SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
โครงงานคอมพิวเตอร์ พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
เรื่อง ระบบสุริยะ (Solar Stystem)
จัดทาโดย
นางสาวกานต์ธิดา ทรงเล็กสิงห์ เลขที่ 32
นางสาวสุรางคณา อันมาก เลที่ 25
นางสาวเพชรไพลิน จันต๊ะเลขที่ 36
นายเพ็ญเพชรนิวงศ์ษา เลขที่ 2
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4
เสนอ
อาจารย์ อาพัน สัจกุลชัยเลิศ
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาวิชาโครงงานคอมพิวเตอร์
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา
บทคัดย่อ
''ระบบสุริยะ''นี้เป็นโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Education Media Development)
ลักษณะเด่นของโครงงานประเภทนี้ คือ
เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อเพื่อการศึกษา
ซึ่งผู้จัดทาจะใช้Blogger ในการผลิตสื่อเพื่อการศึกษาเรื่อง “ระบบสุริยะ” เป็นเว็บไซต์ที่มีเนื้อหา
หลากหลาย โดยสามารถใช้เป็นเครื่องมือสื่อสาร การประกาศข่าวสาร การแสดงความคิดเห็น
การเผยแพร่ผลงาน ในหลายด้านไม่ว่า อาหาร เทคโนโลยี หรือข่าวปัจจุบัน
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานสื่อเพื่อการศึกษานี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาโครงงานคอมพิวเตอร์
ซึ่งผู้จัดทามีความสนใจในเรื่องระบบสุริยะ
เพราะสมัยนี้เด็กไทยมักจะเคร่งเครียดในวิชาวิทยาศาสตร์นี้มาก
โดยเป็นปัญหาในวิชาวิทยาศาสตร์นั้นไม่น่าเรียน
หรือไม่คิดอยากจะเรียนอีกเลยในความคิดของเด็กไทยในปัจจุบันแต่อย่างไรก็ตามกลุ่มข้าพเจ้าก็
ได้จัดทาโครงงานนี้เพื่ออยากให้เด็กสนใจวิชานี้มากขึ้นทาให้สื่อการเรียนการสอนน่าสนใจ
มากกว่าในตาราเรียนหากมีข้อผิดพลาดประการใดก็ขออภัยไว้ณที่นี้ด้วยคะ
คณะผู้จัดทา
สารบัญ
เรื่อง หน้า
บทคัดย่อ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
บทที่ 1 บทนา 1-3
แนวคิด ที่มา และความสาคัญ
วัตถุประสงค์
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
นิยามศัพท์เฉพาะ
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 4
ข้อมูลระบบสุริยะ
บทที่ 3 วิธีดาเนินงานโครงงาน 5-8
วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมหรือที่ใช้ในการพัฒนา
ขั้นตอนการดาเนินงาน
ระยะเวลาในการดาเนินงาน
บทที่ 4 ผลการดาเนินงานโครงงาน 9
ขอบเขต
ปัญหาที่พบ
บทที่ 5 สรุปผลการดาเนินงาน และข้อเสนอแนะ 10-12
สรุปผลการดาเนินงานโครงงาน
และองค์ประกอบระบบสุริยะ
