าค่ายกล้วย...กล้วย 17 ก.ค. 2553 :: ชมรมครู สควค. ร่วมต้อนรับคณะนักศึกษา
มหัศจรรย์พันธุ์ไม้แห่งมนุษยชาติ ณ บ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร
นานาชาติที่ศึกษาที่ ม.ขอนแก่น ณ หมู่บ้านช้าง จังหวัดสุรินทร์
ปีที่ 4 ฉบับที่ 14 เดือนมกราคม-มีนาคม 2553	

วารสาร สควค.

3

สารบัญ
หน้า
4

บทบรรณาธิการ

ครูศักดิ์อนันต์ อนันตสุข
E-mail :: anantasook@gmail.com

	
สวัสดีครับ พีนองเพือนสมาชิกชมรมครู สควค. และ
่ ้ ่
ท่านผู้อ่าน “วารสาร สควค.” ทุกท่าน
	
ขอแสดงความชื่ น ชมยิ น ดี กั บ ครู สุ พ รรณวดี
เพชรเรียง (รุ่น9) ครูปรียาภรณ์ ทะพิงค์แก (รุ่น 7) และครู
ไพศาล วงศ์กระโซ่ (รุ่น 11) ที่ได้รับรางวัลต่างๆ ซึ่งแสดง
ให้เห็นว่า ครู สควค. ของเรา เป็นครูทมคณภาพ เป็นครูผสร้าง
ี่ ี ุ
ู้
สังคมแห่งการเรียนรูอย่างแท้จริงและได้ท�ให้เราได้เรียนรูวา
้
ำ
้่
ความสำ�เร็จเหล่านั้น เกิดจากความตั้งใจดีและความมุ่งมั่น
ในการพัฒนานักเรียนจนประสบความสำ�เร็จ และความสำ�เร็จ
ของนักเรียนก็จะส่งผลให้ครูได้รับความสำ�เร็จและมีความ
ก้าวหน้าทางวิชาชีพต่อไป
	
ผมมีความมันใจว่า เราสามารถนำ�สิงทีอยูรอบตัวเรา
่
่ ่ ่
ภูมิปัญญาของบรรพชนเรา รวมถึงประเด็นทางวิทยาศาสตร์
ที่ เ กิ ด ขึ้ น จริ ง ในสั ง คม มาใช้ เ ป็ น ประเด็ น หลั ก หรื อ เป็ น
ตัวจุดประกายความสนใจให้เกิดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
คณิ ต ศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ไ ด้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ผล
งานของครู สควค. ในวารสารฉบับนี้ เป็นตัวอย่างที่ชัดเจน
ซึ่งผู้สนใจสามารถนำ�ไปเป็นแนวทางปฏิบัติได้จริง
	
ชมรมครู สควค. ขอเป็นกำ�ลังใจให้กับครู สควค.
ทุกคนในการปฏิบัติงาน กองบรรณาธิการ เปิดรับบทความ
จากทุกท่าน หากมีขอเสนอแนะประการใด ทีมงานขอน้อมรับ
้
ด้วยความยินดี

-	 พระเศวตอดุลยเดชพาหนฯ พระยาช้างเผือก	
	 ประจำ�รัชกาลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
-	 วันสำ�คัญ บันทึกไทย : 13 มีนาคม วันช้างไทย 	 5
-	 การนำ�เทคโนโลยี Web 2.0 ไปประยุกต์ใช้ 	
6
	 กับการเรียนการสอนรูปแบบซิปปา เพื่อพัฒนา
	 ทักษะการคิดสร้างสรรค์
-	 นวัตกรรมการเรียนรู้ : สมุนไพรไทย ภูมิปัญญาไทย 	8
-	 นวัตกรรมการเรียนรู้ : การสร้างหุ่นยนต์ทำ�มือ 	 10
-	 ครู สควค.รักครอบครัว สูตรเติมรัก ทำ�ชีวิตให้มีสุข 	12
-	 เรียนรู้ GSP ด้วยวิถีวัฒนธรรม 	
14
	 จากแหล่งเรียนรู้วัดพระบาทห้วยต้ม จังหวัดลำ�พูน
-	 พระบรมราโชวาท / กิจกรรมพัฒนาเครือข่าย	 16
	 และวิชาชีพครู สควค. ระดับ ป.โท ม.ขอนแก่น

วัตถุประสงค์
	
1. 	เพื่อเป็นสื่อประชาสัมพันธ์ชมรมครูที่มีความ
สามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี
	 2. 	เพื่ อ เป็ น เวที ใ นการแลกเปลี่ ย นความรู้
ทางวิชาการ ประสบการณ์การสอน การวิจัยในชั้นเรียน
ในสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี
เพื่อพัฒนาการสอนของครูและการเรียนรู้ของผู้เรียน
	
3. 	เพือเผยแพร่ความรูทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์
่
้
และเทคโนโลยี ให้กว้างขวางและเป็นประโยชน์ต่อสังคม
โดยไม่เกี่ยวข้องกับการเมือง

บรรพชนคนสุรินทร์ จับพระยาช้างเผือกถวายพระเจ้าแผ่นดิน

ขอเชิญเที่ยวงานช้างสุรินทร์ช่วงเดือนพฤศจิกายนของทุกปี

ราว พ.ศ. 2302 (หรือ 2303 - 2304) พระยาช้างเผือกของพระที่นั่งสุริยามรินทร์ (พระเจ้าเอกทัศน์)
ได้แตกโรงหนีจากกรุงศรีอยุธยามาทางทิศตะวันออกทรงโปรดเกล้าฯ ให้ สองพี่น้อง คุมไพร่พล
30 นายออกติดตามเอาพระยาช้างเผือกคืน จนถึงชาวส่วยแทรกโพนช้างบ้านกุดหวาย ครั้งนั้น
หัวหน้าชาวส่วย (เชียงสี เชียงปุม เชียงฆะ เชียงขัน เชียงสง เชียงไชย) ได้ช่วยกันจับเอาพระยา
ช้างเผือกถวายคืนกรุงศรีอยุธยา และได้รับปูนบำ�เหน็จความดีความชอบเป็นเจ้าเมืองปกครองคน
ในชุมชนของตน (จากหนังสือประวัติมหาดไทยส่วนภูมิภาค จังหวัดสุรินทร์)

ขอเชิญครูทุน สควค. ในภูมิภาคต่างๆ ส่งภาพข่าวที่เกี่ยวกับผลงานเด่นของตนเอง รวมถึงงานเขียน บทความเกี่ยวกับ
การพัฒนาการเรียนการสอน ประสบการณ์การวิจย เพือเผยแพร่ ในวารสาร สควค. หรือเผยแพร่ในเว็บไซต์ www.krusmart.com
ั ่
บทความในวารสาร สควค. เป็นความคิดเห็นและทัศนะของผู้เขียน ชมรมครู สควค. ไม่จำ�เป็นต้องเห็นด้วยเสมอไป
4

วารสาร สควค.	

ปีที่ 4 ฉบับที่ 14 เดือนมกราคม-มีนาคม 2553

เรื่องจากปก

พระเศวตอดุลยเดชพาหนฯ
พระยาช้างเผือกประจำ�รัชกาลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

ขอขอบคุณข้อมูลจาก ไทยวิกิพีเดียพจนานุกรมเสรี http://th.wikipedia.org เรียบเรียงโดย ศักดิ์อนันต์ อนันตสุข

	
มีความเชื่อแต่โบราณว่า “ช้างเผือก เป็นหนึ่งในแก้ว
เจ็ดประการของกษัตริย์ ที่จะเป็นพระจักรพรรดิ ผู้มีพระราช
อำ�นาจแผ่ไปไพศาล ยิ่งกว่าพระราชาทั้งปวง”
	
พระเศวตอดุลยเดชพาหนฯ เป็นพระยาช้างเผือก
ประจำ�รัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพลอดุลยเดช
ิ
เป็นช้างสำ�คัญในตระกูลพรหมพงศ์ จำ�พวกอัฏฐทิศ ชื่อ กมุท
สีกายดังดอกกมุท หรือบัวสายแดง ได้รับพระราชทานนาม
เต็มว่า
	
“พระเศวตอดุลยเดชพาหน ภูมิพลนามนาคบารมี
	
	
	

ทุติยเศวตกรีกมุทพรรโณภาส บรมกทลาสนวิศุทธวงศ์
สรรพมงคลลักษณคเชนทรชาต สยามราษฎรสวัสดิประสิทธิ์
รัตนกุญชรนิมิตบุญญาธิการ ปรมินทรบพิตรสารศักดิเลิศฟ้าฯ”

	
พระเศวตอดุลยเดชพาหนฯ เป็นช้างพลายเผือกโท
เกิ ด ในป่ า เขตจั ง หวั ด กระบี่ เมื่ อ ประมาณ พ.ศ. 2494
ถูกคล้องได้ที่ บ้านหนองจูด ตำ�บลดินอุดม อำ�เภอลำ�ทับ
จังหวัดกระบี่ เมื่อ พ.ศ. 2499 โดยนายแปลก ฟุ้งเฟื่องและ
นายปลื้มสุทธิเกิด (หมอเฒ่า) เป็นลูกช้างติดแม่อยู่ในโขลง
ช้างป่า พร้อมกับช้างอื่นๆ อีก 5 เชือกคือ พังสาคร พลายทอง
พังเพียร พังวิไล และพังน้อย โดยในตอนนันพระเศวตอดุลยเดช
้
พาหนฯ ได้ชื่อว่า “พลายแก้ว” มีความสูง 1.60 เมตร เมื่อ
พระราชวังเมือง (ปุ้ย คชาชีวะ) ได้ตรวจสอบคชลักษณ์แล้ว
พบว่าเป็นช้างสำ�คัญ จึงนำ�มาเลียงไว้ทสวนสัตว์ดสต เมือเดือน
้
ี่
ุิ ่
กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500
	
พลโทบัญญัติ เทพหัสดิน ณ อยุธยา ประธานองค์การ
สวนสั ต ว์ แ ห่ ง ประเทศไทยได้ นำ � ช้ า งพลายแก้ ว ขึ้ น ทู ล เกล้ า
ทูลกระหม่อม ถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่

10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2501 เพื่อประกอบพิธีขึ้นระวางเป็น
ช้างต้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวทรงพระกรุณาโปรดเกล้า
่ ั
โปรดกระหม่ อ ม ให้ กำ � หนดพระราชพิ ธี ส มโภชขึ้ น ระวาง
ช้ า งเผื อ กประจำ � รั ช กาล ณ โรงช้ า งต้ น พระราชวั ง ดุ สิ ต
เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2502 เป็นปีที่ 13 ในรัชกาล
ปัจจุบน พระเศวตอดุลยเดชพาหนฯ เติบโตขึนโดยการดูแลของ
ั
้
องค์การสวนสัตว์ ที่สวนสัตว์ดุสิต และมีอาการดุร้ายมากขึ้น
จนควาญช้างควบคุมไม่ได้ และเป็นที่เกรงกลัวของบุคคล
ทั่วไป จนกระทั่งสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ
มีพระราชเสาวณีย์ โปรดเกล้าฯ ให้น�พระเศวตอดุลยเดชพาหนฯ
ำ
เข้าไปยืนโรงในโรงช้างต้น ภายในพระตำ�หนักจิตรลดารโหฐาน
เมื่อ พ.ศ. 2519 หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมชได้บันทึกไว้ว่า
	
“ในขณะที่นำ�คุณพระจากสวนสัตว์ดุสิตไปยังสวน
จิ ต รลดา ซึ่ ง เพี ย งแต่ มี ถ นนคั่ น อยู่ ส ายเดี ย วนั้ น คุ ณ พระ
ก็ อ าละวาดอย่ า งหนั ก ไม่ ย อมออกเดิ น เอางวงยึ ด ต้ น ไม้
จนต้นไม้ล้ม จนแทบจะหมดปัญญาเจ้าหน้าที่...กว่าจะนำ�
คุณพระจากเขาดินไปถึงประตูสวนจิตรลดา ซึ่งมองเห็นกัน
แค่ นั้ น ก็ กิ น เวลาหลายชั่ ว โมง ต้ อ งใช้ ค นเป็ น จำ � นวนมาก
ถือปลายเชือกที่ผูกไว้กับขาคุณพระทั้งสี่ขา คอยลากคอยดึง
และดู เ หมื อ นจะต้ อ งใช้ ร ถแทรกเตอร์ เข้ า ช่ ว ยขนาบข้ า ง
เสี่ยงอันตรายกันมากอยู่ แต่ในที่สุดก็นำ�คุณพระไปยังประตู
พระราชวังได้...พอได้ ก้าวเท้าเข้าไปในบริเวณพระราชวัง
คุณพระก็เปลี่ยนไปทันที จากความดุร้ายก็กลายเป็นความ
สงบเสงี่ยม เดินอย่างเรียบร้อยไปสู่โรงช้างต้น และเข้าอยู่
อย่างสงบเรื่อยมา”
	
ปัจจุบัน พระเศวตอดุลยเดชพาหนฯ ย้ายไปยืนโรง
ณ โรงช้างต้น วังไกลกังวล อำ�เภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรขนธ์
ีั
โดยเคลื่ อ นย้ า ยคุ ณ พระเศวตอดุ ล ยเดชพาหนฯ เมื่ อ วั น ที่
17-18 มีนาคม พ.ศ. 2547 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
เสด็จพระราชดำ�เนินทรงประกอบพระราชพิธสมโภชโรงช้างต้น
ี
เมื่อวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2547
	
และเนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ทรงครองสิรราชสมบัตครบ 60 ปี ในปี พ.ศ. 2549 ทรงมีกระแส
ิ
ิ
พระราชดำ�รัสให้จัดสร้าง คชาภรณ์ หรือเครื่องทรงช้างต้น
ชุดใหม่ พระราชทานแก่พระเศวตอดุลยเดชพาหนฯ อีกด้วย
ปีที่ 4 ฉบับที่ 14 เดือนมกราคม-มีนาคม 2553	

วารสาร สควค.

วันสำ�คัญ บันทึกไทย

5

13 มีนาคม วันช้างไทย
ศักดิ์อนันต์ อนันตสุข สควค.รุ่น 6 ครู คศ.1 ร.ร.นารายณ์คำ�ผงวิทยา จ.สุรินทร์

	
คณะอนุกรรมการประสานงานการอนุรักษ์ช้างไทย
ซึ่งเป็นหน่วยงานประสานงาน องค์การภาครัฐและเอกชน
ทีท�งานเกียวกับการอนุรกษ์ชางไทย คณะกรรมการเอกลักษณ์
่ ำ
่
ั ้
ของชาติ สำ�นักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี เห็นว่าวันที่ 13 มีนาคม
ซึ่ ง เป็ น วั น ที่ ค ณะกรรมการคั ด เลื อ กสั ต ว์ ป ระจำ � ชาติ มี ม ติ
ให้ช้างเผือกเป็นสัตว์สัญลักษณ์ของประเทศไทยนั้นมีความ
เหมาะสมทีจะกำ�หนดให้เป็นวันช้างไทย จึงได้น�เสนอมติเข้าสู่
่
ำ
คณะรัฐมนตรี โดยได้รับการสนับสนุนจากกระทรวงเกษตร
และสหกรณ์อีกทางหนึ่ง ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อ วันที่
26 พฤษภาคม 2541 เห็นชอบให้ วันที่ 13 มีนาคมของทุกปี
เป็นวันช้างไทย และได้ประกาศสำ�นักนายกรัฐมนตรีลงใน
ราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม 2541 ทั้งนี้
เพื่อให้คนไทยได้ตระหนักถึงความสำ�คัญ และการดำ�รงอยู่
ของช้างไทย หันมาสนใจช้าง รักช้าง หวงแหนช้าง ให้ความ
ช่วยเหลืออนุรักษ์ช้างมากขึ้น
	
ผลจากการที่ ป ระเทศไทยมี วั น ช้ า งไทยเกิ ด ขึ้ น
นับเป็นการยกย่องให้เกียรติว่าเป็นสัตว์ที่มีความสำ�คัญอีกครั้ง
นอกเหนือจากเกียรติที่ช้างเคยได้รับ อาทิเช่น
	
- 	เป็นสัตว์คู่บารมีขององค์พระมหากษัตริย์ ช้างเผือก
ได้รับการยกย่องเสมือนเจ้านายชั้นเจ้าฟ้า
	
- 	สมั ย พระบาทสมเด็ จ พระพุ ท ธเลิ ศ หล้ า นภาลั ย
รัชกาลที่ 2 สยามประเทศใช้ธงชาติเป็นรูปช้างเผือก
	
- 	สมัยพระนเรศวรมหาราช ทรงชนะการทำ�ยุทธหัตถี
กับพระมหาอุปราชา แห่งหงสาวดี โดยช้างทรงในสมเด็จ
พระนเรศวรนับว่าเป็นช้างไทยที่ได้รับเกียรติอันสูงสุด ได้รับ
พระราชทานยศให้เป็นถึง “เจ้าพระยาปราบหงสาวดี”
	
- 	ช้างคือพาหนะสำ�คัญที่อัญเชิญพระพุทธมณีรัตน
ปฏิมากร (พระแก้วมรกต) มาสถิตย์ ณ วัดพระศรีรตนศาสดาราม
ั
	
-	 งานพระราชพิ ธี ต่ า งๆ อาทิ พระราชพิ ธี เ ฉลิ ม
พระชนมพรรษา งานพระราชพิ ธี ฉั ต รมงคลหรื อ งาน
พระราชทานงานเลี้ยงเพื่อเป็นเกียรติแก่พระราชอาคันตุกะ
หรื อ ประมุ ข ของต่ า งประเทศที่ พ ระที่ นั่ ง จั ก รี ม หาปราสาท
จะต้องนำ�ช้างเผือกแต่งเครื่องคชาภรณ์ไปยืนที่แท่นเกยช้าง
ด้านตะวันตกของพระที่นั่งดุสิตาภิรมย์ในพระบรมมหาราชวัง
เพื่อประกอบพระเกียรติยศ
	
-	 ใช้ในการคมนาคมและการทำ�อุตสาหกรรมป่าไม้ในอดีต

	
ศู น ย์ ก ารเรี ย นรู้ วิ ท ยาศาสตร์ คณิ ต ศาสตร์ แ ละ
เทคโนโลยี โดยทุนสนับสนุนจากสำ�นักงานเลขาธิการคุรุสภา
ได้กำ�หนดจัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ สร้างชุดการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ท้องถิ่น เรื่อง สุรินทร์ ถิ่นช้างใหญ่ เมื่อวันที่ 8
ตุลาคม 2552 และคณะทำ�งานได้ลงพื้นที่เก็บข้อมูล ณ ศูนย์
คชศึกษา บ้านตากลางและวัดป่าอาเจียง เมื่อวันที่ 4 มกราคม
2553 และได้ดำ�เนินการจัดทำ�ชุดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ท้องถิ่น เรื่อง “สุรินทร์ ถิ่นช้างใหญ่” สำ �หรับการเรียนรู้
ด้วยตนเอง ประกอบด้วย 7 บทเรียน จำ�นวน 32 หน้า ดังนี้
	
- บทที่ 1 ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับหมู่บ้านช้าง
	
- บทที่ 2 ธรรมชาติและเผ่าพันธุ์ของช้าง
	
- บทที่ 3 อาหาร และยาสมุนไพรของช้าง
	
- บทที่ 4 พิธีกรรมและความเชื่อเกี่ยวกับช้าง
	
- บทที่ 5 ประเพณีและความผูกพันของคนกับช้าง
	
- บทที่ 6 ภูมิปัญญาในการเลี้ยงชาวของชาวกูย
	
- บทที่ 7 การอนุรักษ์ช้างสุรินทร์
	
สุรินทร์มีแหล่งท่องเที่ยวสำ�คัญที่เกี่ยวกับช้าง คือ
หมู่บ้านช้าง บ้านตากลาง บ้านกระโพและบ้านศาลา ตำ�บล
กระโพ อำ�เภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ ในหมู่บ้านช้างมีชาว
ไทยกูย (กวย) หรือส่วย เลี้ยงช้างเป็นเพื่อน เหมือนญาติ
พี่น้องในครอบครัว ชาวไทยกูยสืบทอดวัฒนธรรมการจับฝึก
และบังคับช้างจากบรรพบุรุษตามตำ�นานคชศาสตร์ท้องถิ่น
ซึ่งไม่ได้เขียนไว้เป็นลายลักษณ์อักษร เรียนรู้จากการถ่ายทอด
จดจำ�กันมา การดำ�เนินการครังนี้ จึงนับได้วามีสวนช่วยสืบสาน
้
่ ่
ภูมิปัญญาของบรรพชน คนเลี้ยงช้าง จังหวัดสุรินทร์ ผู้สนใจ
ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ www.anantasook.com
6

วารสาร สควค.	

ผลงานวิจัยครู สควค.

ปีที่ 4 ฉบับที่ 14 เดือนมกราคม-มีนาคม 2553

การนำ�เทคโนโลยี Web 2.0 ไปประยุกต์ใช้
กับการเรียนการสอนรูปแบบซิปปา เพื่อพัฒนาทักษะการคิดสร้างสรรค์
เจนจิรา แสนไชย สควค. รุ่น 6 ครู คศ.1 ร.ร.ราชประชานุเคราะห์ 27 จ.หนองคาย

ที่มาและความสำ�คัญ
	
จากการจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นการสอน วิ ช า
คอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ ของนักเรียนชั้น ม.5/3 โรงเรียน
ราชประชานุเคราะห์ 27 จังหวัดหนองคาย พบว่า นักเรียน
ยังขาดทักษะกระบวนการคิด การคิดอย่างสร้างสรรค์ และขาด
ทักษะกระบวนการกลุ่ม ขาดความกระตือรือร้นในการเรียน
ซึ่งส่งผลให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตํ่า
	
ผู้วิจัยจึงเห็นว่าจะต้องมีการพัฒนารูปแบบการสอน
ที่เ น้น ผู้ เรี ย นเป็ น สำ � คั ญเพื่อให้นัก เรียนได้สร้างองค์ค วามรู้
ที่คงทนด้วยตนเอง จึงสนใจที่จะพัฒนากิจกรรมการเรียน
การสอน โดยนำ�เทคโนโลยี web 2.0 ไปประยุกต์ใช้กบการเรียน
ั
การสอนรูปแบบซิปปา ซึ่งคาดว่าจะช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียน
เกิดการเรียนรู้ที่มีความหมาย สามารถสร้างและค้นพบความ
รู้ ด้ ว ยตนเอง ส่ ง เสริ ม การมี ป ฏิ สั ม พั น ธ์ กั บ ผู้ อื่ น ได้ พั ฒ นา
ทักษะกระบวนการกลุ่ม มีการจัดทำ�และบันทึกข้อมูลความรู้
ผ่านเว็บไซต์ เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับบุคคลที่สนใจร่วมกัน
โดยการสอบถามและเพิ่มเติมความรู้ใหม่ได้ ซึ่งสอดคล้องกับ
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 66
ที่ ผู้ เรี ย นมี สิ ท ธิ ไ ด้ รั บ การพั ฒ นาขี ด ความสามารถในการใช้
เทคโนโลยีเพือการศึกษา ในโอกาสแรกทีท�ได้ เพือให้มความรู้
่
่ ำ
่ ี
และทักษะเพียงพอที่จะใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในการ
แสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
	
การสอนด้วยรูปแบบซิปปา (CIPPA MODEL) ของ
ทิศนา แขมมณี ที่นำ�มาประยุกต์ใช้จัดกิจกรรมการเรียนการ
สอนครั้งนี้ มีขั้นตอนดังนี้
	
1.	 ขั้นทบทวนความรู้เดิม เป็นการดึงความรู้ของ
ผู้เรียนให้มีความพร้อมในการเชื่อมโยงความรู้ใหม่กับความรู้
เดิมของตน
	
2. 	ขั้นแสวงหาความรู้ใหม่ เป็นการแสวงหาข้อมูล
ความรู้ใหม่ที่ผู้เรียนยังไม่มีจากแหล่งข้อมูลหรือแหล่งความรู้
ต่ า งๆ ซึ่ ง ครู อ าจเตรี ย มมาให้ ห รื อ ให้ คำ � แนะนำ � เกี่ ย วกั บ
แหล่งข้อมูลต่างๆ เพื่อให้ผู้เรียนไปแสวงหาก็ได้

	
3.	 ขั้ น การศึ ก ษาทำ � ความเข้ า ใจความรู้ ใ หม่ และ
เชื่อมโยงกับความรู้เดิม ผู้เรียนต้องสร้างความหมายของข้อมูล
ประสบการณ์ใหม่ๆ โดยใช้กระบวนการต่างๆ ด้วยตนเอง
เช่น ใช้กระบวนการคิด และกระบวนการกลุ่มในการอภิปราย
และสรุ ป ผลความเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ ข้ อ มู ล นั้ น ซึ่ ง ต้ อ งอาศั ย
การเชื่อมโยงความรู้เดิม มีการตรวจสอบความเข้าใจต่อตนเอง
หรือกลุ่ม โดยครูใช้สื่อและยํ้ามโนมติในการเรียนรู้
	
4. 	ขั้ น การแลกเปลี่ ย นความรู้ ค วามเข้ า ใจกั บ กลุ่ ม
เป็นขั้นที่ผู้เรียนอาศัยกลุ่มเป็นเครื่องมือ ในการตรวจสอบ
ความรู้ความเข้าใจของตนเอง ขยายความรู้ความเข้าใจของตน
ให้กว้างขึ้น
	
5. 	ขั้นการสรุปและจัดระเบียบความรู้ จัดสิ่งที่เรียนรู้
ให้เป็นระบบระเบียบ เพื่อช่วยให้จดจำ�สิ่งที่เรียนรู้ได้ง่าย
	
6. 	ขั้ น การแสดงผลงาน เป็ น ขั้ น ที่ ช่ ว ยให้ ผู้ เรี ย น
ได้มีโอกาสได้แสดงผลงานการสร้างความรู้ของตนเองให้ผู้อื่น
รับรู้ ช่วยให้ผู้เรียนตอกยํ้า หรือตรวจสอบ เพื่อช่วยให้จดจำ�
สิ่งที่เรียนรู้ได้ง่าย
	
7. 	ขั้นประยุกต์ใช้ความรู้ เป็นการส่งเสริมให้ผู้เรียน
ได้ฝึกฝนการนำ�ความรู้ ความเข้าใจของตนเองไปใช้ในสถานการณ์
ต่างๆ ที่หลากหลายเพื่อเพิ่มความชำ�นาญ ความเข้าใจ
วัตถุประสงค์การวิจัย
	
1. 	เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ
ซิปปาที่ประยุกต์ใช้เทคโนโลยี web 2.0 ให้มีประสิทธิภาพ
80/80
	
2. 	เพิมค่าเฉลียคะแนนผลสัมฤทธิทางการเรียนให้สง
่
่
์
ู
กว่าร้อยละ 80
	
3. 	เพือเพิมค่าเฉลียคะแนนทักษะความคิดสร้างสรรค์
่ ่
่
ให้สูงกว่าระดับดีขึ้นไป
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
	
ประชากร คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียน
ราชประชานุเคราะห์ 27 จังหวัดหนองคาย ในภาคเรียนที่ 1
ปีการศึกษา 2553
	
กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/3
โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 27 จังหวัดหนองคาย ที่เรียน
ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 จำ�นวน 13 คน ซึ่งได้จาก
การสุ่มแบบเจาะจง (Purposive Sampling)
ปีที่ 4 ฉบับที่ 14 เดือนมกราคม-มีนาคม 2553	

วารสาร สควค.

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
	
1.	 รูปแบบการเรียนการสอน เป็นการประยุกต์การสอน
รูปแบบซิปปาร่วมกับเทคโนโลยี web 2.0 ทั้งนี้ผู้วิจัยได้ศึกษา
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง วิเคราะห์และสร้างต้นแบบ
รู ป แบบการเรี ย นการสอนและผ่ า นการตรวจสอบจาก
ผู้เชี่ยวชาญ 3 คน
	
2. 	แผนการจัดการเรียนรูทประยุกต์การสอนรูปแบบ
้ ี่
ซิปปาร่วมกับเทคโนโลยี web 2.0 เรื่องการใช้งานโปรแกรม
Flash จำ�นวน 12 ชั่วโมง
	
3. 	แบบทดสอบเพื่อใช้วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
เรื่อง การใช้งานโปรแกรม Flash จำ�นวน 40 ข้อ 40 คะแนน
	
4. 	แบบประเมินทักษะความคิดสร้างสรรค์การสร้าง
ชิ้นงาน
	
5. 	แบบสอบถามความพึ ง พอใจของนั ก เรี ย นต่ อ
รูปแบบการเรียนการสอนคอมพิวเตอร์ โดยประยุกต์การสอน
รูปแบบซิปปาร่วมกับเทคโนโลยี web 2.0
การดำ�เนินการวิจัย
	
1. 	สอนตามรูปแบบ การประยุกต์การสอนรูปแบบ
ซิปปาร่วมกับเทคโนโลยี web 2.0 กับนักเรียนชั้น ม. 5/3
ในระหว่างเรียนให้นกเรียนทำ�ข้อสอบวัดผลสัมฤทธิทางการเรียน
ั
์
และสร้างชิ้นงาน จากนั้นนำ�ชิ้นงานไปนำ�เสนอผ่านเทคโนโลยี
web 2.0 แล้วให้รุ่นน้อง เพื่อนๆ และครู ร่วมกันให้คะแนน
ความคิดสร้างสรรค์ผ่าน web 2.0 นำ�คะแนนที่ได้จากการ
ทดสอบและคะแนนจากการประเมิ น ความคิ ด สร้ า งสรรค์
ของชิ้นงานไปหาค่า E1
	
2. 	นักเรียนทำ�ข้อสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
จากนั้นนำ�คะแนนที่ได้จากการทดสอบและคะแนนจากการ
ประเมินความคิดสร้างสรรค์ของชิ้นงานชิ้นสุดท้าย จากการให้
คะแนนของครูและเพื่อนๆ ผ่าน web 2.0 ไปหาค่า E2
	
3. 	น�คะแนนมาวิเคราะห์หาค่า E1/E2 ตรวจสอบว่า
ำ
มีประสิทธิภาพมากกว่า 80/80 หรือไม่
	
4. 	สอบถามความพึงพอใจ
	
5. 	วิเคราะห์หาร้อยละของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ค่าเฉลียคะแนนทักษะความคิดสร้างสรรค์ และวิเคราะห์ระดับ
่
ความพึงพอใจด้วยสถิติพรรณนา ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบน
มาตรฐาน

7

ผลการศึกษา
	
ได้รูปแบบการจัดการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ
82.42/82.51, ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยเท่ากับร้อยละ
81.25, ค่าเฉลี่ยคะแนนทักษะความคิดสร้างสรรค์ อยู่ใน
ระดับดีขึ้นไป, นักเรียนพึงพอใจต่อรูปแบบในระดับมากที่สุด
(ค่าเฉลี่ย 4.62 ส่วนเบี่ยงเบน 0.28) นอกจากนี้ ยังพบว่า
นักเรียนมีความกระตือรือร้นและมีความสุขในการเรียนมากขึน
้
ข้อเสนอแนะ
	
1. 	ขณะจั ด การเรี ย นรู้ ผู้ ส อนควรเพิ่ ม เติ ม เนื้ อ หา
ในบทเรียนให้มาก เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้เพียงพอและจำ�เป็น
สำ�หรับการสืบค้นความรู้เพิ่มเติม
	
2. 	ในการจัดการเรียนรู้ นักเรียนและครูควรมีการ
บันทึกอนุทินทุกครั้ง เพื่อเป็นร่องรอยหลักฐานในการทำ�งาน
และแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในระหว่างการจัดการเรียนการสอน

ตัวอย่างผลงานของนักเรียนในบล็อก (เทคโนโลยีเว็บ 2.0)

ตัวอย่างผลงานการใช้ Social Media ในการจัดการเรียนรู้

14 มีนาคม วันคณิตศาสตร์โลก

	
นักคณิตศาสตร์ได้ตกลงกันให้วันที่ 14 เดือน 3 ของทุกปี เป็นวันคณิตศาสตร์โลก (World Math Day) เนื่องจากว่าวันนี้เป็นวันที่มีการ
ค้นพบค่าของ (Pi) ซึ่งไม่ทราบว่าเป็นความตั้งใจหรือความบังเอิญที่ pi มีค่าเท่ากับ 3.14 (วันที่ 14 เดือน 3) บางครั้งเราเรียกวันนี้ว่า “Pi Day”
และวันนี้ตรงกับวันเกิดของอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ (Albert Einstein : ค.ศ. 1879-1955) ด้วย
	
เป็นจำ�นวนอตรรกยะ ที่เขียนเป็นทศนิยมจะเป็นทศนิยมแบบไม่รู้จบที่ไม่ซํ้า แต่กำ�หนดใช้ค่าเท่ากับ 3.14 (หรือ 22/7)
	
pi=3.14159265358979323846264338327950284197169…ผู้สนใจเกี่ยวกับค่า pi คลิกเข้าไปดูที่ www.piday.org เป็นเว็บไซต์
ที่สร้างขึ้นมาเพื่อค่า pi โดยเฉพาะ จะมีข้อมูลที่เป็นประโยชน์มากมาย...น่าเสียดายที่วันนี้ไม่ได้อยู่ในช่วงเปิดเรียนปกติ เพราะจะได้ถือเป็นโอกาส
ในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้สำ�หรับนักเรียนได้ แต่ครูคณิตศาสตร์ก็อาจใช้วันที่ 22 เดือน 7 แทนได้
8

วารสาร สควค.	

ปีที่ 4 ฉบับที่ 14 เดือนมกราคม-มีนาคม 2553

นวัตกรรมการเรียนรู้

สมุนไพรไทย ภูมิปัญญาไทย
ปรียาภรณ์ ทะพิงค์แก สควค. รุ่น 7 ครู คศ.1 ร.ร.บ้านสันป่าสัก จ.เชียงใหม่

	
นวัตกรรมการเรียนรู้ของครู สควค. ฉบับนี้ เรามีต้นแบบผลงานด้านเทคโนโลยีทางการศึกษาของ สควค. 2 คน คือ นางสาว
ปรียาภรณ์ ทะพิงค์แก และนายไพศาล วงศ์กระโซ่ มานำ�เสนอต่อทุกท่าน ซึงนวัตกรรม 2 รายการ ได้รบรางวัลชนะเลิศระดับประเทศ
่
ั
จากโครงการ “Thailand Innovative Teachers Leadership Awards 2010” ที่จัดโดยบริษัท ไมโครซอฟท์ (ประเทศไทย)
จำ�กัด ร่วมกับกระทรวงศึกษาธิการ และเป็น 2 ใน 10 ตัวแทนประเทศไทย เดินทางไปเข้าร่วมการประชุมและนำ�เสนอผลงาน
เข้าประกวดระดับภูมภาคเอเชีย-แปซิฟก ในงาน “6th Asia Pacific Regional Innovative Education Forum 2010” ณ ประเทศ
ิ
ิ
สิงคโปร์ ระหว่างวันที่ 8-12 มีนาคม 2553 ที่ผ่านมา ซึ่งมีครูในเอเชีย-แปซิฟิกจาก 15 ประเทศได้รับการคัดเลือกให้เข้าร่วมงานรวม
จำ�นวนกว่า 200 คน อาทิ สิงคโปร์ ออสเตรเลีย ญี่ปุ่น เวียดนาม นิวซีแลนด์ อินโดนีเซีย แคนาดา ฟิลิปปินส์ ศรีลังกา บังกลาเทศ
บรูไน มาเลเซีย เกาหลีใต้ และไทย กองบรรณาธิการขอร่วมแสดงความชื่นชมยินดีในความสามารถ และขอแบ่งปันประสบการณ์
ของความสำ�เร็จแก่เพื่อนร่วมวิชาชีพทุกคน
	
เมื่อปี พ.ศ. 2549 อำ�เภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ เป็น
สถานที่ในการจัดงานมหกรรมพืชสวนโลกเฉลิมพระเกียรติฯ
ราชพฤกษ์ 2549 ซึ่งมีการจัดแสดงพันธุ์ไม้นานาชนิด หลังจาก
มหกรรมพืชสวนโลกจัดแสดงประมาณ 1 เดือน สพท. เชียงใหม่
เขต 4 มีแนวคิดที่จะเก็บองค์ความรู้ไว้เพื่อให้เป็นประโยชน์
ในการศึ ก ษาของนั ก เรี ย น จึ ง ได้ ใ ห้ ง บประมาณส่ ว นหนึ่ ง
แก่โรงเรียนนำ�นักเรียนเข้าไปทัศนศึกษา เก็บข้อมูล สร้างองค์
ความรู้ และพัฒนานวัตกรรมเพื่อนำ�เสนอองค์ความรู้เหล่านั้น
โดยโรงเรี ย นบ้ า นสั น ป่ า สั ก ได้ รั บ มอบหมายให้ เข้ า ไปเก็ บ
รวบรวมองค์ความรู้ที่สวนสมุนไพร
	