บรรณานุกรม 13
บทที่ 1
บทนา
ที่มาและความสาคัญ
กาเนิดระบบสุริยะ
คาว่าระบบสุริยะควรใช้เฉพาะกับระบบดาวเคราะห์ที่มีโลกเป็นสมาชิกและไม่ควรเรียกว่า
ระบบสุริยะจักรวาลอย่างที่เรียกกันติดปาก เนื่องจากไม่เกี่ยวข้องกับคาว่าจักรวาล ตามนัยที่ใช้ในปัจจุบัน
ระบบสุริยะ ประกอบด้วยดวงอาทิตย์และวัตถุอื่นๆ ที่โคจรรอบดวงอาทิตย์ เช่นดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์น้อย ดาวหาง และดาวบริวาร โลกเป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลาดับที่ 3
โดยทั่วไป ถ้าให้ถูกต้องที่สุดควรเรียกว่า ระบบดาวเคราะห์ เมื่อกล่าวถึงระบบที่มีวัตถุต่างๆ
โคจรรอบดาวฤกษ์
ระบบสุริยะ คือระบบดาวที่มีดาวฤกษ์เป็นศูนย์กลาง และมีดาวเคราะห์ (Planet) เป็นบริวารโคจรอยู่โดยรอบ
เมื่อสภาพแวดล้อมเอื้ออานวย ต่อการดารงชีวิต สิ่งมีชีวิตก็จะเกิดขึ้นบนดาวเคราะห์เหล่านั้น หรือ
บริวารของดาวเคราะห์เองที่เรียกว่าดวงจันทร์ (Satellite) นักดาราศาสตร์เชื่อว่า
ในบรรดาดาวฤกษ์ทั้งหมดกว่าแสนล้านดวงในกาแลกซี่ทางช้างเผือก
ต้องมีระบบสุริยะที่เอื้ออานวยชีวิตอย่าง ระบบสุริยะที่โลกของเราเป็นบริวารอยู่อย่างแน่นอน
เพียงแต่ว่าระยะทางไกลมากเกินกว่าความสามารถในการติดต่อจะทาได้ถึงที่โลกของ
เราอยู่เป็นระบบที่ประกอบด้วย ดวงอาทิตย์ (The sun) เป็นศูนย์กลาง มีดาวเคราะห์ (Planets) 9ดวง
ที่เราเรียกกันว่า ดาวนพเคราะห์ ( นพ แปลว่า เก้า) เรียงตามลาดับ จากในสุดคือ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก
ดาวอังคาร ดาวพฤหัส ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน ดาวพลูโต ( ตอนนี้ไม่มีพลูโตแร้ว เหลือแค่8
ดวงและยังมีดวงจันทร์บริวารของ ดวงเคราะห์แต่ละดวง (Moon of sattelites) ยกเว้นเพียง สองดวงคือ
ดาวพุธ และ ดาวศุกร์ ที่ไม่มีบริวาร ดาวเคราะห์น้อย (Minor planets) ดาวหาง (Comets) อุกกาบาต
(Meteorites) ตลอดจนกลุ่มฝุ่นและก๊าซ ซึ่งเคลื่อนที่อยู่ในวงโคจร ภายใต้อิทธิพลแรงดึงดูด จากดวงอาทิตย์
ขนาดของระบบสุริยะ กว้างใหญ่ไพศาลมาก เมื่อเทียบระยะทาง ระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์
ซึ่งมีระยะทางประมาณ 150 ล้านกิโลเมตร หรือ 1au.(astronomy unit) หน่วยดาราศาสตร์ กล่าวคือ
ระบบสุริยะมีระยะทางไกลไปจนถึงวงโคจร ของดาวพลูโต ดาว เคราะห์ที่มีขนาดเล็กที่สุด ในระบบสุริยะ
ซึ่งอยู่ไกล เป็นระยะทาง 40 เท่าของ 1 หน่วยดาราศาสตร์ และยังไกลห่างออก ไปอีกจนถึงดงดาวหางอ๊อต