นายพิกด ขัตพนธุ์ ผูอ�นวยการโรงเรียนบ้านสันป่าสัก
ั ิ ั ้ำ
จึ ง ได้ ป ระชุ ม ครู ซึ่ ง ประกอบด้ ว ยนางวั ล ลภา พรมท้ า ว
ครูผู้สอนวิทยาศาสตร์ และนางสาวปรียาภรณ์ ทะพิงค์แก
ครูผู้สอนเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้ร่วมกันวางแผนในการจัด
แผนการเรียนรู้ วิธีการรวบรวมองค์ความรู้และเทคโนโลยี
สำ�หรับการเผยแพร่องค์ความรู้ โดยครูผู้สอนวิทยาศาสตร์
จะเน้นให้นักเรียนได้รับความรู้เกี่ยวกับพืชสมุนไพร ส่วนครู
ผู้ส อนเทคโนโลยี จะเน้นให้นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับการ
แก้ปญหาโดยใช้สารสนเทศ (Information problem-solving)
ั
จากนั้นจึงนำ�นักเรียนชั้น ม.1-3 เข้าศึกษาแหล่งเรียนรู้ในงาน
มหกรรมพืชสวนโลกเฉลิมพระเกียรติฯ ราชพฤกษ์ 2549
แล้วนักเรียนจึงใช้กระบวนการเทคโนโลยีสนเทศในการสร้าง
และเผยแพร่องค์ความรู้สมุนไพรไทย และภูมิปัญญาไทยจาก
แหล่งเรียนรู้ จึงทำ�ให้มีเว็บไซต์สวนสมุนไพร (http://www.
sps-school.com/herbal) เกิดขึ้น

	
ปีการศึกษา 2552 ผู้เขียนซึ่งเป็นครูผู้สอนเทคโนโลยี
สารสนเทศ เห็นว่าเว็บไซต์สวนสมุนไพรยังคงเป็นแหล่งเรียนรู้
ที่ดีสำ�หรับนักเรียน จึงได้จัดแผนการเรียนรู้ให้นักเรียนรุ่น
ปัจจุบัน เรียนรู้การแก้ปัญหาโดยใช้สารสนเทศและเพิ่มขีด
ความสามารถของเว็บไซต์ให้นักเรียนสามารถเพิ่มองค์ความรู้
ได้เอง จนเกิดเว็บไซต์องค์ความรู้สมุนไพรไทย ภูมิปัญญาไทย
ในเวอร์ชั่นปัจจุบัน โดยมีการจัดกระบวนการเรียนรู้ดังนี้
	
1) 	ครู นำ � เข้ า สู่ บ ทเรี ย นโดยเล่ า ถึ ง เรื่ อ งภู มิ ปั ญ ญา
ไทย แล้วให้นักเรียนช่วยกันเสนอเรื่องเกี่ยวกับภูมิปัญญาไทย
ในท้องถิ่นของนักเรียน เป็นขั้นตอนในการ Brainstorm
	
2) 	นักเรียนเข้าเว็บไซต์สวนสมุนไพรไทย แล้วเชือมโยง
่
เข้ากับภาระงาน
	
3) 	นั ก เรี ย นทำ � ใบงาน “สื บ เสาะสมุ น ไพรไทย
ภูมิปัญญาไทย” ซึ่งระบุให้นักเรียน ไปถ่ายรูปสมุนไพรที่บ้าน
นักเรียน จากนันใช้การแก้ปญหาโดยใช้สารสนเทศในการสร้าง
้
ั
องค์ความรู้ของนักเรียนเอง
	
4) 	นักเรียนศึกษาวิธีการเผยแพร่องค์ของความรู้ของ
นักเรียนจากเว็บไซต์ http://www.sps-school.com/herbel
ซึ่งเป็นเว็บไซต์ที่ใช้เทคโนโลยี Web 2.0 โดยครูคอยชี้แนะและ
ให้คำ�ปรึกษา จากนั้นนักเรียนปฏิบัติการเผยแพร่องค์ความรู้
ของนักเรียนลงในเว็บไซต์ดังกล่าว ซึ่งนักเรียนจะเห็นผลงาน
ทั้งของตัวเอง และเพื่อน ทำ�ให้เป็นส่วนกระตุ้นให้นักเรียน
พัฒนาผลงานของตนเองให้ดียิ่งขึ้น
	
5) 	นักเรียนและครูร่วมกันสรุปเกี่ยวกับขั้นตอนการ
แก้ปัญหาโดยใช้สารสนเทศ
ปีที่ 4 ฉบับที่ 14 เดือนมกราคม-มีนาคม 2553	

วารสาร สควค.

9

	
กระบวนการจั ด การเรี ย นรู้ ดั ง กล่ า วทำ � ให้ นั ก เรี ย น
ได้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริง โดยใช้เรื่องรอบตัวมาผสมผสาน
กับการใช้เทคโนโลยี Web 2.0 แล้วใช้กระบวนการแก้ปัญหา
โดยใช้ เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศ ซึ่ ง จะเน้ น การใช้ เ ทคโนโลยี
สารสนเทศเป็นเครื่องมือในการค้นหา รวบรวม สังเคราะห์
นำ�เสนอ และประเมินผลสารสนเทศ มาพัฒนาทักษะทางด้าน
คอมพิวเตอร์ ที่จะติดตัวกับนักเรียนตลอดไป
	
การสร้ า งนวั ต กรรมนี้ เกิ ด ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า ง
นักเรียนและผู้ปกครอง ตลอดจนคนในชุมชน โดยใช้แหล่ง
เรี ย นรู้ ที่ บ้ า นหรื อ ชุ ม ชนของนั ก เรี ย นเป็ น สถานที่ ถ่ า ยรู ป
สมุนไพร เข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องในการสืบเสาะหาความรู้ของ
นั ก เรี ย น เนื่ อ งจากพื ช สมุ น ไพรบางชนิ ด ที่ นั ก เรี ย นไม่ รู้ จั ก
นักเรียนต้องถามจากผู้รู้ อาจจะเป็น พ่อ แม่ หรือ คนเฒ่า
คนแก่ ที่อยู่บริเวณนั้น เป็นการสืบสานผู้ปัญญาไทยจากรุ่น
สู่รุ่น ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากผู้ปกครอง และคนในชุมชน
เป็นอย่างดี ที่จะให้ความรู้แก่นักเรียน อีกทั้งยังช่วยกระตุ้น
ให้นักเรียนเกิดความภูมิใจในความเป็นไทยอีกด้วย

	
สำ�หรับการนำ�เสนอผลงานทีประเทศสิงคโปร์นน คณะ
่
ั้
กรรมการจะตัดสินคัดเลือกผลงานประเทศละ 1 คน เพือเข้าร่วม
่
ประชุม “Worldwide Innovative Teachers Leadership
Forum” ที่เมืองเคปทาวน์ ประเทศแอฟริกาใต้ ในเดือน
ตุลาคม 2553 ซึงผลปรากฏว่า ครูรงกานต์ วังบุญ จากโรงเรียน
่
ุ่
ปรินส์รอแยลล์วิทยาลัย จ.เชียงใหม่ ได้รับคัดเลือกให้เป็น
ตัวแทนประเทศไทย เข้าร่วมงานดังกล่าว
	
โครงการ Microsoft Innovative Teachers
Leadership Awards จัดมาแล้ว 6 ปีด้วยกันและเบื้องต้น
จะจัดต่อเนื่องไปอีก 4 ปี จึงขอเชิญชวนครูไทย โดยเฉพาะครู
สควค. ทีมนวัตกรรมการเรียนการสอนทีดๆ ได้น�มาประกวดกัน
่ี
่ี
ำ
ซึ่งจากการเข้าร่วมการประกวดและเข้าร่วมการประชุมระดับ
นานาชาติ นั้ น ข้ า พเจ้ า ได้ รั บ ความรู้ แ ละประสบการณ์ ที่ ดี
มิตรภาพจากเพื่อนครูด้วยกัน เทคนิควิธีการสอนในระดับ
โลก เพราะครูทกคนจะต้องเตรียมรับการปรับเปลียนการเรียน
ุ
่
การสอนให้เข้ากับศตวรรษที่ 21 ซึ่งจะได้นำ�ความรู้มาพัฒนา
การเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป

Microsoft Innovative Teachers
Leadership Awards

	
นายชิณวรณ์ บุญยเกียรติ รมว.ศธ. กล่าวว่า การ
ศึกษาในยุคปัจจุบัน เป็นการศึกษาในโลกยุคโลกาภิวัตน์
ที่ ใช้ เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศเป็ น เครื่ อ งมื อ ในการเรี ย น
การสอน และเพื่อประโยชน์ในการเรียนรู้ตลอดชีวิต จึงมี
ความจำ�เป็นอย่างยิ่งสำ�หรับทุกคน โครงการในวันนี้ทำ�ให้
เห็นว่า ครูและนักเรียนประสบความสำ�เร็จและมีความ
ก้ า วหน้ า ในเรื่ อ งการพั ฒ นาเทคโนโลยี แ ละสารสนเทศ
ตามลำ�ดับ นอกจากนี้ นโยบายของ ศธ. ได้ยกระดับการ
สือสารและการใช้เทคโนโลยีเป็นวาระแห่งชาติ (National
่
Education Network หรือ Ned Net) ซึ่งจะมีการลงทุน
เป็นจำ�นวนหมื่นล้านบาท เพื่อสร้างโครงสร้างพื้นฐาน
ฮาร์ ด แวร์ ซอฟต์ แวร์ และสร้ า งระบบ Interactive
เพื่อใช้ในการเรียนรู้ระหว่างนักเรียนกับครู สำ�หรับการ
ปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง

คุณสมบัติของครูผู้สมัคร

	
เป็นครู ระดับประถมศึกษา หรือมัธยมศึกษา
ที่สอนในทุกกลุ่มสาระวิชา เป็นครูหัวใจไอที ที่มีผลงาน
ของตนเอง ในการสร้างสรรค์ และนำ�เทคโนโลยีสารสนเทศ
เข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารการศึกษา และหรือการ
สอนทุกสาระการเรียนรู้ มีผลต่อการพัฒนาการศึกษาไทย
ต่อเพื่อนครูและนักเรียน และวงการการศึกษาไทย

	

หลักเกณฑ์ในการตัดสิน 100 คะแนน

	
มีแนวคิดการสร้างสรรค์ผลงาน ในการบูรณาการ
แผนการสอนร่วมกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือความเป็น
นวัตกรรมใหม่ โดยมีเทคนิคการนำ�เสนอที่ดีและน่าสนใจ
	
ผู้สนใจดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ www.pil.in.th
10 วารสาร สควค.	

ปีที่ 4 ฉบับที่ 14 เดือนมกราคม-มีนาคม 2553

นวัตกรรมการเรียนรู้

การสร้างหุ่นยนต์ทำ�มือ (Handmade Robots)
ไพศาล วงค์กระโซ่ สควค. รุ่น 11 ครู คศ.1 ร.ร.หนองสูงสามัคคีวิทยา จ.มุกดาหาร

	
นวัตกรรมเรือง การสร้างหุนยนต์ท�มือ (Handmade
่
่
ำ
Robots) ที่ได้รับรางวัลชนะเลิศระดับประเทศจากโครงการ
“Thailand Innovative Teachers Leadership Awards
2010” มีรายละเอียดในแต่ละประเด็น ดังนี้
1. เป็นผลงาน ที่ใช้ในกลุ่มสาระ และช่วงชั้นใด
	
เป็นผลงานในวิชากิจกรรมชุมนุมหุ่นยนต์ กลุ่มสาระ
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 3 และ 4
2. วัตถุประสงค์หรือผลสัมฤทธิ์ของการเรียนรู้
	
เพื่ อ พั ฒ นาทั ก ษะกระบวนการของนั ก เรี ย นที่ มี
ความสนใจ และต้องการที่จะเรียนรู้ในเรื่องหุ่นยนต์ ได้แก่
คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ กลศาสตร์ การประยุกต์ใช้โปรแกรม
ช่วยในงานออกแบบ การประดิษฐ์ และงานช่าง เป็นต้น
3. จุดเด่นของผลงาน หรือกิจกรรมการเรียนรู้
	
นักเรียนจะได้เรียนรูตามหลักทฤษฏี constructionism
้
คือ นักเรียนเรียนรูจากการทำ�ชินงาน โครงการในสิงทีตนสนใจ
้
้
่ ่
ซึ่งนักเรียนต้องสร้างชิ้นงานของตนเองอย่างน้อย 1 ชิ้นงาน
หรือ 1 กลุ่มต่อชิ้นงาน ถ้าเป็นงานในลักษณะที่ซับซ้อนขึ้นมา
โดยที่นักเรียนคิดเอง สร้างเองด้วยตนเองโดยอิสระ จากการ
เรียนตามกระบวนการเรียนรู้ (learning process) ที่ผู้สอน
สร้างขึ้น โดยการเน้นเอา CAD มาช่วยในการสร้างชิ้นงาน
4. กลวิธีการสอน มีความเป็นนวัตกรรม อย่างไร
	
ในวิชานี้นักเรียนทุกคนต้องมีชิ้นงานส่งครูอย่างน้อย
1 ชิ้นงาน ดังนั้น นักเรียนทุกคนต้องเรียนรู้ตามขั้นตอนคือ
ต้องสืบค้นหาข้อมูล แนวคิดเกี่ยวกับชิ้นงานของตนอย่างเป็น
ระบบ เมื่อได้แนวคิดแล้ว เขาจะนำ�แนวคิดนั้นมาเสนอครูก่อน
ถ้าครูอนุมัติ นักเรียนก็จะร่างแบบหุ่นยนต์ลงในกระดาษ และ
ใช้ซอฟแวร์เพือจำ�ลองการทำ�งานว่าเมือสร้างจริง แบบทีรางไว้
่
่
่่
สามารถทำ � งานได้ จ ริ ง อย่ า งที่ คิ ด ไว้ ห รื อ ไม่ โปรแกรมที่ ใช้
ก็ได้แก่ Linkage mechanism simulator และ crocodile
technology 3d ซึงนักเรียนสามารถศึกษาจากคูมอการใช้งาน
่
่ื
ที่ผู้เขียนได้จัดทำ�ขึ้น เมื่อจำ�ลองการทำ�งานแล้วเขาจะต้อง
ใช้ CAD มาช่วยในการสร้างโมเดลเสมือนจริง โปรแกรมที่ใช้
ได้แก่ Microsoft office 2007 และ CADstd Lite โดยนักเรียน
สามารถศึกษาจากคู่มือการใช้โปรแกรมช่วยในการออกแบบ

ที่ได้จัดทำ�ขึ้น จากนั้นเขาจะลงมือทำ�หุ่นยนต์ตามแบบที่ร่างไว้
โดยต้องใช้ทักษะต่างๆ มากมายในการทำ�ชิ้นงาน เช่น ทักษะ
ทางช่าง การประดิษฐ์ การเลือกวัสดุที่ใช้ รวมถึงงบประมาณ
เมื่อทำ�หุ่นยนต์แล้วนักเรียนต้องทดสอบและปรับปรุงหุ่นยนต์
ให้ดีขึ้นจนกว่าจะพอใจ จากนั้นนักเรียนจะจัดทำ�คู่มือการทำ�
หุ่นยนต์นั้น เพื่อเผยแพร่ต่อผู้ที่สนใจ โดยผู้ที่ไม่เคยทำ�สามารถ
ทำ�ตามคู่มือได้
5. ความเกี่ยวข้องของความคิดสร้างสรรค์ในการใช้ไอซีที
	
ผูเ้ ขียนได้น�ไอชีทมาใช้ในการทำ�หุนยนต์ของนักเรียน
ำ
ี
่
โดยจะเริ่มตั้งแต่การสืบค้นอย่างเป็นระบบ ออกแบบจาก
ความคิด จำ�ลองการทำ�งานของแบบโดยใช้ซอฟแวร์ ใช้ CAD
มาสร้างโมเดลเสมือนจริง แล้วลงมือทำ�ตามแบบนั้น ซึ่งจะ
มีโอกาสผิดพลาดน้อยลง ที่แตกต่างจากการทำ�แบบลองผิด
ลองถูก ซึ่งต้องเสียทั้งเงินและเวลากว่าจะได้ชิ้นงานที่พอใจ
6. ผู้สอน/ผู้เรียนเป็นผู้นำ�ความเปลี่ยนแปลง อย่างไร
	
ครูจะแสดงบทบาทเป็นเพื่อนร่วมเรียนรู้ ส่วนภารกิจ
ในการเรียนรู้ สร้างสรรค์จะต้องเป็นของนักเรียนแต่ละคนเอง
ครูเสนอคำ�ถามทีจะทำ�ให้เกิดความคิดใหม่ๆ ในการสร้างชินงาน
่
้
นักเรียนจะกำ�หนดเป้าหมายที่แน่นอน ลองผิดลองถูกเอง
ในการทำ�หุนยนต์ไปจนกว่าจะพบวิธทถกต้องและดีทสด โดยมี
่
ี ี่ ู
ี่ ุ
การจำ�ลองการทำ�งานของหุ่นยนต์ก่อนลงมือสร้างจริง
7.ประโยชน์ทได้รบในการนำ�ผลงานไปใช้กอนและหลังเรียน
ี่ ั
่
	
7.1 	ก่อนเรียน
		 นักเรียนทีมาเรียนในกิจกรรมชุมนุมหุนยนต์ท�มือ
่
่
ำ
ไม่มีความรู้ แต่มีความสนใจที่ตรงกันคือ อยากเรียนรู้เรื่อง
หุนยนต์ และอยากทีจะสร้างหุนยนต์ จากการสอบถามนักเรียน
่
่
่
ในชุมนุม พบว่า นักเรียนทุกคนไม่เคยได้ทำ�หุ่นยนต์ เคยแต่
เห็นภาพในโทรทัศน์ หรือสื่อต่างๆ นักเรียนไม่มั่นใจว่าตนจะ
สร้างได้หรือเปล่า เพราะคิดว่าคงจะเป็นเรื่องยากและต้องใช้
งบประมาณสูง ทั้งนี้เพราะฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัว
นักเรียนส่วนใหญ่อยู่ในชุมชนห่างไกลตัวเมือง และขาดโอกาส
อันเนื่องจากฐานะทางครอบครัว ความสนใจและความอยากรู้
อยากปฏิบัติของนักเรียนเอง ที่ทำ�ให้นักเรียนมาสมัครเรียน
ในชุมนุมนี้
ปีที่ 4 ฉบับที่ 14 เดือนมกราคม-มีนาคม 2553	

7.2 	หลังเรียน
	 นักเรียนทุกคนในกิจกรรมชุมนุมหุ่นยนต์ทำ�มือ
จะมีชนงานของตนเองจากการเรียนรูในหลายๆ เดือนทีผานมา
ิ้
้
่่
ได้สร้างองค์ความรู้ที่เกิดจากการสร้างชิ้นงาน ได้จิตนาการ
อย่างสร้างสรรค์ ร่างแบบจากจินตนาการนั้น นำ�ไปสู่การ
ออกแบบโดยใช้เทคโนโลยีจากภาพร่างเป็นต้นแบบ และสร้าง
หุ่นยนต์จากต้นแบบที่ได้ออกแบบไว้ด้วยตนเอง ได้แก้ปัญหา
จากการสร้างหุ่นยนต์ การประยุกต์ใช้วัสดุที่มีอยู่อย่างจำ�กัด
และใช้วัสดุในท้องถิ่นมาใช้ เกิดความภูมิใจอย่างเห็นได้ชัด
จากสีหน้า อากัปกิรยาทีแสดงออกเวลาทำ�ชินงาน การมาทำ�งาน
ิ ่
้
หลังเลิกเรียนเป็นประจำ�
8. ผลของความสำ�เร็จ
	
1.	 อันดับที่ 1 ระดับประเทศ จากการแข่งขันหุนยนต์
่
บังคับมือ ประเภทสำ�รวจดาวนพเคราะห์ ระดับ ม.ปลาย
	

วารสาร สควค. 11

	
2. 	อันดับที่ 3 ระดับประเทศ จากการแข่งขันหุนยนต์
่
บังคับมือ ประเภทสำ�รวจดาวนพเคราะห์ ระดับ ม.ต้นและได้
เป็นตัวแทนประเทศไทยเข้าแข่งขันในงาน Inter-city robotics
Olympiad 2009 ที่ เขตปกครองพิเศษ ฮ่องกง ระหว่างวันที่
25-29 ตุลาคม 2552 และได้คว้ารางวัล แชมป์ประเภทหุนยนต์
่
สำ�รวจดาวนพเคราะห์ มาครองเป็นครั้งแรกของประเทศไทย
รวมถึงการได้รับรางวัลต่างๆ อีกมากมาย
การนำ�เอาโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาช่วยในการออกแบบ
จำ�ลองการทำ�งานอย่างเป็นระบบนี้สามารถนำ�ไปใช้กับการ
สร้างชินงานอืนได้อก เช่น ออกแบบผลิตภัณฑ์ตางๆ นอกจากนี้
้
่ ี
่
นักเรียนยังได้ถกฝึกให้เรียนอย่างเป็นระบบและมีกระบวนการ
ู
ทำ�งานที่ดี ที่จะกลายเป็นทักษะติดตัวและจำ�เป็นต่อการใช้
ชีวิตประจำ�วันต่อไป และสามารถต่อยอดเป็นความเชี่ยวชาญ
เฉพาะด้านได้ในอนาคต

ครู สควค. ชนะเลิศประกวดสื่อดิจิตอลเพื่อการเรียนรู้ (Digital Learning Contest)
ครั้งที่ 1 ประเภทบุคคล จัดโดยเว็บไซต์ Thaigoodview.com

	
ครูสุพรรณวดี เพชรเรียง สควค. รุ่น 9 โรงเรียนเกาะ
พงันศึกษา (ปัจจุบันสอนที่โรงเรียนสุราษฎร์พิทยา 2) รับถ้วย
รางวัลพระราชทานจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม
บรมราชกุมารี ในการชนะเลิศการประกวดสื่อดิจิตอลเพื่อการ
เรียนรู้ ประเภทบุคคล จัดโดยเว็บไซต์ Thaigoodview.com

ครู สุ พ รรณวดี เล่ า ถึ ง ผลงานที่ ส่ ง เข้ า ประกวดว่ า
เป็นผลงานเกียวกับวิชาเคมี เรือง สารไฮโดรคาร์บอน จัดทำ�ขึน
่
่
้
เพือใช้เป็นข้อมูลประกอบการเรียนการสอน แต่เรืองนีสามารถ
่
่ ้
ใช้ในการเรียนการสอนในช่วงชั้นที่ 4 ได้ด้วย
นายชัยวุฒิ บรรณวัฒน์ รมช. ศึกษาธิการ ในฐานะประธาน
เล่าถึงงานครั้งนี้ว่า ได้จัดประกวดสื่อการเรียนรู้ในรูปแบบ
เว็บไซต์ และสื่อสารคดีประวัติศาสตร์และสถานที่ท่องเที่ยว
ท้องถิ่นขึ้น ซึ่งถือได้ว่าเป็นการได้เพิ่มเนื้อหาการเรียนรู้ผ่าน
ทางระบบอินเทอร์เน็ต การนำ�เสนอเนื้อหาที่แปลกใหม่เพื่อ
กระตุ้นการเรียนรู้ จึงเป็นสิ่งที่ควรทำ�เพื่อให้มีเนื้อหาความรู้
ที่หลากหลาย และเป็นทางเลือกในการค้นคว้าของเยาวชน
ต่ อ ไป และจั ด ได้ ว่ า เป็ น พื้ น ที่ ใ หม่ ใ นโลกดิ จิ ต อลที่ ส่ ง เสริ ม
การเรียนรู้อย่างปลอดภัยและสร้างสรรค์
12 วารสาร สควค.	

ปีที่ 4 ฉบับที่ 14 เดือนมกราคม-มีนาคม 2553

สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ด้วยครูวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี
ครู สควค. รักครอบครัว :: สูตรเติมรัก ทำ�ชีวิตให้มีสุข
ขอขอบคุณ :: สารสาธารณสุขสุรินทร์ ปีที่ 9 ฉบับที่ 5 และข้อมูลจากสำ�นักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงวัฒนธรรม

	
ในสังคมที่สับสน วุ่นวาย และซับซ้อน เช่นปัจจุบันนี้
แม้จะอยู่บ้านเดียวกัน ครอบครัวเดียวกัน ทำ �งานด้วยกัน
หรืออยูใกล้กน ก็อาจจะเป็นประเภท ใกล้ตว ไกลใจ หรือบางคน
่ ั
ั
ก็ไกลทั้งตัว ไกลทั้งใจ ดังนั้น จึงควรเติมรัก เติมรสชีวิต ด้วย
การสร้างความสัมพันธ์ทดตอกัน กลุมประชาสัมพันธ์ สำ�นักงาน
ี่ ี ่
่
คณะกรรมการวั ฒ นธรรมแห่ ง ชาติ กระทรวงวั ฒ นธรรม
ได้เสนอแนะสิงควรทำ� ( ) และไม่ควรทำ� ( ) จากพยัญชนะ
่
ก ไก่ ถึง ฮ นกฮูก (บางตัว) ซึ่งขอนำ�มาเผยแพร่ต่อ ดังนี้
	
ก 	 ( ) 	ได้แก่ กอด พ่อแม่ ลูก สามี หรือภรรยา
วันละครั้ง เพื่อแสดงความรัก ความห่วงใย และก่อนนอน
อย่าลืม กราบพระ/สิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่นับถือ เพื่อขอบคุณ และ
ขอพรสำ�หรับวันต่อไป
	
ก 	 ( ) 	คือ ก้าวร้าว ไม่ว่ากับใคร เพราะจะทำ�ให้
เป็นคนน่าเบื่อ ไม่น่าอยู่ใกล้ ไม่มีใครอยากให้ไปไหนด้วย
กลัวไปทะเลาะวิวาทกับเขา
	
ข 	 ( ) 	ได้แก่ ขอบคุณ จงกล่าวทุกครั้งที่มีคนทำ�
อะไรให้ ขำ�ขัน คือ ให้เป็นคนมีอารมณ์ดี อารมณ์ขัน
	
ข 	 ( ) 	คือ ขุดคุ้ย เอาเรื่องเก่ามาว่าไม่จบสิ้น หรือ
หาเรื่องมาประจานเขา
	
ค 	 ( ) 	ได้แก่ ครุ่นคิด และ ใคร่ครวญ คือ คิดก่อน
ทำ�อะไรทุกครั้ง เพื่อมิให้ตัวเองและคนอื่นเสียใจภายหลัง
	
ค 	 ( ) 	คื อ คลั่ ง แค้ น อย่ า เป็ น คนโกรธไม่ รู้ ห าย
อาฆาตไม่รู้จบ ทำ�ให้คนอยู่ใกล้ไม่มีความสุข
	
ง 	 ( ) 	ได้แก่ งดงาม ด้วยการทำ�ตัวเราให้งดงาม
ทั้งกาย วาจาและใจ ง้องอน เมื่อเราทำ�ผิด หรือเพื่อทำ�ให้คน
ทีเ่ รารักรูสกดีขน และรูจกเงียบเสียบ้าง เพือให้เกิดความสงบสุข
้ ึ ้ึ
้ั
่
	
ง 	 ( ) 	คือ งก อยากได้เกินควร และไม่รู้จักแบ่งปัน
	
จ 	 ( ) ได้แก่ รู้จัดจดจำ�วันเกิด วันสำ�คัญของคน
ในครอบครัว เพื่อนฝูง คนรัก และทำ�อะไรเป็นพิเศษให้บ้าง
ข้อสำ�คัญต้องจริงใจ ไม่เสแสร้งหลอกลวง อันจะทำ�ให้ต้อง
หวาดระแวงกันตลอดเวลา
	
จ	 ( ) 	คือ จู้จี้จุกจิก ใครทำ�อะไรให้ก็ไม่พอใจสักที
และไม่เจ้าชู้ ให้เกิดปัญหาในครอบครัว หรือที่ทำ�งาน	

	
ฉ 	 ( ) 	ได้แก่ ทำ�ตัวให้ฉลาดเฉลียว รู้ว่าอะไรควร
ไม่ควร รู้กาลเทศะ รู้จักพูด รู้จักทำ�สิ่งต่างๆ
	
ฉ 	 ( ) 	คือ เฉยเมย ไม่รู้ร้อนรู้หนาว กับความรู้สึก
ของคนอื่น หรือ ฉุนเฉียวให้คนหวาดผวา
	
ช 	 ( ) 	ได้แก่ ชมเชย ชื่นชม คือ รู้จักกล่าวคำ�ชม
หรือแสดงความชื่นชมในความสำ�เร็จหรือเรื่องดีๆ ของผู้อื่น
	
ช 	 ( ) 	คือ ช่วงชิง คือ อย่าไปแย่งของรัก ของหวง
ของผู้อื่น หรือฉวยประโยชน์มาเป็นของเราโดยไม่ลงทุนลงแรง
	
ซ 	 ( ) 	ได้แก่ ซื่อสัตย์ ทั้งต่อตนเองและผู้อื่น
	
ซ 	 ( ) 	คือ ซุบซิบนินทา หาเรื่องผู้อื่น หรือ เซ้าซี้
จนน่ารำ�คาญ และอย่าทำ�ท่า เซ็ง จนคนอื่นไม่สนุกไปด้วย
	
ฒ 	( ) 	ได้แก่ การเป็นผู้เฒ่าผู้แก่ ที่ทรงความรู้ และ
ทำ�ตัวให้น่าเชื่อถือ และคุยกับคนรุ่นใหม่รู้เรื่อง
	
ฒ 	( ) 	คือ อย่าทำ�ตัวเป็นเฒ่าทารก ไม่รู้จักโต เฒ่า
สารพัดพิษ ที่เจ้าเล่ห์ และเฒ่าหัวงูที่เป็นอันตรายแก่เด็กสาว
	
ด 	 ( ) 	ได้แก่ ดี คือ ทำ�ดี ทำ�สิงทีถกต้องและมีเหตุผล
่ ู่
	
ด 	 ( ) 	คอ ดุดา อย่าดุดาหรือใช้อารมณ์จนเกินเหตุผล
ื ่
่
	
ต 	 ( ) 	ได้แก่ ตักเตือน เมื่อเห็นใครทำ�ผิด หรือทำ�
ไม่ถูกต้องด้วยความหวังดี
	
ต	 ( ) 	คอ ตลบตะแลง ใช้เล่หกล หรือโกหกหลอกลวง
ื
์
ให้ผู้อื่นหลงเชื่อ
	
ถ 	 ( ) 	ได้แก่ ไถ่ถาม ห่วงใยทุกข์สุขของเพื่อนฝูง
คนรู้จัก และคนที่เรารัก
	
ถ 	 ( ) 	คือ ถากถาง อันเป็นการพูดเหน็บ หรือค่อน
ว่าให้คนอื่นเขาเจ็บใจ
	
ท 	 ( ) 	ได้แก่ ทะนุถนอม คือ การดูแลเอาใจใส่
ซึ่งกันและกัน
	
ท 	 ( ) 	คือ ทิฐิมานะ คือ การโอ้อวดถือดี ถือตัว
ไม่ยอมแพ้ จะเอาชนะให้ได้
	
ธ	 ( ) 	ได้แก่ ธรรมะ คือ มีหลักธรรมเป็นเครื่อง
ยึดเหนี่ยว เป็นแนวทางการดำ�เนินชีวิต
	
ธ	 ( ) 	คื อ ธุ ร ะไม่ ใช่ ด้ ว ยการละเลย บอกปั ด
ไม่สนใจจะช่วยเหลือใครทั้งสิ้น
TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)
TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)
TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)
TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)

More Related Content

What's hot

ประวัติการศึกษา สมัยธนบุรีถึงรัตนโกสินทร์ตอนต้น (พ.ศ.2311-2411)
ประวัติการศึกษา สมัยธนบุรีถึงรัตนโกสินทร์ตอนต้น (พ.ศ.2311-2411)ประวัติการศึกษา สมัยธนบุรีถึงรัตนโกสินทร์ตอนต้น (พ.ศ.2311-2411)
ประวัติการศึกษา สมัยธนบุรีถึงรัตนโกสินทร์ตอนต้น (พ.ศ.2311-2411)hon9te
 
โครงการปีการศึกษา 2554
โครงการปีการศึกษา 2554โครงการปีการศึกษา 2554
โครงการปีการศึกษา 2554Nang Ka Nangnarak
 
นายสถาพร พานิช
นายสถาพร พานิชนายสถาพร พานิช
นายสถาพร พานิชCony Brown
 
2557 โครงงาน(kr)
2557 โครงงาน(kr)2557 โครงงาน(kr)
2557 โครงงาน(kr)Chanatpak Sudsom
 
สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556oraneehussem
 
แบบเสนอร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอร่างโครงงานคอมพิวเตอร์jokercoke
 
แบบเสนอร่างโครงงาน
แบบเสนอร่างโครงงานแบบเสนอร่างโครงงาน
แบบเสนอร่างโครงงานjokercoke
 
รายงานประจำปีของสถานศึกษา (SAR) ปีการศึกษา 2556
รายงานประจำปีของสถานศึกษา (SAR) ปีการศึกษา 2556 รายงานประจำปีของสถานศึกษา (SAR) ปีการศึกษา 2556
รายงานประจำปีของสถานศึกษา (SAR) ปีการศึกษา 2556 somdetpittayakom school
 
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อยKruBeeKa
 
โครงงานเที่ยวเกาหลี
โครงงานเที่ยวเกาหลีโครงงานเที่ยวเกาหลี
โครงงานเที่ยวเกาหลีnoeiinoii
 
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดาการพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดาFURD_RSU
 

What's hot (12)

ประวัติการศึกษา สมัยธนบุรีถึงรัตนโกสินทร์ตอนต้น (พ.ศ.2311-2411)
ประวัติการศึกษา สมัยธนบุรีถึงรัตนโกสินทร์ตอนต้น (พ.ศ.2311-2411)ประวัติการศึกษา สมัยธนบุรีถึงรัตนโกสินทร์ตอนต้น (พ.ศ.2311-2411)
ประวัติการศึกษา สมัยธนบุรีถึงรัตนโกสินทร์ตอนต้น (พ.ศ.2311-2411)
 
โครงการปีการศึกษา 2554
โครงการปีการศึกษา 2554โครงการปีการศึกษา 2554
โครงการปีการศึกษา 2554
 
แหล่งเรียนรู้ภายในปี 59
แหล่งเรียนรู้ภายในปี 59แหล่งเรียนรู้ภายในปี 59
แหล่งเรียนรู้ภายในปี 59
 
นายสถาพร พานิช
นายสถาพร พานิชนายสถาพร พานิช
นายสถาพร พานิช
 
2557 โครงงาน(kr)
2557 โครงงาน(kr)2557 โครงงาน(kr)
2557 โครงงาน(kr)
 
สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556
 
แบบเสนอร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอร่างโครงงาน
แบบเสนอร่างโครงงานแบบเสนอร่างโครงงาน
แบบเสนอร่างโครงงาน
 
รายงานประจำปีของสถานศึกษา (SAR) ปีการศึกษา 2556
รายงานประจำปีของสถานศึกษา (SAR) ปีการศึกษา 2556 รายงานประจำปีของสถานศึกษา (SAR) ปีการศึกษา 2556
รายงานประจำปีของสถานศึกษา (SAR) ปีการศึกษา 2556
 
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
 
โครงงานเที่ยวเกาหลี
โครงงานเที่ยวเกาหลีโครงงานเที่ยวเกาหลี
โครงงานเที่ยวเกาหลี
 
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดาการพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
 

Viewers also liked

TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)
TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)
TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Journal03 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 3)
TSMT Journal03 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 3)TSMT Journal03 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 3)
TSMT Journal03 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 3)SAKANAN ANANTASOOK
 
กิจกรรมเพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
กิจกรรมเพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์กิจกรรมเพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
กิจกรรมเพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์Jintana Kujapan
 
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์jariya221
 
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)Jirathorn Buenglee
 

Viewers also liked (7)

วารสารคณิตศาสตร์ ฉบับพิเศษ
วารสารคณิตศาสตร์ ฉบับพิเศษวารสารคณิตศาสตร์ ฉบับพิเศษ
วารสารคณิตศาสตร์ ฉบับพิเศษ
 
TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)
TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)
TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)
 
TSMT Journal03 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 3)
TSMT Journal03 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 3)TSMT Journal03 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 3)
TSMT Journal03 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 3)
 
กิจกรรมเพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
กิจกรรมเพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์กิจกรรมเพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
กิจกรรมเพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
 
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
 
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
 
แบบรูป1
แบบรูป1แบบรูป1
แบบรูป1
 

Similar to TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)

สาระวิทย์ ฉบับพิเศษ รวมบทความเด่น ฉบับที่ 1-45 (พ.ศ. 2556-2559)
สาระวิทย์ ฉบับพิเศษ รวมบทความเด่น ฉบับที่ 1-45 (พ.ศ. 2556-2559)สาระวิทย์ ฉบับพิเศษ รวมบทความเด่น ฉบับที่ 1-45 (พ.ศ. 2556-2559)
สาระวิทย์ ฉบับพิเศษ รวมบทความเด่น ฉบับที่ 1-45 (พ.ศ. 2556-2559)National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]
สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]
สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]teacherhistory
 