(Oort’sCloud) ซึ่งอาจอยู่ไกลถึง 500,000 เท่า ของระยะทางจากโลกถึงดวงอาทิตย์ด้วย ดวงอาทิตย์มีมวล
มากกว่าร้อยละ 99 ของ มวลทั้งหมดในระบบสุริยะ ที่เหลือนอกนั้นจะเป็นมวลของ เทหวัตถุต่างๆ ซึ่ง
ประกอบด้วยดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์น้อย ดาวหาง และอุกกาบาต รวมไปถึงฝุ่นและก๊าซ ที่ล่องลอยระหว่าง
ดาวเคราะห์ แต่ละดวง โดยมีแรงดึงดูด (Gravity) เป็นแรงควบคุมระบบสุริยะ ให้เทหวัตถุบนฟ้าทั้งหมด
เคลื่อนที่เป็นไปตามกฏแรง แรงโน้มถ่วงของนิวตัน ดวงอาทิตย์แพร่พลังงาน ออกมา ด้วยอัตราประมาณ
90,000,000,000,000,000,000,000,000 แคลอรีต่อวินาที เป็นพลังงานที่เกิดจากปฏิกริยาเทอร์โมนิวเคลียร์
โดยการเปลี่ยนไฮโดรเจนเป็นฮีเลียม ซึ่งเป็นแหล่งความร้อนให้กับดาว ดาวเคราะห์ต่างๆ
ถึงแม้ว่าดวงอาทิตย์ จะเสียไฮโดรเจนไปถึง 4,000,000 ตันต่อวินาทีก็ตาม
แต่นักวิทยาศาสตร์ก็ยังมีความเชื่อว่าดวงอาทิตย์ จะยังคงแพร่พลังงานออกในอัตรา
ที่เท่ากันนี้ได้อีกนานหลายพันล้านปี
การจัดทาเรื่องนี้เพราะว่าได้ศึกษาค้นคว้า
และรวบรวมเนื้อหาจัดทาเป็นสื่อการเรียนการสอนขึ้นมาโดยทาเนื้อหาให้น่าสนใจมากขึ้น
เพราะสมัยนี้เด็กไทยมักจะเคร่งเครียดในวิชาวิทยาศาสตร์นี้มาก
โดยเป็นปัญหาในวิชาวิทยาศาสตร์นั้นไม่น่าเรียน
หรือไม่คิดอยากจะเรียนอีกเลยในความคิดของเด็กไทยในปัจจุบันแต่อย่างไรก็ตามกลุ่มข้าพเจ้าก็ได้จัดทาโคร
งงานนี้เพื่ออยากให้เด็กสนใจวิชานี้มากขึ้น ทาให้สื่อการเรียนการสอนน่าสนใจ มากกว่าในตาราเรียน
วัตถุประสงค์
1.เพื่อศึกษาและการดาเนินการสร้างโครงงานระบบสุริยะ
2.เพื่อรู้และเข้าใจในระบบสุริยะของเรา
3.เพื่อศึกษาการเกิดของโลกที่มาจากการเกิดระบบสุริยะ
4. เพื่ออธิบายในชั้นเรียนได้
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.รู้จักการกาเนิดระบบสุริยะ
2.ได้รู้ถึงดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ
3.ได้รู้ถึงวงโคจรของดาวต่างๆในระบบสุริยะ
นิยามศัพท์เฉพาะ
ระบบสุริยะ คือระบบดาวที่มีดาวฤกษ์เป็นศูนย์กลาง และมีดาวเคราะห์ (Planet) เป็นบริวารโคจรอยู่โดยรอบ
เมื่อสภาพแวดล้อมเอื้ออานวย ต่อการดารงชีวิต
ดาวเคราะห์ หมายถึง ดาวที่ไม่มีแสงสว่างในตัวเอง
ดาวฤกษ์ (อังกฤษ: star) คือวัตถุท้องฟ้าที่เป็นก้อนพลาสมาสว่างขนาดใหญ่ที่คงอยู่ได้ด้วยแรงโน้มถ่วง
ดาวฤกษ์ที่อยู่ใกล้โลกมากที่สุด คือ ดวงอาทิตย์ ซึ่งเป็นแหล่งพลังงานหลักของโลก
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ในการจัดทาโครงงานเรื่อง ระบบสุริยะ ผู้จัดทาได้ทาการศึกษาเอกสารและโครงงานเกี่ยวข้อง
ประกอบด้วยหัวข้อต่างๆดังต่อไปนี้
ระบบสุริยะ ประกอบด้วยดวงอาทิตย์และวัตถุอื่นๆ ที่โคจรรอบดวงอาทิตย์ เช่น ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์น้อย ดาวหาง และดาวบริวาร โลกเป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลาดับที่ 3
โดยทั่วไป ถ้าให้ถูกต้องที่สุดควรเรียกว่า ระบบดาวเคราะห์ เมื่อกล่าวถึงระบบที่มีวัตถุต่างๆ
โคจรรอบดาวฤกษ์ ระบบสุริยะ คือระบบดาวที่มีดาวฤกษ์เป็นศูนย์กลาง และมีดาวเคราะห์ (Planet)
เป็นบริวารโคจรอยู่โดยรอบ เมื่อสภาพแวดล้อมเอื้ออานวย ต่อการดารงชีวิต
สิ่งมีชีวิตก็จะเกิดขึ้นบนดาวเคราะห์เหล่านั้น หรือ บริวารของดาวเคราะห์เองที่เรียกว่าดวงจันทร์ (Satellite)
นักดาราศาสตร์เชื่อว่า ในบรรดาดาวฤกษ์ทั้งหมดกว่าแสนล้านดวงในกาแลกซี่ทางช้างเผือก
ต้องมีระบบสุริยะที่เอื้ออานวยชีวิตอย่าง ระบบสุริยะที่โลกของเราเป็นบริวารอยู่อย่างแน่นอน
เพียงแต่ว่าระยะทางไกลมากเกินกว่าความสามารถในการติดต่อจะทาได้ถึงที่โลกของเราอยู่เป็นระบบที่ประ
กอบด้วย ดวงอาทิตย์ (The sun) เป็นศูนย์กลาง มีดาวเคราะห์ (Planets) 9ดวง ที่เราเรียกกันว่า ดาวนพเคราะห์
( นพ แปลว่า เก้า) เรียงตามลาดับ จากในสุดคือ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์
ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน ดาวพลูโต ( ตอนนี้ไม่มีพลูโตแล้ว เหลือแค่8 ดวง ) และยังมีดวงจันทร์บริวารของ
ดวงเคราะห์แต่ละดวง (Moon of sattelites) ยกเว้นเพียง สองดวงคือ ดาวพุธ และ ดาวศุกร์ ที่ไม่มีบริวาร
ดาวเคราะห์น้อย (Minor planets) ดาวหาง (Comets) ซึ่งเคลื่อนที่อยู่ในวงโคจร ภายใต้อิทธิพลแรงดึงดูด
จากดวงอาทิตย์ ขนาดของระบบสุริยะ กว้างใหญ่ไพศาลมาก เมื่อเทียบระยะทาง ระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์
ซึ่งมีระยะทางประมาณ 150 ล้านกิโลเมตร หรือ 1au.(astronomy unit) หน่วยดาราศาสตร์ กล่าวคือ
ระบบสุริยะมีระยะทางไกลไปจนถึงวงโคจร ดวงอาทิตย์มีมวล มากกว่าร้อยละ 99
ของมวลทั้งหมดในระบบสุริยะที่เหลือ ชื่อของดาวเคราะห์ทั้ง 9ดวงยกเว้นโลก
ถูกตั้งชื่อตามเทพของชาวกรีก เพราะเชื่อว่าเทพเหล่านั้นอยู่บนสรวงสวรรค์ และเคารพบูชาแต่โบราณกาล
ในสมัยโบราณจะรู้จักดาวเคราะห์เพียง 5ดวงเท่านั้น(ไม่นับโลกของเรา) เพราะสามารถเห็นได้
ด้วยตาเปล่าคือ ดาวพุธ ดาวศุกร์ ดาวอังคาร ดาวพฤหัส ดาวเสาร์ ประกอบกับดวงอาทิตย์ และดวงจันทร์
รวมเป็น 7 ทาให้เกิดวันทั้ง 7ในสัปดาห์นั่นเอง และดาวทั้ง 7