บทเรียนคอมพิวเตอร์บนแท็บเล็ต ร่วมกับวิธีการสอนตามรูปแบบซิปปาโมเดล
บทเรียนคอมพิวเตอร์บนแท็บเล็ต ร่วมกับวิธีการสอนตามรูปแบบซิปปาโมเดลบทเรียนคอมพิวเตอร์บนแท็บเล็ต ร่วมกับวิธีการสอนตามรูปแบบซิปปาโมเดล
บทเรียนคอมพิวเตอร์บนแท็บเล็ต ร่วมกับวิธีการสอนตามรูปแบบซิปปาโมเดลRujroad Kaewurai
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
โครงงานคอม2
โครงงานคอม2โครงงานคอม2
โครงงานคอม2Kaopod Napatsorn
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..Librru Phrisit
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..Librru Phrisit
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..Lib Rru
 
วิวัฒนาการของมนุษย์
วิวัฒนาการของมนุษย์วิวัฒนาการของมนุษย์
วิวัฒนาการของมนุษย์Kiw Kongsak Kc
 

Similar to TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14) (20)

สาระวิทย์ ฉบับพิเศษ รวมบทความเด่น ฉบับที่ 1-45 (พ.ศ. 2556-2559)
สาระวิทย์ ฉบับพิเศษ รวมบทความเด่น ฉบับที่ 1-45 (พ.ศ. 2556-2559)สาระวิทย์ ฉบับพิเศษ รวมบทความเด่น ฉบับที่ 1-45 (พ.ศ. 2556-2559)
สาระวิทย์ ฉบับพิเศษ รวมบทความเด่น ฉบับที่ 1-45 (พ.ศ. 2556-2559)
 
V 302
V 302V 302
V 302
 
NAC 2009 Agenda
NAC 2009 AgendaNAC 2009 Agenda
NAC 2009 Agenda
 
V 277
V 277V 277
V 277
 
สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]
สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]
สอนโครงงาน1 [โหมดความเข้ากันได้]
 
V 283
V 283V 283
V 283
 
บทเรียนคอมพิวเตอร์บนแท็บเล็ต ร่วมกับวิธีการสอนตามรูปแบบซิปปาโมเดล
บทเรียนคอมพิวเตอร์บนแท็บเล็ต ร่วมกับวิธีการสอนตามรูปแบบซิปปาโมเดลบทเรียนคอมพิวเตอร์บนแท็บเล็ต ร่วมกับวิธีการสอนตามรูปแบบซิปปาโมเดล
บทเรียนคอมพิวเตอร์บนแท็บเล็ต ร่วมกับวิธีการสอนตามรูปแบบซิปปาโมเดล
 
STKS Brochure
STKS BrochureSTKS Brochure
STKS Brochure
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
V 297
V 297V 297
V 297
 
บทที่ึ7
บทที่ึ7บทที่ึ7
บทที่ึ7
 
V 293
V 293V 293
V 293
 
Varasan
VarasanVarasan
Varasan
 
โครงงานคอม2
โครงงานคอม2โครงงานคอม2
โครงงานคอม2
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..
 
Tsmt vol16
Tsmt vol16Tsmt vol16
Tsmt vol16
 
วิวัฒนาการของมนุษย์
วิวัฒนาการของมนุษย์วิวัฒนาการของมนุษย์
วิวัฒนาการของมนุษย์
 
จดหมายข่าวสำนักหอสมุด ม.รังสิต ปีที่ 9 ฉบับที่ 4 เม.ย.55
จดหมายข่าวสำนักหอสมุด ม.รังสิต ปีที่ 9 ฉบับที่ 4 เม.ย.55จดหมายข่าวสำนักหอสมุด ม.รังสิต ปีที่ 9 ฉบับที่ 4 เม.ย.55
จดหมายข่าวสำนักหอสมุด ม.รังสิต ปีที่ 9 ฉบับที่ 4 เม.ย.55
 

More from SAKANAN ANANTASOOK

เกมเติมคำ สำนวนไทย
เกมเติมคำ สำนวนไทย เกมเติมคำ สำนวนไทย
เกมเติมคำ สำนวนไทย SAKANAN ANANTASOOK
 
วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา
วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา
วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา SAKANAN ANANTASOOK
 
ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6
ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6
ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6SAKANAN ANANTASOOK
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง SAKANAN ANANTASOOK
 
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทยการสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทยSAKANAN ANANTASOOK
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานSAKANAN ANANTASOOK
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือSAKANAN ANANTASOOK
 
บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่
บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่
บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่SAKANAN ANANTASOOK
 
สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์
สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์
สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์SAKANAN ANANTASOOK
 
Eratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-version
Eratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-versionEratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-version
Eratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-versionSAKANAN ANANTASOOK
 
Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.
Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.
Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)
TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)
TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)
TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)
TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Journal09 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 9)
TSMT Journal09 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 9)TSMT Journal09 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 9)
TSMT Journal09 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 9)SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Journal08 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 8)
TSMT Journal08 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 8)TSMT Journal08 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 8)
TSMT Journal08 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 8)SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Journal07 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 7)
TSMT Journal07 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 7)TSMT Journal07 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 7)
TSMT Journal07 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 7)SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Journal06 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 6)
TSMT Journal06 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 6)TSMT Journal06 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 6)
TSMT Journal06 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 6)SAKANAN ANANTASOOK
 

More from SAKANAN ANANTASOOK (20)

เกมเติมคำ สำนวนไทย
เกมเติมคำ สำนวนไทย เกมเติมคำ สำนวนไทย
เกมเติมคำ สำนวนไทย
 
วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา
วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา
วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา
 
ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6
ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6
ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง
 
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทยการสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่
บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่
บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่
 
สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์
สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์
สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์
 
Eratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-version
Eratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-versionEratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-version
Eratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-version
 
Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.
Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.
Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.
 
PISA2015THAILAND
PISA2015THAILANDPISA2015THAILAND
PISA2015THAILAND
 
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
 
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
 
TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)
TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)
TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)
 
TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)
TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)
TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)
 
TSMT Journal09 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 9)
TSMT Journal09 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 9)TSMT Journal09 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 9)
TSMT Journal09 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 9)
 
TSMT Journal08 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 8)
TSMT Journal08 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 8)TSMT Journal08 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 8)
TSMT Journal08 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 8)
 
TSMT Journal07 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 7)
TSMT Journal07 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 7)TSMT Journal07 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 7)
TSMT Journal07 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 7)
 
TSMT Journal06 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 6)
TSMT Journal06 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 6)TSMT Journal06 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 6)
TSMT Journal06 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 6)
 

TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)