นี้จึงมีอิทธิพลกับดวงชะตาชีวิตของคนเราตามความเชื่อถือทางโหราศาสตร์
บทที่ 3
วิธีการจัดทาโครงงาน
วัสดุและอุปกรณ์
1.แหล่งความรู้ทางอินเตอร์เน็ต
2.ข้อมูลจากเอกสาร บทความหนังสือ
3.คอมพิวเตอร์
วิธีการจัดทาโครงงาน
1.คิดหัวข้อโครงงาน
2.สืบค้นข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆ ทั้งหนังสือ และ อินเทอร์เน็ต
3.นาลงใน Microsoft word เกี่ยวกับเรื่องระบบสุริยะ
4.สร้างบล็อกใน Bloggle > ลงทะเบียนบล็อก > กรอกชื่อบล็อกของเราเอง
5.ออกแบบบล็อกในสไตล์เรา > ลงมือทา >Save > เผยแผ่ใน Social Google
6.ตรวจสอบความถูกต้องของโครงงาน
7.จัดทารูปเล่มส่งคุณครูที่ปรึกษาโครงงาน
การสร้างเว็บบล็อก (Blogger)
ขั้นตอนที่1 เข้าไปที่เว็บ http://www.blogger.com จะขึ้นหน้าจอตามรูป
ขั้นตอนที่ 2 จากนั้นทาการสมัคร (สาหรับบุคคลที่ยังไม่มี Gmail) ถ้ามีแล้วให้ล๊อกอินได้เลย
ขั้นตอนที่ 3 ให้กรอกข้อมูลตามความเป็นจริง
ขั้นตอนที่ 4 คลิกที่ปุ่มสร้างบล๊อกใหม่
ขั้นตอนที่5 พอคลิกแล้วจะขึ้นตามรูปจากนั้นให้กรอกข้อมูลลงไป เลือกแม่แบบตามใจชอบ
ขั้นตอนที่ 6 คลิกปุ่มตามรูป
ขั้นตอนที่ 7 ใส่ข้อมูลต่างๆ
ขั้นตอนที่ 8 คลิกปุ่ม "แสดงตัวอย่าง"ถ้าชอบแล้วกดบันทึก
วิธีการดาเนินโครงงาน
ที่ ขั้นตอนในการดาเนินงาน ระยะเวลาในการดาเนินงาน
วันแรก สัปดาห์ที่ 1 สัปดาห์ที่ 2-3 สัปดาห์ที่ 4
1 คิดชื่อหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาค้นคว้ารวบรวมข้อมูล
3 จัดทาเค้าโครงงานเสนออาจารย์ที่ปรึกษา
4 ศึกษาโปรแกรมBlogger ในการสร้าง
5 ออกแบบสื่อ Blogger
6 จัดทาโครงงานสร้าง
สื่อ Blogger เรื่องระบบสุริยะ
7 นาเสนอผ่านโปรแกรมBlogger
8 ทาเอกสารสรุปโครงงาน
บทที่4
ผลการศึกษาโครงงาน
จากการศึกษาเรื่อง ระบบสุริยะ และความสาคัญของ ระบบสุริยะโดยจัดทาให้ขอบเขตหัวข้อดังนี้
1. เพื่อเป็นการศึกษาและเรียนรู้วิทยาศาสตร์
2. เพื่อเป็นการเรียนรู้ด้วยตนเอง ทาความเข้าใจได้เองแบบง่ายๆ
3. เพื่อทาเป็นเอกสารเพื่อศึกษาเรียนรู้เพิ่มเติม
ปัญหาที่พบ
ในการทาโครงงานในครั้งนี้พบว่าปัญหาเป็นการรวบรวมข้อมูลและต้องทาการวิเคราะห์เนื้อหาที่จะทาโครง
งานระบบสุริยะ เพื่อให้ข้อมูลตรงกบความเป็นจริง
บทที่5
สรุปอภิปราย
ระบบสุริยะ คือ กลุ่มดาวกลุ่มหนึ่งใน กาแลกซี ทางช้างเผือก โดยมีดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลาง
และมีดาวเคราะห์ 8ดวงเป็นบริวาร โคจรมารอบดวงอาทิตย์
โดยดาวเคราะห์ทั้งเก้าจะมีดวงจันทร์ที่โคจรรอบดาวเคราะห์ หรือไม่มีก็ได้