  • 1. พระเศวตอดุลยเดชพาหนฯ พระยาช้างเผือกประจำ�รัชกาลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว วารสาร ปีที่ 4 ฉบับที่ 14 เดือนมกราคม-มีนาคม 2553 ชมรมครูที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ISSN 1905-758X TSMT Journal สนับสนุนโดย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
  • 2. 2 วารสาร สควค. ปีที่ 4 ฉบับที่ 14 เดือนมกราคม-มีนาคม 2553 16 ม.ค. 2553 :: ครู สควค.ร่วมงานวันครู ณ หน่วยงานราชการ 5 ก.พ. 2553 :: นางพรพรรณ ไวทยางกูร ผอ.สสวท. เป็นประธาน ในสังกัดทั่วประเทศ (น้อมจิตวันทา บูชาคุณครู กตัญญูกตเวที) ในพิธีเปิดการประชุมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย กทม. ครูปรียาภรณ์ ทะพิงค์แก สควค. รุนที่ 7 และครูไพศาล วงศ์กระโซ่ สควค. รุนที่ 11 ชนะเลิศและรับรางวัล INNOVATIVE TEACHER ่ ่ 2010 เป็นตัวแทนครูไทยไปเสนองานที่ประเทศสิงคโปร์ สนับสนุนโดย บริษัท ไมโครซอฟท์ (ประเทศไทย) จำ�กัด 9-11 มี.ค. 2553 :: สุดยอดครูไทย หัวใจไอที (INNOVATIVE TEACHER 2010) จำ�นวน 10 คน ตัวแทนประเทศไทยนำ�เสนอผลงาน ไอที ที่สิงคโปร์ ครูปรียาภรณ์ เสนอผลงาน “สมุนไพรไทย ภูมิปัญญาไทย”และครูไพศาล เสนอผลงาน “การสร้างหุ่นยนต์ทำ�มือ” 11-13 ม.ค. 2553 :: ครู สควค. นำ�นักเรียนร่วมเข้าค่ายกล้วย...กล้วย 17 ก.ค. 2553 :: ชมรมครู สควค. ร่วมต้อนรับคณะนักศึกษา มหัศจรรย์พันธุ์ไม้แห่งมนุษยชาติ ณ บ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร นานาชาติที่ศึกษาที่ ม.ขอนแก่น ณ หมู่บ้านช้าง จังหวัดสุรินทร์
  • 3. ปีที่ 4 ฉบับที่ 14 เดือนมกราคม-มีนาคม 2553 วารสาร สควค. 3 สารบัญ หน้า 4 บทบรรณาธิการ ครูศักดิ์อนันต์ อนันตสุข E-mail :: anantasook@gmail.com สวัสดีครับ พีนองเพือนสมาชิกชมรมครู สควค. และ ่ ้ ่ ท่านผู้อ่าน “วารสาร สควค.” ทุกท่าน ขอแสดงความชื่ น ชมยิ น ดี กั บ ครู สุ พ รรณวดี เพชรเรียง (รุ่น9) ครูปรียาภรณ์ ทะพิงค์แก (รุ่น 7) และครู ไพศาล วงศ์กระโซ่ (รุ่น 11) ที่ได้รับรางวัลต่างๆ ซึ่งแสดง ให้เห็นว่า ครู สควค. ของเรา เป็นครูทมคณภาพ เป็นครูผสร้าง ี่ ี ุ ู้ สังคมแห่งการเรียนรูอย่างแท้จริงและได้ท�ให้เราได้เรียนรูวา ้ ำ ้่ ความสำ�เร็จเหล่านั้น เกิดจากความตั้งใจดีและความมุ่งมั่น ในการพัฒนานักเรียนจนประสบความสำ�เร็จ และความสำ�เร็จ ของนักเรียนก็จะส่งผลให้ครูได้รับความสำ�เร็จและมีความ ก้าวหน้าทางวิชาชีพต่อไป ผมมีความมันใจว่า เราสามารถนำ�สิงทีอยูรอบตัวเรา ่ ่ ่ ่ ภูมิปัญญาของบรรพชนเรา รวมถึงประเด็นทางวิทยาศาสตร์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น จริ ง ในสั ง คม มาใช้ เ ป็ น ประเด็ น หลั ก หรื อ เป็ น ตัวจุดประกายความสนใจให้เกิดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิ ต ศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ไ ด้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ผล งานของครู สควค. ในวารสารฉบับนี้ เป็นตัวอย่างที่ชัดเจน ซึ่งผู้สนใจสามารถนำ�ไปเป็นแนวทางปฏิบัติได้จริง ชมรมครู สควค. ขอเป็นกำ�ลังใจให้กับครู สควค. ทุกคนในการปฏิบัติงาน กองบรรณาธิการ เปิดรับบทความ จากทุกท่าน หากมีขอเสนอแนะประการใด ทีมงานขอน้อมรับ ้ ด้วยความยินดี - พระเศวตอดุลยเดชพาหนฯ พระยาช้างเผือก ประจำ�รัชกาลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว - วันสำ�คัญ บันทึกไทย : 13 มีนาคม วันช้างไทย 5 - การนำ�เทคโนโลยี Web 2.0 ไปประยุกต์ใช้ 6 กับการเรียนการสอนรูปแบบซิปปา เพื่อพัฒนา ทักษะการคิดสร้างสรรค์ - นวัตกรรมการเรียนรู้ : สมุนไพรไทย ภูมิปัญญาไทย 8 - นวัตกรรมการเรียนรู้ : การสร้างหุ่นยนต์ทำ�มือ 10 - ครู สควค.รักครอบครัว สูตรเติมรัก ทำ�ชีวิตให้มีสุข 12 - เรียนรู้ GSP ด้วยวิถีวัฒนธรรม 14 จากแหล่งเรียนรู้วัดพระบาทห้วยต้ม จังหวัดลำ�พูน - พระบรมราโชวาท / กิจกรรมพัฒนาเครือข่าย 16 และวิชาชีพครู สควค. ระดับ ป.โท ม.ขอนแก่น วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเป็นสื่อประชาสัมพันธ์ชมรมครูที่มีความ สามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี 2. เพื่ อ เป็ น เวที ใ นการแลกเปลี่ ย นความรู้ ทางวิชาการ ประสบการณ์การสอน การวิจัยในชั้นเรียน ในสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อพัฒนาการสอนของครูและการเรียนรู้ของผู้เรียน 3. เพือเผยแพร่ความรูทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ่ ้ และเทคโนโลยี ให้กว้างขวางและเป็นประโยชน์ต่อสังคม โดยไม่เกี่ยวข้องกับการเมือง บรรพชนคนสุรินทร์ จับพระยาช้างเผือกถวายพระเจ้าแผ่นดิน ขอเชิญเที่ยวงานช้างสุรินทร์ช่วงเดือนพฤศจิกายนของทุกปี ราว พ.ศ. 2302 (หรือ 2303 - 2304) พระยาช้างเผือกของพระที่นั่งสุริยามรินทร์ (พระเจ้าเอกทัศน์) ได้แตกโรงหนีจากกรุงศรีอยุธยามาทางทิศตะวันออกทรงโปรดเกล้าฯ ให้ สองพี่น้อง คุมไพร่พล 30 นายออกติดตามเอาพระยาช้างเผือกคืน จนถึงชาวส่วยแทรกโพนช้างบ้านกุดหวาย ครั้งนั้น หัวหน้าชาวส่วย (เชียงสี เชียงปุม เชียงฆะ เชียงขัน เชียงสง เชียงไชย) ได้ช่วยกันจับเอาพระยา ช้างเผือกถวายคืนกรุงศรีอยุธยา และได้รับปูนบำ�เหน็จความดีความชอบเป็นเจ้าเมืองปกครองคน ในชุมชนของตน (จากหนังสือประวัติมหาดไทยส่วนภูมิภาค จังหวัดสุรินทร์) ขอเชิญครูทุน สควค. ในภูมิภาคต่างๆ ส่งภาพข่าวที่เกี่ยวกับผลงานเด่นของตนเอง รวมถึงงานเขียน บทความเกี่ยวกับ การพัฒนาการเรียนการสอน ประสบการณ์การวิจย เพือเผยแพร่ ในวารสาร สควค. หรือเผยแพร่ในเว็บไซต์ www.krusmart.com ั ่ บทความในวารสาร สควค. เป็นความคิดเห็นและทัศนะของผู้เขียน ชมรมครู สควค. ไม่จำ�เป็นต้องเห็นด้วยเสมอไป
  • 4. 4 วารสาร สควค. ปีที่ 4 ฉบับที่ 14 เดือนมกราคม-มีนาคม 2553 เรื่องจากปก พระเศวตอดุลยเดชพาหนฯ พระยาช้างเผือกประจำ�รัชกาลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ขอขอบคุณข้อมูลจาก ไทยวิกิพีเดียพจนานุกรมเสรี http://th.wikipedia.org เรียบเรียงโดย ศักดิ์อนันต์ อนันตสุข มีความเชื่อแต่โบราณว่า “ช้างเผือก เป็นหนึ่งในแก้ว เจ็ดประการของกษัตริย์ ที่จะเป็นพระจักรพรรดิ ผู้มีพระราช อำ�นาจแผ่ไปไพศาล ยิ่งกว่าพระราชาทั้งปวง” พระเศวตอดุลยเดชพาหนฯ เป็นพระยาช้างเผือก ประจำ�รัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพลอดุลยเดช ิ เป็นช้างสำ�คัญในตระกูลพรหมพงศ์ จำ�พวกอัฏฐทิศ ชื่อ กมุท สีกายดังดอกกมุท หรือบัวสายแดง ได้รับพระราชทานนาม เต็มว่า “พระเศวตอดุลยเดชพาหน ภูมิพลนามนาคบารมี ทุติยเศวตกรีกมุทพรรโณภาส บรมกทลาสนวิศุทธวงศ์ สรรพมงคลลักษณคเชนทรชาต สยามราษฎรสวัสดิประสิทธิ์ รัตนกุญชรนิมิตบุญญาธิการ ปรมินทรบพิตรสารศักดิเลิศฟ้าฯ” พระเศวตอดุลยเดชพาหนฯ เป็นช้างพลายเผือกโท เกิ ด ในป่ า เขตจั ง หวั ด กระบี่ เมื่ อ ประมาณ พ.ศ. 2494 ถูกคล้องได้ที่ บ้านหนองจูด ตำ�บลดินอุดม อำ�เภอลำ�ทับ จังหวัดกระบี่ เมื่อ พ.ศ. 2499 โดยนายแปลก ฟุ้งเฟื่องและ นายปลื้มสุทธิเกิด (หมอเฒ่า) เป็นลูกช้างติดแม่อยู่ในโขลง ช้างป่า พร้อมกับช้างอื่นๆ อีก 5 เชือกคือ พังสาคร พลายทอง พังเพียร พังวิไล และพังน้อย โดยในตอนนันพระเศวตอดุลยเดช ้ พาหนฯ ได้ชื่อว่า “พลายแก้ว” มีความสูง 1.60 เมตร เมื่อ พระราชวังเมือง (ปุ้ย คชาชีวะ) ได้ตรวจสอบคชลักษณ์แล้ว พบว่าเป็นช้างสำ�คัญ จึงนำ�มาเลียงไว้ทสวนสัตว์ดสต เมือเดือน ้ ี่ ุิ ่ กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 พลโทบัญญัติ เทพหัสดิน ณ อยุธยา ประธานองค์การ สวนสั ต ว์ แ ห่ ง ประเทศไทยได้ นำ � ช้ า งพลายแก้ ว ขึ้ น ทู ล เกล้ า ทูลกระหม่อม ถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2501 เพื่อประกอบพิธีขึ้นระวางเป็น ช้างต้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ่ ั โปรดกระหม่ อ ม ให้ กำ � หนดพระราชพิ ธี ส มโภชขึ้ น ระวาง ช้ า งเผื อ กประจำ � รั ช กาล ณ โรงช้ า งต้ น พระราชวั ง ดุ สิ ต เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2502 เป็นปีที่ 13 ในรัชกาล ปัจจุบน พระเศวตอดุลยเดชพาหนฯ เติบโตขึนโดยการดูแลของ ั ้ องค์การสวนสัตว์ ที่สวนสัตว์ดุสิต และมีอาการดุร้ายมากขึ้น จนควาญช้างควบคุมไม่ได้ และเป็นที่เกรงกลัวของบุคคล ทั่วไป จนกระทั่งสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ มีพระราชเสาวณีย์ โปรดเกล้าฯ ให้น�พระเศวตอดุลยเดชพาหนฯ ำ เข้าไปยืนโรงในโรงช้างต้น ภายในพระตำ�หนักจิตรลดารโหฐาน เมื่อ พ.ศ. 2519 หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมชได้บันทึกไว้ว่า “ในขณะที่นำ�คุณพระจากสวนสัตว์ดุสิตไปยังสวน จิ ต รลดา ซึ่ ง เพี ย งแต่ มี ถ นนคั่ น อยู่ ส ายเดี ย วนั้ น คุ ณ พระ ก็ อ าละวาดอย่ า งหนั ก ไม่ ย อมออกเดิ น เอางวงยึ ด ต้ น ไม้ จนต้นไม้ล้ม จนแทบจะหมดปัญญาเจ้าหน้าที่...กว่าจะนำ� คุณพระจากเขาดินไปถึงประตูสวนจิตรลดา ซึ่งมองเห็นกัน แค่ นั้ น ก็ กิ น เวลาหลายชั่ ว โมง ต้ อ งใช้ ค นเป็ น จำ � นวนมาก ถือปลายเชือกที่ผูกไว้กับขาคุณพระทั้งสี่ขา คอยลากคอยดึง และดู เ หมื อ นจะต้ อ งใช้ ร ถแทรกเตอร์ เข้ า ช่ ว ยขนาบข้ า ง เสี่ยงอันตรายกันมากอยู่ แต่ในที่สุดก็นำ�คุณพระไปยังประตู พระราชวังได้...พอได้ ก้าวเท้าเข้าไปในบริเวณพระราชวัง คุณพระก็เปลี่ยนไปทันที จากความดุร้ายก็กลายเป็นความ สงบเสงี่ยม เดินอย่างเรียบร้อยไปสู่โรงช้างต้น และเข้าอยู่ อย่างสงบเรื่อยมา” ปัจจุบัน พระเศวตอดุลยเดชพาหนฯ ย้ายไปยืนโรง ณ โรงช้างต้น วังไกลกังวล อำ�เภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรขนธ์ ีั โดยเคลื่ อ นย้ า ยคุ ณ พระเศวตอดุ ล ยเดชพาหนฯ เมื่ อ วั น ที่ 17-18 มีนาคม พ.ศ. 2547 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำ�เนินทรงประกอบพระราชพิธสมโภชโรงช้างต้น ี เมื่อวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2547 และเนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงครองสิรราชสมบัตครบ 60 ปี ในปี พ.ศ. 2549 ทรงมีกระแส ิ ิ พระราชดำ�รัสให้จัดสร้าง คชาภรณ์ หรือเครื่องทรงช้างต้น ชุดใหม่ พระราชทานแก่พระเศวตอดุลยเดชพาหนฯ อีกด้วย
  • 5. ปีที่ 4 ฉบับที่ 14 เดือนมกราคม-มีนาคม 2553 วารสาร สควค. วันสำ�คัญ บันทึกไทย 5 13 มีนาคม วันช้างไทย ศักดิ์อนันต์ อนันตสุข สควค.รุ่น 6 ครู คศ.1 ร.ร.นารายณ์คำ�ผงวิทยา จ.สุรินทร์ คณะอนุกรรมการประสานงานการอนุรักษ์ช้างไทย ซึ่งเป็นหน่วยงานประสานงาน องค์การภาครัฐและเอกชน ทีท�งานเกียวกับการอนุรกษ์ชางไทย คณะกรรมการเอกลักษณ์ ่ ำ ่ ั ้ ของชาติ สำ�นักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี เห็นว่าวันที่ 13 มีนาคม ซึ่ ง เป็ น วั น ที่ ค ณะกรรมการคั ด เลื อ กสั ต ว์ ป ระจำ � ชาติ มี ม ติ ให้ช้างเผือกเป็นสัตว์สัญลักษณ์ของประเทศไทยนั้นมีความ เหมาะสมทีจะกำ�หนดให้เป็นวันช้างไทย จึงได้น�เสนอมติเข้าสู่ ่ ำ คณะรัฐมนตรี โดยได้รับการสนับสนุนจากกระทรวงเกษตร และสหกรณ์อีกทางหนึ่ง ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อ วันที่ 26 พฤษภาคม 2541 เห็นชอบให้ วันที่ 13 มีนาคมของทุกปี เป็นวันช้างไทย และได้ประกาศสำ�นักนายกรัฐมนตรีลงใน ราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม 2541 ทั้งนี้ เพื่อให้คนไทยได้ตระหนักถึงความสำ�คัญ และการดำ�รงอยู่ ของช้างไทย หันมาสนใจช้าง รักช้าง หวงแหนช้าง ให้ความ ช่วยเหลืออนุรักษ์ช้างมากขึ้น ผลจากการที่ ป ระเทศไทยมี วั น ช้ า งไทยเกิ ด ขึ้ น นับเป็นการยกย่องให้เกียรติว่าเป็นสัตว์ที่มีความสำ�คัญอีกครั้ง นอกเหนือจากเกียรติที่ช้างเคยได้รับ อาทิเช่น - เป็นสัตว์คู่บารมีขององค์พระมหากษัตริย์ ช้างเผือก ได้รับการยกย่องเสมือนเจ้านายชั้นเจ้าฟ้า - สมั ย พระบาทสมเด็ จ พระพุ ท ธเลิ ศ หล้ า นภาลั ย รัชกาลที่ 2 สยามประเทศใช้ธงชาติเป็นรูปช้างเผือก - สมัยพระนเรศวรมหาราช ทรงชนะการทำ�ยุทธหัตถี กับพระมหาอุปราชา แห่งหงสาวดี โดยช้างทรงในสมเด็จ พระนเรศวรนับว่าเป็นช้างไทยที่ได้รับเกียรติอันสูงสุด ได้รับ พระราชทานยศให้เป็นถึง “เจ้าพระยาปราบหงสาวดี” - ช้างคือพาหนะสำ�คัญที่อัญเชิญพระพุทธมณีรัตน ปฏิมากร (พระแก้วมรกต) มาสถิตย์ ณ วัดพระศรีรตนศาสดาราม ั - งานพระราชพิ ธี ต่ า งๆ อาทิ พระราชพิ ธี เ ฉลิ ม พระชนมพรรษา งานพระราชพิ ธี ฉั ต รมงคลหรื อ งาน พระราชทานงานเลี้ยงเพื่อเป็นเกียรติแก่พระราชอาคันตุกะ หรื อ ประมุ ข ของต่ า งประเทศที่ พ ระที่ นั่ ง จั ก รี ม หาปราสาท จะต้องนำ�ช้างเผือกแต่งเครื่องคชาภรณ์ไปยืนที่แท่นเกยช้าง ด้านตะวันตกของพระที่นั่งดุสิตาภิรมย์ในพระบรมมหาราชวัง เพื่อประกอบพระเกียรติยศ - ใช้ในการคมนาคมและการทำ�อุตสาหกรรมป่าไม้ในอดีต ศู น ย์ ก ารเรี ย นรู้ วิ ท ยาศาสตร์ คณิ ต ศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยี โดยทุนสนับสนุนจากสำ�นักงานเลขาธิการคุรุสภา ได้กำ�หนดจัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ สร้างชุดการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ท้องถิ่น เรื่อง สุรินทร์ ถิ่นช้างใหญ่ เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2552 และคณะทำ�งานได้ลงพื้นที่เก็บข้อมูล ณ ศูนย์ คชศึกษา บ้านตากลางและวัดป่าอาเจียง เมื่อวันที่ 4 มกราคม 2553 และได้ดำ�เนินการจัดทำ�ชุดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ท้องถิ่น เรื่อง “สุรินทร์ ถิ่นช้างใหญ่” สำ �หรับการเรียนรู้ ด้วยตนเอง ประกอบด้วย 7 บทเรียน จำ�นวน 32 หน้า ดังนี้ - บทที่ 1 ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับหมู่บ้านช้าง - บทที่ 2 ธรรมชาติและเผ่าพันธุ์ของช้าง - บทที่ 3 อาหาร และยาสมุนไพรของช้าง - บทที่ 4 พิธีกรรมและความเชื่อเกี่ยวกับช้าง - บทที่ 5 ประเพณีและความผูกพันของคนกับช้าง - บทที่ 6 ภูมิปัญญาในการเลี้ยงชาวของชาวกูย - บทที่ 7 การอนุรักษ์ช้างสุรินทร์ สุรินทร์มีแหล่งท่องเที่ยวสำ�คัญที่เกี่ยวกับช้าง คือ หมู่บ้านช้าง บ้านตากลาง บ้านกระโพและบ้านศาลา ตำ�บล กระโพ อำ�เภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ ในหมู่บ้านช้างมีชาว ไทยกูย (กวย) หรือส่วย เลี้ยงช้างเป็นเพื่อน เหมือนญาติ พี่น้องในครอบครัว ชาวไทยกูยสืบทอดวัฒนธรรมการจับฝึก และบังคับช้างจากบรรพบุรุษตามตำ�นานคชศาสตร์ท้องถิ่น ซึ่งไม่ได้เขียนไว้เป็นลายลักษณ์อักษร เรียนรู้จากการถ่ายทอด จดจำ�กันมา การดำ�เนินการครังนี้ จึงนับได้วามีสวนช่วยสืบสาน ้ ่ ่ ภูมิปัญญาของบรรพชน คนเลี้ยงช้าง จังหวัดสุรินทร์ ผู้สนใจ ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ www.anantasook.com