โดยดาวทั้งหมดจะได้รับแรงดึงดูดจากดวงอาทิตย์
องค์ประกอบระบบสุริยะจักรวาล ระบบสุริยะจักรวาล ประกอบด้วย
1. ดาวฤกษ์ เป็นดาวที่มีแสงสว่างในตัวเอง เกิดจากก๊าซที่มีการระเบิดอยู่ตลอกเวลา ให้พลังงานแสง
และพลังงานความร้อน ได้แก่ดวงอาทิตย์ กลุ่มดาวจักราศี ดาวเหนือ
2. ดาวเคราะห์ เป็นดาวที่ไม่มีแสงสว่างในตัวเอง ต้องอาศัยแสง และพลังงานจากดวงอาทิตย์
โดยดาวฤกษ์จะมีทั้งหมด 9 ดวง ได้แก่
2.1 ดาวพุธ (Mercury) ดาวพุธเป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ใกล้เคียงดวงอาทิตย์ที่สุด
อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เฉลี่ยเพียง 1ใน 3 ของระยะห่างจากโลกถึง ดวงอาทิตย์ หรือประมาณ 60
ล้านกิโลเมตร และโคจรรอบดวง อาทิตย์ครบหึ่งรอบในเวลาเพียง 88 วัน เมื่อสังเกตจากโลก เราจะ
เห็นดาวพุธอยู่ทางด้านตะวันออกของดวงอาทิตย์ ครึ่งรอบวงโคจร และอยู่ทางตะวันตกอีกครึ่งรอบ
แต่ละช่วงก็คือเวลาประมาณเดือน เศษเท่านั้นธาตุที่พบในบรรยากาศของกาวพุธส่วนใหญ่ คือ ออกซิเจน
โซเดียม ไฮโดรเจน และอีเลียม
2.2 ดาวศุกร์ (Venus) ดาวศุกร์เป็นดาวที่สุกสว่างที่สุดบนท้องฟ้ าโดยมีความสว่างเป็นรอง
เพียงดวงอาทิตย์และดวงจันทร์เท่านั้นมีลักษณะการหมุนรอบตัวเองที่แปลกกว่าดาว เคราะห์ดวงอื่น ๆ คือ
หมุนรอบตัวเองช้ามาก วันหนึ่งของดาวศุกร์มีความยาว 243 วันของโลก ดาวศุกร์จึงเป็นดาวที่เวลา 1วัน
นานกว่า 1 ปี นอกจากนี้ดาวศุกร์ยัง หมุนรอบตัวเองตามเข็มนาฬิกา ซึ่งกลับข้างกับดาวเคราะห์ดวงอื่น ๆ
ที่หมุนทวนเข็ม นาฬิกาจากข้อมูลจากยานเวเนอราทาให้นักดาราศาสตร์ทราบความจริงว่า พื้นผิวดาว
ศุกร์ที่เคยคาดว่าเหมาะสมกับการดารงชีพเช่นเดียวกับโลกกับกลาย เป็นพื้นผิวที่ไม่
ต่างจากลักษณะของขุมนรกในจินตนาการ
2.3 โลก (The Earth) โลกเป็นดาวเคราะห์ที่ห่างดวงอาทิตย์ออกมาเป็นอันดับที่ 3 ในระบบ สุริยะ
ที่ระยะห่างนี้มีความเหมาะสมหลายประการ เช่น บรรยากาศ น้าผืนดิน และพลังงาน
ซึ่งเอื้อให้เกิดการวิวัฒนาการของสสารขึ้นจนถึงระดับที่ซับซ้อนมาก กล่าวคือ
มีการวิวัฒนาการจากสารเคมีและโมเลกุลซึ่งไม่มีชีวิตเกิดเป็นสสาร อันมี
ชีวิตจิตใจและมีความคิดเชิงตรรกะที่ซับซ้อนยิ่งบรรยากาศที่หนาแน่นมาก
บรรยากาศนี้ประกอบด้วยก๊าซไนโตรเจนเป็นส่วนใหญ่ มีก๊าซออกซิเจนเป็น ส่วนผสมประมาณ 20%
และก๊าซอื่น ๆเช่น คาร์บอนไดออกไซด์ ไอน้า อาร์กอน ฯลฯ เจือปนอยู่เล็กน้อย
2.4 ดาวอังคาร (MARS) ดาวอังคารมีบรรยากาศที่หนาแน่นไม่ถึง 1 ใน 100 ของบรรยากาศโลก
แต่ถึงกระนั้นก็ยังมีพายุ ใหญ่ที่พัดปกคลุมดาวทั้งดวงเกิดขึ้นประปราย