  • 6. 6 วารสาร สควค. ผลงานวิจัยครู สควค. ปีที่ 4 ฉบับที่ 14 เดือนมกราคม-มีนาคม 2553 การนำ�เทคโนโลยี Web 2.0 ไปประยุกต์ใช้ กับการเรียนการสอนรูปแบบซิปปา เพื่อพัฒนาทักษะการคิดสร้างสรรค์ เจนจิรา แสนไชย สควค. รุ่น 6 ครู คศ.1 ร.ร.ราชประชานุเคราะห์ 27 จ.หนองคาย ที่มาและความสำ�คัญ จากการจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นการสอน วิ ช า คอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ ของนักเรียนชั้น ม.5/3 โรงเรียน ราชประชานุเคราะห์ 27 จังหวัดหนองคาย พบว่า นักเรียน ยังขาดทักษะกระบวนการคิด การคิดอย่างสร้างสรรค์ และขาด ทักษะกระบวนการกลุ่ม ขาดความกระตือรือร้นในการเรียน ซึ่งส่งผลให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตํ่า ผู้วิจัยจึงเห็นว่าจะต้องมีการพัฒนารูปแบบการสอน ที่เ น้น ผู้ เรี ย นเป็ น สำ � คั ญเพื่อให้นัก เรียนได้สร้างองค์ค วามรู้ ที่คงทนด้วยตนเอง จึงสนใจที่จะพัฒนากิจกรรมการเรียน การสอน โดยนำ�เทคโนโลยี web 2.0 ไปประยุกต์ใช้กบการเรียน ั การสอนรูปแบบซิปปา ซึ่งคาดว่าจะช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียน เกิดการเรียนรู้ที่มีความหมาย สามารถสร้างและค้นพบความ รู้ ด้ ว ยตนเอง ส่ ง เสริ ม การมี ป ฏิ สั ม พั น ธ์ กั บ ผู้ อื่ น ได้ พั ฒ นา ทักษะกระบวนการกลุ่ม มีการจัดทำ�และบันทึกข้อมูลความรู้ ผ่านเว็บไซต์ เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับบุคคลที่สนใจร่วมกัน โดยการสอบถามและเพิ่มเติมความรู้ใหม่ได้ ซึ่งสอดคล้องกับ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 66 ที่ ผู้ เรี ย นมี สิ ท ธิ ไ ด้ รั บ การพั ฒ นาขี ด ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยีเพือการศึกษา ในโอกาสแรกทีท�ได้ เพือให้มความรู้ ่ ่ ำ ่ ี และทักษะเพียงพอที่จะใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในการ แสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต การสอนด้วยรูปแบบซิปปา (CIPPA MODEL) ของ ทิศนา แขมมณี ที่นำ�มาประยุกต์ใช้จัดกิจกรรมการเรียนการ สอนครั้งนี้ มีขั้นตอนดังนี้ 1. ขั้นทบทวนความรู้เดิม เป็นการดึงความรู้ของ ผู้เรียนให้มีความพร้อมในการเชื่อมโยงความรู้ใหม่กับความรู้ เดิมของตน 2. ขั้นแสวงหาความรู้ใหม่ เป็นการแสวงหาข้อมูล ความรู้ใหม่ที่ผู้เรียนยังไม่มีจากแหล่งข้อมูลหรือแหล่งความรู้ ต่ า งๆ ซึ่ ง ครู อ าจเตรี ย มมาให้ ห รื อ ให้ คำ � แนะนำ � เกี่ ย วกั บ แหล่งข้อมูลต่างๆ เพื่อให้ผู้เรียนไปแสวงหาก็ได้ 3. ขั้ น การศึ ก ษาทำ � ความเข้ า ใจความรู้ ใ หม่ และ เชื่อมโยงกับความรู้เดิม ผู้เรียนต้องสร้างความหมายของข้อมูล ประสบการณ์ใหม่ๆ โดยใช้กระบวนการต่างๆ ด้วยตนเอง เช่น ใช้กระบวนการคิด และกระบวนการกลุ่มในการอภิปราย และสรุ ป ผลความเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ ข้ อ มู ล นั้ น ซึ่ ง ต้ อ งอาศั ย การเชื่อมโยงความรู้เดิม มีการตรวจสอบความเข้าใจต่อตนเอง หรือกลุ่ม โดยครูใช้สื่อและยํ้ามโนมติในการเรียนรู้ 4. ขั้ น การแลกเปลี่ ย นความรู้ ค วามเข้ า ใจกั บ กลุ่ ม เป็นขั้นที่ผู้เรียนอาศัยกลุ่มเป็นเครื่องมือ ในการตรวจสอบ ความรู้ความเข้าใจของตนเอง ขยายความรู้ความเข้าใจของตน ให้กว้างขึ้น 5. ขั้นการสรุปและจัดระเบียบความรู้ จัดสิ่งที่เรียนรู้ ให้เป็นระบบระเบียบ เพื่อช่วยให้จดจำ�สิ่งที่เรียนรู้ได้ง่าย 6. ขั้ น การแสดงผลงาน เป็ น ขั้ น ที่ ช่ ว ยให้ ผู้ เรี ย น ได้มีโอกาสได้แสดงผลงานการสร้างความรู้ของตนเองให้ผู้อื่น รับรู้ ช่วยให้ผู้เรียนตอกยํ้า หรือตรวจสอบ เพื่อช่วยให้จดจำ� สิ่งที่เรียนรู้ได้ง่าย 7. ขั้นประยุกต์ใช้ความรู้ เป็นการส่งเสริมให้ผู้เรียน ได้ฝึกฝนการนำ�ความรู้ ความเข้าใจของตนเองไปใช้ในสถานการณ์ ต่างๆ ที่หลากหลายเพื่อเพิ่มความชำ�นาญ ความเข้าใจ วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ ซิปปาที่ประยุกต์ใช้เทคโนโลยี web 2.0 ให้มีประสิทธิภาพ 80/80 2. เพิมค่าเฉลียคะแนนผลสัมฤทธิทางการเรียนให้สง ่ ่ ์ ู กว่าร้อยละ 80 3. เพือเพิมค่าเฉลียคะแนนทักษะความคิดสร้างสรรค์ ่ ่ ่ ให้สูงกว่าระดับดีขึ้นไป ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียน ราชประชานุเคราะห์ 27 จังหวัดหนองคาย ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/3 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 27 จังหวัดหนองคาย ที่เรียน ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 จำ�นวน 13 คน ซึ่งได้จาก การสุ่มแบบเจาะจง (Purposive Sampling)
  • 7. ปีที่ 4 ฉบับที่ 14 เดือนมกราคม-มีนาคม 2553 วารสาร สควค. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1. รูปแบบการเรียนการสอน เป็นการประยุกต์การสอน รูปแบบซิปปาร่วมกับเทคโนโลยี web 2.0 ทั้งนี้ผู้วิจัยได้ศึกษา เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง วิเคราะห์และสร้างต้นแบบ รู ป แบบการเรี ย นการสอนและผ่ า นการตรวจสอบจาก ผู้เชี่ยวชาญ 3 คน 2. แผนการจัดการเรียนรูทประยุกต์การสอนรูปแบบ ้ ี่ ซิปปาร่วมกับเทคโนโลยี web 2.0 เรื่องการใช้งานโปรแกรม Flash จำ�นวน 12 ชั่วโมง 3. แบบทดสอบเพื่อใช้วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การใช้งานโปรแกรม Flash จำ�นวน 40 ข้อ 40 คะแนน 4. แบบประเมินทักษะความคิดสร้างสรรค์การสร้าง ชิ้นงาน 5. แบบสอบถามความพึ ง พอใจของนั ก เรี ย นต่ อ รูปแบบการเรียนการสอนคอมพิวเตอร์ โดยประยุกต์การสอน รูปแบบซิปปาร่วมกับเทคโนโลยี web 2.0 การดำ�เนินการวิจัย 1. สอนตามรูปแบบ การประยุกต์การสอนรูปแบบ ซิปปาร่วมกับเทคโนโลยี web 2.0 กับนักเรียนชั้น ม. 5/3 ในระหว่างเรียนให้นกเรียนทำ�ข้อสอบวัดผลสัมฤทธิทางการเรียน ั ์ และสร้างชิ้นงาน จากนั้นนำ�ชิ้นงานไปนำ�เสนอผ่านเทคโนโลยี web 2.0 แล้วให้รุ่นน้อง เพื่อนๆ และครู ร่วมกันให้คะแนน ความคิดสร้างสรรค์ผ่าน web 2.0 นำ�คะแนนที่ได้จากการ ทดสอบและคะแนนจากการประเมิ น ความคิ ด สร้ า งสรรค์ ของชิ้นงานไปหาค่า E1 2. นักเรียนทำ�ข้อสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จากนั้นนำ�คะแนนที่ได้จากการทดสอบและคะแนนจากการ ประเมินความคิดสร้างสรรค์ของชิ้นงานชิ้นสุดท้าย จากการให้ คะแนนของครูและเพื่อนๆ ผ่าน web 2.0 ไปหาค่า E2 3. น�คะแนนมาวิเคราะห์หาค่า E1/E2 ตรวจสอบว่า ำ มีประสิทธิภาพมากกว่า 80/80 หรือไม่ 4. สอบถามความพึงพอใจ 5. วิเคราะห์หาร้อยละของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ค่าเฉลียคะแนนทักษะความคิดสร้างสรรค์ และวิเคราะห์ระดับ ่ ความพึงพอใจด้วยสถิติพรรณนา ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน 7 ผลการศึกษา ได้รูปแบบการจัดการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ 82.42/82.51, ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยเท่ากับร้อยละ 81.25, ค่าเฉลี่ยคะแนนทักษะความคิดสร้างสรรค์ อยู่ใน ระดับดีขึ้นไป, นักเรียนพึงพอใจต่อรูปแบบในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.62 ส่วนเบี่ยงเบน 0.28) นอกจากนี้ ยังพบว่า นักเรียนมีความกระตือรือร้นและมีความสุขในการเรียนมากขึน ้ ข้อเสนอแนะ 1. ขณะจั ด การเรี ย นรู้ ผู้ ส อนควรเพิ่ ม เติ ม เนื้ อ หา ในบทเรียนให้มาก เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้เพียงพอและจำ�เป็น สำ�หรับการสืบค้นความรู้เพิ่มเติม 2. ในการจัดการเรียนรู้ นักเรียนและครูควรมีการ บันทึกอนุทินทุกครั้ง เพื่อเป็นร่องรอยหลักฐานในการทำ�งาน และแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในระหว่างการจัดการเรียนการสอน ตัวอย่างผลงานของนักเรียนในบล็อก (เทคโนโลยีเว็บ 2.0) ตัวอย่างผลงานการใช้ Social Media ในการจัดการเรียนรู้ 14 มีนาคม วันคณิตศาสตร์โลก นักคณิตศาสตร์ได้ตกลงกันให้วันที่ 14 เดือน 3 ของทุกปี เป็นวันคณิตศาสตร์โลก (World Math Day) เนื่องจากว่าวันนี้เป็นวันที่มีการ ค้นพบค่าของ (Pi) ซึ่งไม่ทราบว่าเป็นความตั้งใจหรือความบังเอิญที่ pi มีค่าเท่ากับ 3.14 (วันที่ 14 เดือน 3) บางครั้งเราเรียกวันนี้ว่า “Pi Day” และวันนี้ตรงกับวันเกิดของอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ (Albert Einstein : ค.ศ. 1879-1955) ด้วย เป็นจำ�นวนอตรรกยะ ที่เขียนเป็นทศนิยมจะเป็นทศนิยมแบบไม่รู้จบที่ไม่ซํ้า แต่กำ�หนดใช้ค่าเท่ากับ 3.14 (หรือ 22/7) pi=3.14159265358979323846264338327950284197169…ผู้สนใจเกี่ยวกับค่า pi คลิกเข้าไปดูที่ www.piday.org เป็นเว็บไซต์ ที่สร้างขึ้นมาเพื่อค่า pi โดยเฉพาะ จะมีข้อมูลที่เป็นประโยชน์มากมาย...น่าเสียดายที่วันนี้ไม่ได้อยู่ในช่วงเปิดเรียนปกติ เพราะจะได้ถือเป็นโอกาส ในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้สำ�หรับนักเรียนได้ แต่ครูคณิตศาสตร์ก็อาจใช้วันที่ 22 เดือน 7 แทนได้
  • 8. 8 วารสาร สควค. ปีที่ 4 ฉบับที่ 14 เดือนมกราคม-มีนาคม 2553 นวัตกรรมการเรียนรู้ สมุนไพรไทย ภูมิปัญญาไทย ปรียาภรณ์ ทะพิงค์แก สควค. รุ่น 7 ครู คศ.1 ร.ร.บ้านสันป่าสัก จ.เชียงใหม่ นวัตกรรมการเรียนรู้ของครู สควค. ฉบับนี้ เรามีต้นแบบผลงานด้านเทคโนโลยีทางการศึกษาของ สควค. 2 คน คือ นางสาว ปรียาภรณ์ ทะพิงค์แก และนายไพศาล วงศ์กระโซ่ มานำ�เสนอต่อทุกท่าน ซึงนวัตกรรม 2 รายการ ได้รบรางวัลชนะเลิศระดับประเทศ ่ ั จากโครงการ “Thailand Innovative Teachers Leadership Awards 2010” ที่จัดโดยบริษัท ไมโครซอฟท์ (ประเทศไทย) จำ�กัด ร่วมกับกระทรวงศึกษาธิการ และเป็น 2 ใน 10 ตัวแทนประเทศไทย เดินทางไปเข้าร่วมการประชุมและนำ�เสนอผลงาน เข้าประกวดระดับภูมภาคเอเชีย-แปซิฟก ในงาน “6th Asia Pacific Regional Innovative Education Forum 2010” ณ ประเทศ ิ ิ สิงคโปร์ ระหว่างวันที่ 8-12 มีนาคม 2553 ที่ผ่านมา ซึ่งมีครูในเอเชีย-แปซิฟิกจาก 15 ประเทศได้รับการคัดเลือกให้เข้าร่วมงานรวม จำ�นวนกว่า 200 คน อาทิ สิงคโปร์ ออสเตรเลีย ญี่ปุ่น เวียดนาม นิวซีแลนด์ อินโดนีเซีย แคนาดา ฟิลิปปินส์ ศรีลังกา บังกลาเทศ บรูไน มาเลเซีย เกาหลีใต้ และไทย กองบรรณาธิการขอร่วมแสดงความชื่นชมยินดีในความสามารถ และขอแบ่งปันประสบการณ์ ของความสำ�เร็จแก่เพื่อนร่วมวิชาชีพทุกคน เมื่อปี พ.ศ. 2549 อำ�เภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ เป็น สถานที่ในการจัดงานมหกรรมพืชสวนโลกเฉลิมพระเกียรติฯ ราชพฤกษ์ 2549 ซึ่งมีการจัดแสดงพันธุ์ไม้นานาชนิด หลังจาก มหกรรมพืชสวนโลกจัดแสดงประมาณ 1 เดือน สพท. เชียงใหม่ เขต 4 มีแนวคิดที่จะเก็บองค์ความรู้ไว้เพื่อให้เป็นประโยชน์ ในการศึ ก ษาของนั ก เรี ย น จึ ง ได้ ใ ห้ ง บประมาณส่ ว นหนึ่ ง แก่โรงเรียนนำ�นักเรียนเข้าไปทัศนศึกษา เก็บข้อมูล สร้างองค์ ความรู้ และพัฒนานวัตกรรมเพื่อนำ�เสนอองค์ความรู้เหล่านั้น โดยโรงเรี ย นบ้ า นสั น ป่ า สั ก ได้ รั บ มอบหมายให้ เข้ า ไปเก็ บ รวบรวมองค์ความรู้ที่สวนสมุนไพร นายพิกด ขัตพนธุ์ ผูอ�นวยการโรงเรียนบ้านสันป่าสัก ั ิ ั ้ำ จึ ง ได้ ป ระชุ ม ครู ซึ่ ง ประกอบด้ ว ยนางวั ล ลภา พรมท้ า ว ครูผู้สอนวิทยาศาสตร์ และนางสาวปรียาภรณ์ ทะพิงค์แก ครูผู้สอนเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้ร่วมกันวางแผนในการจัด แผนการเรียนรู้ วิธีการรวบรวมองค์ความรู้และเทคโนโลยี สำ�หรับการเผยแพร่องค์ความรู้ โดยครูผู้สอนวิทยาศาสตร์ จะเน้นให้นักเรียนได้รับความรู้เกี่ยวกับพืชสมุนไพร ส่วนครู ผู้ส อนเทคโนโลยี จะเน้นให้นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับการ แก้ปญหาโดยใช้สารสนเทศ (Information problem-solving) ั จากนั้นจึงนำ�นักเรียนชั้น ม.1-3 เข้าศึกษาแหล่งเรียนรู้ในงาน มหกรรมพืชสวนโลกเฉลิมพระเกียรติฯ ราชพฤกษ์ 2549 แล้วนักเรียนจึงใช้กระบวนการเทคโนโลยีสนเทศในการสร้าง และเผยแพร่องค์ความรู้สมุนไพรไทย และภูมิปัญญาไทยจาก แหล่งเรียนรู้ จึงทำ�ให้มีเว็บไซต์สวนสมุนไพร (http://www. sps-school.com/herbal) เกิดขึ้น ปีการศึกษา 2552 ผู้เขียนซึ่งเป็นครูผู้สอนเทคโนโลยี สารสนเทศ เห็นว่าเว็บไซต์สวนสมุนไพรยังคงเป็นแหล่งเรียนรู้ ที่ดีสำ�หรับนักเรียน จึงได้จัดแผนการเรียนรู้ให้นักเรียนรุ่น ปัจจุบัน เรียนรู้การแก้ปัญหาโดยใช้สารสนเทศและเพิ่มขีด ความสามารถของเว็บไซต์ให้นักเรียนสามารถเพิ่มองค์ความรู้ ได้เอง จนเกิดเว็บไซต์องค์ความรู้สมุนไพรไทย ภูมิปัญญาไทย ในเวอร์ชั่นปัจจุบัน โดยมีการจัดกระบวนการเรียนรู้ดังนี้ 1) ครู นำ � เข้ า สู่ บ ทเรี ย นโดยเล่ า ถึ ง เรื่ อ งภู มิ ปั ญ ญา ไทย แล้วให้นักเรียนช่วยกันเสนอเรื่องเกี่ยวกับภูมิปัญญาไทย ในท้องถิ่นของนักเรียน เป็นขั้นตอนในการ Brainstorm 2) นักเรียนเข้าเว็บไซต์สวนสมุนไพรไทย แล้วเชือมโยง ่ เข้ากับภาระงาน 3) นั ก เรี ย นทำ � ใบงาน “สื บ เสาะสมุ น ไพรไทย ภูมิปัญญาไทย” ซึ่งระบุให้นักเรียน ไปถ่ายรูปสมุนไพรที่บ้าน นักเรียน จากนันใช้การแก้ปญหาโดยใช้สารสนเทศในการสร้าง ้ ั องค์ความรู้ของนักเรียนเอง 4) นักเรียนศึกษาวิธีการเผยแพร่องค์ของความรู้ของ นักเรียนจากเว็บไซต์ http://www.sps-school.com/herbel ซึ่งเป็นเว็บไซต์ที่ใช้เทคโนโลยี Web 2.0 โดยครูคอยชี้แนะและ ให้คำ�ปรึกษา จากนั้นนักเรียนปฏิบัติการเผยแพร่องค์ความรู้ ของนักเรียนลงในเว็บไซต์ดังกล่าว ซึ่งนักเรียนจะเห็นผลงาน ทั้งของตัวเอง และเพื่อน ทำ�ให้เป็นส่วนกระตุ้นให้นักเรียน พัฒนาผลงานของตนเองให้ดียิ่งขึ้น 5) นักเรียนและครูร่วมกันสรุปเกี่ยวกับขั้นตอนการ แก้ปัญหาโดยใช้สารสนเทศ
  • 9. ปีที่ 4 ฉบับที่ 14 เดือนมกราคม-มีนาคม 2553 วารสาร สควค. 9 กระบวนการจั ด การเรี ย นรู้ ดั ง กล่ า วทำ � ให้ นั ก เรี ย น ได้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริง โดยใช้เรื่องรอบตัวมาผสมผสาน กับการใช้เทคโนโลยี Web 2.0 แล้วใช้กระบวนการแก้ปัญหา โดยใช้ เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศ ซึ่ ง จะเน้ น การใช้ เ ทคโนโลยี สารสนเทศเป็นเครื่องมือในการค้นหา รวบรวม สังเคราะห์ นำ�เสนอ และประเมินผลสารสนเทศ มาพัฒนาทักษะทางด้าน คอมพิวเตอร์ ที่จะติดตัวกับนักเรียนตลอดไป การสร้ า งนวั ต กรรมนี้ เกิ ด ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า ง นักเรียนและผู้ปกครอง ตลอดจนคนในชุมชน โดยใช้แหล่ง เรี ย นรู้ ที่ บ้ า นหรื อ ชุ ม ชนของนั ก เรี ย นเป็ น สถานที่ ถ่ า ยรู ป สมุนไพร เข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องในการสืบเสาะหาความรู้ของ นั ก เรี ย น เนื่ อ งจากพื ช สมุ น ไพรบางชนิ ด ที่ นั ก เรี ย นไม่ รู้ จั ก นักเรียนต้องถามจากผู้รู้ อาจจะเป็น พ่อ แม่ หรือ คนเฒ่า คนแก่ ที่อยู่บริเวณนั้น เป็นการสืบสานผู้ปัญญาไทยจากรุ่น สู่รุ่น ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากผู้ปกครอง และคนในชุมชน เป็นอย่างดี ที่จะให้ความรู้แก่นักเรียน อีกทั้งยังช่วยกระตุ้น ให้นักเรียนเกิดความภูมิใจในความเป็นไทยอีกด้วย สำ�หรับการนำ�เสนอผลงานทีประเทศสิงคโปร์นน คณะ ่ ั้ กรรมการจะตัดสินคัดเลือกผลงานประเทศละ 1 คน เพือเข้าร่วม ่ ประชุม “Worldwide Innovative Teachers Leadership Forum” ที่เมืองเคปทาวน์ ประเทศแอฟริกาใต้ ในเดือน ตุลาคม 2553 ซึงผลปรากฏว่า ครูรงกานต์ วังบุญ จากโรงเรียน ่ ุ่ ปรินส์รอแยลล์วิทยาลัย จ.เชียงใหม่ ได้รับคัดเลือกให้เป็น ตัวแทนประเทศไทย เข้าร่วมงานดังกล่าว โครงการ Microsoft Innovative Teachers Leadership Awards จัดมาแล้ว 6 ปีด้วยกันและเบื้องต้น จะจัดต่อเนื่องไปอีก 4 ปี จึงขอเชิญชวนครูไทย โดยเฉพาะครู สควค. ทีมนวัตกรรมการเรียนการสอนทีดๆ ได้น�มาประกวดกัน ่ี ่ี ำ ซึ่งจากการเข้าร่วมการประกวดและเข้าร่วมการประชุมระดับ นานาชาติ นั้ น ข้ า พเจ้ า ได้ รั บ ความรู้ แ ละประสบการณ์ ที่ ดี มิตรภาพจากเพื่อนครูด้วยกัน เทคนิควิธีการสอนในระดับ โลก เพราะครูทกคนจะต้องเตรียมรับการปรับเปลียนการเรียน ุ ่ การสอนให้เข้ากับศตวรรษที่ 21 ซึ่งจะได้นำ�ความรู้มาพัฒนา การเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป Microsoft Innovative Teachers Leadership Awards นายชิณวรณ์ บุญยเกียรติ รมว.ศธ. กล่าวว่า การ ศึกษาในยุคปัจจุบัน เป็นการศึกษาในโลกยุคโลกาภิวัตน์ ที่ ใช้ เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศเป็ น เครื่ อ งมื อ ในการเรี ย น การสอน และเพื่อประโยชน์ในการเรียนรู้ตลอดชีวิต จึงมี ความจำ�เป็นอย่างยิ่งสำ�หรับทุกคน โครงการในวันนี้ทำ�ให้ เห็นว่า ครูและนักเรียนประสบความสำ�เร็จและมีความ ก้ า วหน้ า ในเรื่ อ งการพั ฒ นาเทคโนโลยี แ ละสารสนเทศ ตามลำ�ดับ นอกจากนี้ นโยบายของ ศธ. ได้ยกระดับการ สือสารและการใช้เทคโนโลยีเป็นวาระแห่งชาติ (National ่ Education Network หรือ Ned Net) ซึ่งจะมีการลงทุน เป็นจำ�นวนหมื่นล้านบาท เพื่อสร้างโครงสร้างพื้นฐาน ฮาร์ ด แวร์ ซอฟต์ แวร์ และสร้ า งระบบ Interactive เพื่อใช้ในการเรียนรู้ระหว่างนักเรียนกับครู สำ�หรับการ ปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง คุณสมบัติของครูผู้สมัคร เป็นครู ระดับประถมศึกษา หรือมัธยมศึกษา ที่สอนในทุกกลุ่มสาระวิชา เป็นครูหัวใจไอที ที่มีผลงาน ของตนเอง ในการสร้างสรรค์ และนำ�เทคโนโลยีสารสนเทศ เข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารการศึกษา และหรือการ สอนทุกสาระการเรียนรู้ มีผลต่อการพัฒนาการศึกษาไทย ต่อเพื่อนครูและนักเรียน และวงการการศึกษาไทย หลักเกณฑ์ในการตัดสิน 100 คะแนน มีแนวคิดการสร้างสรรค์ผลงาน ในการบูรณาการ แผนการสอนร่วมกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือความเป็น นวัตกรรมใหม่ โดยมีเทคนิคการนำ�เสนอที่ดีและน่าสนใจ ผู้สนใจดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ www.pil.in.th
  • 10. 10 วารสาร สควค. ปีที่ 4 ฉบับที่ 14 เดือนมกราคม-มีนาคม 2553 นวัตกรรมการเรียนรู้ การสร้างหุ่นยนต์ทำ�มือ (Handmade Robots) ไพศาล วงค์กระโซ่ สควค. รุ่น 11 ครู คศ.1 ร.ร.หนองสูงสามัคคีวิทยา จ.มุกดาหาร นวัตกรรมเรือง การสร้างหุนยนต์ท�มือ (Handmade ่ ่ ำ Robots) ที่ได้รับรางวัลชนะเลิศระดับประเทศจากโครงการ “Thailand Innovative Teachers Leadership Awards 2010” มีรายละเอียดในแต่ละประเด็น ดังนี้ 1. เป็นผลงาน ที่ใช้ในกลุ่มสาระ และช่วงชั้นใด เป็นผลงานในวิชากิจกรรมชุมนุมหุ่นยนต์ กลุ่มสาระ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 3 และ 4 2. วัตถุประสงค์หรือผลสัมฤทธิ์ของการเรียนรู้ เพื่ อ พั ฒ นาทั ก ษะกระบวนการของนั ก เรี ย นที่ มี ความสนใจ และต้องการที่จะเรียนรู้ในเรื่องหุ่นยนต์ ได้แก่ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ กลศาสตร์ การประยุกต์ใช้โปรแกรม ช่วยในงานออกแบบ การประดิษฐ์ และงานช่าง เป็นต้น 3. จุดเด่นของผลงาน หรือกิจกรรมการเรียนรู้ นักเรียนจะได้เรียนรูตามหลักทฤษฏี constructionism ้ คือ นักเรียนเรียนรูจากการทำ�ชินงาน โครงการในสิงทีตนสนใจ ้ ้ ่ ่ ซึ่งนักเรียนต้องสร้างชิ้นงานของตนเองอย่างน้อย 1 ชิ้นงาน หรือ 1 กลุ่มต่อชิ้นงาน ถ้าเป็นงานในลักษณะที่ซับซ้อนขึ้นมา โดยที่นักเรียนคิดเอง สร้างเองด้วยตนเองโดยอิสระ จากการ เรียนตามกระบวนการเรียนรู้ (learning process) ที่ผู้สอน สร้างขึ้น โดยการเน้นเอา CAD มาช่วยในการสร้างชิ้นงาน 4. กลวิธีการสอน มีความเป็นนวัตกรรม อย่างไร ในวิชานี้นักเรียนทุกคนต้องมีชิ้นงานส่งครูอย่างน้อย 1 ชิ้นงาน ดังนั้น นักเรียนทุกคนต้องเรียนรู้ตามขั้นตอนคือ ต้องสืบค้นหาข้อมูล แนวคิดเกี่ยวกับชิ้นงานของตนอย่างเป็น ระบบ เมื่อได้แนวคิดแล้ว เขาจะนำ�แนวคิดนั้นมาเสนอครูก่อน ถ้าครูอนุมัติ นักเรียนก็จะร่างแบบหุ่นยนต์ลงในกระดาษ และ ใช้ซอฟแวร์เพือจำ�ลองการทำ�งานว่าเมือสร้างจริง แบบทีรางไว้ ่ ่ ่่ สามารถทำ � งานได้ จ ริ ง อย่ า งที่ คิ ด ไว้ ห รื อ ไม่ โปรแกรมที่ ใช้ ก็ได้แก่ Linkage mechanism simulator และ crocodile technology 3d ซึงนักเรียนสามารถศึกษาจากคูมอการใช้งาน ่ ่ื ที่ผู้เขียนได้จัดทำ�ขึ้น เมื่อจำ�ลองการทำ�งานแล้วเขาจะต้อง ใช้ CAD มาช่วยในการสร้างโมเดลเสมือนจริง โปรแกรมที่ใช้ ได้แก่ Microsoft office 2007 และ CADstd Lite โดยนักเรียน สามารถศึกษาจากคู่มือการใช้โปรแกรมช่วยในการออกแบบ ที่ได้จัดทำ�ขึ้น จากนั้นเขาจะลงมือทำ�หุ่นยนต์ตามแบบที่ร่างไว้ โดยต้องใช้ทักษะต่างๆ มากมายในการทำ�ชิ้นงาน เช่น ทักษะ ทางช่าง การประดิษฐ์ การเลือกวัสดุที่ใช้ รวมถึงงบประมาณ เมื่อทำ�หุ่นยนต์แล้วนักเรียนต้องทดสอบและปรับปรุงหุ่นยนต์ ให้ดีขึ้นจนกว่าจะพอใจ จากนั้นนักเรียนจะจัดทำ�คู่มือการทำ� หุ่นยนต์นั้น เพื่อเผยแพร่ต่อผู้ที่สนใจ โดยผู้ที่ไม่เคยทำ�สามารถ ทำ�ตามคู่มือได้ 5. ความเกี่ยวข้องของความคิดสร้างสรรค์ในการใช้ไอซีที ผูเ้ ขียนได้น�ไอชีทมาใช้ในการทำ�หุนยนต์ของนักเรียน ำ ี ่ โดยจะเริ่มตั้งแต่การสืบค้นอย่างเป็นระบบ ออกแบบจาก ความคิด จำ�ลองการทำ�งานของแบบโดยใช้ซอฟแวร์ ใช้ CAD มาสร้างโมเดลเสมือนจริง แล้วลงมือทำ�ตามแบบนั้น ซึ่งจะ มีโอกาสผิดพลาดน้อยลง ที่แตกต่างจากการทำ�แบบลองผิด ลองถูก ซึ่งต้องเสียทั้งเงินและเวลากว่าจะได้ชิ้นงานที่พอใจ 6. ผู้สอน/ผู้เรียนเป็นผู้นำ�ความเปลี่ยนแปลง อย่างไร ครูจะแสดงบทบาทเป็นเพื่อนร่วมเรียนรู้ ส่วนภารกิจ ในการเรียนรู้ สร้างสรรค์จะต้องเป็นของนักเรียนแต่ละคนเอง ครูเสนอคำ�ถามทีจะทำ�ให้เกิดความคิดใหม่ๆ ในการสร้างชินงาน ่ ้ นักเรียนจะกำ�หนดเป้าหมายที่แน่นอน ลองผิดลองถูกเอง ในการทำ�หุนยนต์ไปจนกว่าจะพบวิธทถกต้องและดีทสด โดยมี ่ ี ี่ ู ี่ ุ การจำ�ลองการทำ�งานของหุ่นยนต์ก่อนลงมือสร้างจริง 7.ประโยชน์ทได้รบในการนำ�ผลงานไปใช้กอนและหลังเรียน ี่ ั ่ 7.1 ก่อนเรียน นักเรียนทีมาเรียนในกิจกรรมชุมนุมหุนยนต์ท�มือ ่ ่ ำ ไม่มีความรู้ แต่มีความสนใจที่ตรงกันคือ อยากเรียนรู้เรื่อง หุนยนต์ และอยากทีจะสร้างหุนยนต์ จากการสอบถามนักเรียน ่ ่ ่ ในชุมนุม พบว่า นักเรียนทุกคนไม่เคยได้ทำ�หุ่นยนต์ เคยแต่ เห็นภาพในโทรทัศน์ หรือสื่อต่างๆ นักเรียนไม่มั่นใจว่าตนจะ สร้างได้หรือเปล่า เพราะคิดว่าคงจะเป็นเรื่องยากและต้องใช้ งบประมาณสูง ทั้งนี้เพราะฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัว นักเรียนส่วนใหญ่อยู่ในชุมชนห่างไกลตัวเมือง และขาดโอกาส อันเนื่องจากฐานะทางครอบครัว ความสนใจและความอยากรู้ อยากปฏิบัติของนักเรียนเอง ที่ทำ�ให้นักเรียนมาสมัครเรียน ในชุมนุมนี้
  • 11. ปีที่ 4 ฉบับที่ 14 เดือนมกราคม-มีนาคม 2553 7.2 หลังเรียน นักเรียนทุกคนในกิจกรรมชุมนุมหุ่นยนต์ทำ�มือ จะมีชนงานของตนเองจากการเรียนรูในหลายๆ เดือนทีผานมา ิ้ ้ ่่ ได้สร้างองค์ความรู้ที่เกิดจากการสร้างชิ้นงาน ได้จิตนาการ อย่างสร้างสรรค์ ร่างแบบจากจินตนาการนั้น นำ�ไปสู่การ ออกแบบโดยใช้เทคโนโลยีจากภาพร่างเป็นต้นแบบ และสร้าง หุ่นยนต์จากต้นแบบที่ได้ออกแบบไว้ด้วยตนเอง ได้แก้ปัญหา จากการสร้างหุ่นยนต์ การประยุกต์ใช้วัสดุที่มีอยู่อย่างจำ�กัด และใช้วัสดุในท้องถิ่นมาใช้ เกิดความภูมิใจอย่างเห็นได้ชัด จากสีหน้า อากัปกิรยาทีแสดงออกเวลาทำ�ชินงาน การมาทำ�งาน ิ ่ ้ หลังเลิกเรียนเป็นประจำ� 8. ผลของความสำ�เร็จ 1. อันดับที่ 1 ระดับประเทศ จากการแข่งขันหุนยนต์ ่ บังคับมือ ประเภทสำ�รวจดาวนพเคราะห์ ระดับ ม.ปลาย วารสาร สควค. 11 2. อันดับที่ 3 ระดับประเทศ จากการแข่งขันหุนยนต์ ่ บังคับมือ ประเภทสำ�รวจดาวนพเคราะห์ ระดับ ม.ต้นและได้ เป็นตัวแทนประเทศไทยเข้าแข่งขันในงาน Inter-city robotics Olympiad 2009 ที่ เขตปกครองพิเศษ ฮ่องกง ระหว่างวันที่ 25-29 ตุลาคม 2552 และได้คว้ารางวัล แชมป์ประเภทหุนยนต์ ่ สำ�รวจดาวนพเคราะห์ มาครองเป็นครั้งแรกของประเทศไทย รวมถึงการได้รับรางวัลต่างๆ อีกมากมาย การนำ�เอาโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาช่วยในการออกแบบ จำ�ลองการทำ�งานอย่างเป็นระบบนี้สามารถนำ�ไปใช้กับการ สร้างชินงานอืนได้อก เช่น ออกแบบผลิตภัณฑ์ตางๆ นอกจากนี้ ้ ่ ี ่ นักเรียนยังได้ถกฝึกให้เรียนอย่างเป็นระบบและมีกระบวนการ ู ทำ�งานที่ดี ที่จะกลายเป็นทักษะติดตัวและจำ�เป็นต่อการใช้ ชีวิตประจำ�วันต่อไป และสามารถต่อยอดเป็นความเชี่ยวชาญ เฉพาะด้านได้ในอนาคต ครู สควค. ชนะเลิศประกวดสื่อดิจิตอลเพื่อการเรียนรู้ (Digital Learning Contest) ครั้งที่ 1 ประเภทบุคคล จัดโดยเว็บไซต์ Thaigoodview.com ครูสุพรรณวดี เพชรเรียง สควค. รุ่น 9 โรงเรียนเกาะ พงันศึกษา (ปัจจุบันสอนที่โรงเรียนสุราษฎร์พิทยา 2) รับถ้วย รางวัลพระราชทานจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม บรมราชกุมารี ในการชนะเลิศการประกวดสื่อดิจิตอลเพื่อการ เรียนรู้ ประเภทบุคคล จัดโดยเว็บไซต์ Thaigoodview.com ครู สุ พ รรณวดี เล่ า ถึ ง ผลงานที่ ส่ ง เข้ า ประกวดว่ า เป็นผลงานเกียวกับวิชาเคมี เรือง สารไฮโดรคาร์บอน จัดทำ�ขึน ่ ่ ้ เพือใช้เป็นข้อมูลประกอบการเรียนการสอน แต่เรืองนีสามารถ ่ ่ ้ ใช้ในการเรียนการสอนในช่วงชั้นที่ 4 ได้ด้วย นายชัยวุฒิ บรรณวัฒน์ รมช. ศึกษาธิการ ในฐานะประธาน เล่าถึงงานครั้งนี้ว่า ได้จัดประกวดสื่อการเรียนรู้ในรูปแบบ เว็บไซต์ และสื่อสารคดีประวัติศาสตร์และสถานที่ท่องเที่ยว ท้องถิ่นขึ้น ซึ่งถือได้ว่าเป็นการได้เพิ่มเนื้อหาการเรียนรู้ผ่าน ทางระบบอินเทอร์เน็ต การนำ�เสนอเนื้อหาที่แปลกใหม่เพื่อ กระตุ้นการเรียนรู้ จึงเป็นสิ่งที่ควรทำ�เพื่อให้มีเนื้อหาความรู้ ที่หลากหลาย และเป็นทางเลือกในการค้นคว้าของเยาวชน ต่ อ ไป และจั ด ได้ ว่ า เป็ น พื้ น ที่ ใ หม่ ใ นโลกดิ จิ ต อลที่ ส่ ง เสริ ม การเรียนรู้อย่างปลอดภัยและสร้างสรรค์
  • 12. 12 วารสาร สควค. ปีที่ 4 ฉบับที่ 14 เดือนมกราคม-มีนาคม 2553 สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ด้วยครูวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ครู สควค. รักครอบครัว :: สูตรเติมรัก ทำ�ชีวิตให้มีสุข ขอขอบคุณ :: สารสาธารณสุขสุรินทร์ ปีที่ 9 ฉบับที่ 5 และข้อมูลจากสำ�นักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงวัฒนธรรม ในสังคมที่สับสน วุ่นวาย และซับซ้อน เช่นปัจจุบันนี้ แม้จะอยู่บ้านเดียวกัน ครอบครัวเดียวกัน ทำ �งานด้วยกัน หรืออยูใกล้กน ก็อาจจะเป็นประเภท ใกล้ตว ไกลใจ หรือบางคน ่ ั ั ก็ไกลทั้งตัว ไกลทั้งใจ ดังนั้น จึงควรเติมรัก เติมรสชีวิต ด้วย การสร้างความสัมพันธ์ทดตอกัน กลุมประชาสัมพันธ์ สำ�นักงาน ี่ ี ่ ่ คณะกรรมการวั ฒ นธรรมแห่ ง ชาติ กระทรวงวั ฒ นธรรม ได้เสนอแนะสิงควรทำ� ( ) และไม่ควรทำ� ( ) จากพยัญชนะ ่ ก ไก่ ถึง ฮ นกฮูก (บางตัว) ซึ่งขอนำ�มาเผยแพร่ต่อ ดังนี้ ก ( ) ได้แก่ กอด พ่อแม่ ลูก สามี หรือภรรยา วันละครั้ง เพื่อแสดงความรัก ความห่วงใย และก่อนนอน อย่าลืม กราบพระ/สิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่นับถือ เพื่อขอบคุณ และ ขอพรสำ�หรับวันต่อไป ก ( ) คือ ก้าวร้าว ไม่ว่ากับใคร เพราะจะทำ�ให้ เป็นคนน่าเบื่อ ไม่น่าอยู่ใกล้ ไม่มีใครอยากให้ไปไหนด้วย กลัวไปทะเลาะวิวาทกับเขา ข ( ) ได้แก่ ขอบคุณ จงกล่าวทุกครั้งที่มีคนทำ� อะไรให้ ขำ�ขัน คือ ให้เป็นคนมีอารมณ์ดี อารมณ์ขัน ข ( ) คือ ขุดคุ้ย เอาเรื่องเก่ามาว่าไม่จบสิ้น หรือ หาเรื่องมาประจานเขา ค ( ) ได้แก่ ครุ่นคิด และ ใคร่ครวญ คือ คิดก่อน ทำ�อะไรทุกครั้ง เพื่อมิให้ตัวเองและคนอื่นเสียใจภายหลัง ค ( ) คื อ คลั่ ง แค้ น อย่ า เป็ น คนโกรธไม่ รู้ ห าย อาฆาตไม่รู้จบ ทำ�ให้คนอยู่ใกล้ไม่มีความสุข ง ( ) ได้แก่ งดงาม ด้วยการทำ�ตัวเราให้งดงาม ทั้งกาย วาจาและใจ ง้องอน เมื่อเราทำ�ผิด หรือเพื่อทำ�ให้คน ทีเ่ รารักรูสกดีขน และรูจกเงียบเสียบ้าง เพือให้เกิดความสงบสุข ้ ึ ้ึ ้ั ่ ง ( ) คือ งก อยากได้เกินควร และไม่รู้จักแบ่งปัน จ ( ) ได้แก่ รู้จัดจดจำ�วันเกิด วันสำ�คัญของคน ในครอบครัว เพื่อนฝูง คนรัก และทำ�อะไรเป็นพิเศษให้บ้าง ข้อสำ�คัญต้องจริงใจ ไม่เสแสร้งหลอกลวง อันจะทำ�ให้ต้อง หวาดระแวงกันตลอดเวลา จ ( ) คือ จู้จี้จุกจิก ใครทำ�อะไรให้ก็ไม่พอใจสักที และไม่เจ้าชู้ ให้เกิดปัญหาในครอบครัว หรือที่ทำ�งาน ฉ ( ) ได้แก่ ทำ�ตัวให้ฉลาดเฉลียว รู้ว่าอะไรควร ไม่ควร รู้กาลเทศะ รู้จักพูด รู้จักทำ�สิ่งต่างๆ ฉ ( ) คือ เฉยเมย ไม่รู้ร้อนรู้หนาว กับความรู้สึก ของคนอื่น หรือ ฉุนเฉียวให้คนหวาดผวา ช ( ) ได้แก่ ชมเชย ชื่นชม คือ รู้จักกล่าวคำ�ชม หรือแสดงความชื่นชมในความสำ�เร็จหรือเรื่องดีๆ ของผู้อื่น ช ( ) คือ ช่วงชิง คือ อย่าไปแย่งของรัก ของหวง ของผู้อื่น หรือฉวยประโยชน์มาเป็นของเราโดยไม่ลงทุนลงแรง ซ ( ) ได้แก่ ซื่อสัตย์ ทั้งต่อตนเองและผู้อื่น ซ ( ) คือ ซุบซิบนินทา หาเรื่องผู้อื่น หรือ เซ้าซี้ จนน่ารำ�คาญ และอย่าทำ�ท่า เซ็ง จนคนอื่นไม่สนุกไปด้วย ฒ ( ) ได้แก่ การเป็นผู้เฒ่าผู้แก่ ที่ทรงความรู้ และ ทำ�ตัวให้น่าเชื่อถือ และคุยกับคนรุ่นใหม่รู้เรื่อง ฒ ( ) คือ อย่าทำ�ตัวเป็นเฒ่าทารก ไม่รู้จักโต เฒ่า สารพัดพิษ ที่เจ้าเล่ห์ และเฒ่าหัวงูที่เป็นอันตรายแก่เด็กสาว ด ( ) ได้แก่ ดี คือ ทำ�ดี ทำ�สิงทีถกต้องและมีเหตุผล ่ ู่ ด ( ) คอ ดุดา อย่าดุดาหรือใช้อารมณ์จนเกินเหตุผล ื ่ ่ ต ( ) ได้แก่ ตักเตือน เมื่อเห็นใครทำ�ผิด หรือทำ� ไม่ถูกต้องด้วยความหวังดี ต ( ) คอ ตลบตะแลง ใช้เล่หกล หรือโกหกหลอกลวง ื ์ ให้ผู้อื่นหลงเชื่อ ถ ( ) ได้แก่ ไถ่ถาม ห่วงใยทุกข์สุขของเพื่อนฝูง คนรู้จัก และคนที่เรารัก ถ ( ) คือ ถากถาง อันเป็นการพูดเหน็บ หรือค่อน ว่าให้คนอื่นเขาเจ็บใจ ท ( ) ได้แก่ ทะนุถนอม คือ การดูแลเอาใจใส่ ซึ่งกันและกัน ท ( ) คือ ทิฐิมานะ คือ การโอ้อวดถือดี ถือตัว ไม่ยอมแพ้ จะเอาชนะให้ได้ ธ ( ) ได้แก่ ธรรมะ คือ มีหลักธรรมเป็นเครื่อง ยึดเหนี่ยว เป็นแนวทางการดำ�เนินชีวิต ธ ( ) คื อ ธุ ร ะไม่ ใช่ ด้ ว ยการละเลย บอกปั ด ไม่สนใจจะช่วยเหลือใครทั้งสิ้น