บรรยากาศของดาวอังคารประกอบด้วยก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์เป็นส่วนใหญ่
จึงสร้างสภาพเรือนกระจกที่ทาให้ผิวดาวร้อนขึ้นประมาณ 5องศา
เซลเซียสจากค่าที่ควรจะเป็นหากไม่มีบรรยากาศ ดาวอังคารมีดวงจันทร์บริวารสองดวงชื่อ โฟบัส (Phobos)
และดีมอส (Deimos) ค้นพบโดย อะชาฟฮอลล์ (Asaph Hall) นักดาราศาสตร์แห่งหอดูดาว
กองทัพเรือสหรัฐอเมริกา ในปี ค.ศ. 1877 ซึ่งเป็นปีที่ดาวอังคารเข้าใกล้โลกมากที่สุดครั้งหนึ่ง พื้นผิวของ
ดาวอังคารระเกะระกะด้วยภูเขาไฟจานวนมาก เช่น Olympus Mons และหุบเขาลึกชันมากมายเช่น
VallesMarinerisแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยาที่เคยเกิดขึ้นก่อนหน้านี้ สีของดาวอังคาร
ที่เราเห็นเป็นสีแดง เป็นเพราะสนิมที่มีอยู่ในพื้นดินอันเต็มไปด้วยเหล็ก
2.5 ดาวพฤหัส (Jupiter) ดาวพฤหัสบดีเป็นดาวเคราะห์ก๊าซ ( Jovian Planet ) ขนาดยักษ์ที่อยู่ห่างจากดวง
อาทิตย์ออกไปเป็นระยะทางประมาณ 5.2 หน่วยดาราศาสตร์ ซึ่งห่างไกลกว่าวงโคจรของ ดาวอังคารกว่า 3
เท่า ที่ระยะห่างนี้ พลังงานจากดวงอาทิตย์แผ่มาถึงน้อยลง ก๊าซและ สสารที่ระเหยง่ายจึงเริ่มรวมตัวขึ้นได้
ดาวพฤหัสบดีมีปริมาตรที่สามารถบรรจุโลกไว้ได้กว่า 1,300 ดวง
และมีมวลมากกว่าสองเท่าของดาวเคราะห์อื่นๆ ในระบบสุริยะรวมกันดาว
พฤหัสบดีมีดวงจันทร์บริวาลที่รู้จักแล้วทั้งสิ้น 63 ดวง ดวงที่ใหญ่ที่สุด 4 ดวงคือ แกนิ มีด คัลลิสโต ไอโอ
และยุโรปา มีลักษณะคล้ายคลึงกับลักษณะของดาวเคราะห์ใกล้โลก เช่นมีภูเขาไฟ
และมีกระบวนการความร้อนภายในของดาว ดวงจันทร์แกนิมีดเป็นดาว บริวารที่ใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะ
มีขนาดใหญ่กว่าดาวพุธเสียอีก
2.6 ดาวเสาร์(Saturn) ดาวเสาร์เป็นดาวเคราะห์ก๊าซที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสองรองจาก ดาวพฤหัสบดี
โดยมีขนาดเล็กกว่าดาวพฤหัสบดีประมาณ 1 ใน 5แต่ถึงกระนั้นก็ยังมี ขนาดใหญ่กว่าโลกกว่า 9 เท่า
ละมีปริมาตรที่สามารถบรรจุโลกไว้ได้ถึง 763 ดวง องค์ประกอบหลักของดาวเสาร์ คือ ไนโตรเจน 75%
และฮีเลียม 25% และ องค์ประกอบย่อยต่างๆในอัตราส่วนที่คล้ายกับดาวพฤหัสบดี
ดาวเสาร์มีความหนาแน่น เฉลี่ยทั้งดวงต่าสุดในระบบสุริยะ โดยมีความหนาแน่นเฉลี่ยประมาณ 0.7 กรัม/
ลูกบาศก์เซนติเมตรเท่านั้น นั่นคือดาวเสาร์จะลอยน้าได้ ( หากเรามีอ่างน้าที่ใหญ่พอ สาหรับดาวเสาร์
)ในจานวนดวงจันทร์ทั้งหมดมีอยู่ 2 ดวงคือ ไททัน และเอนเซลาดัส
แสดงให้เห็นสัญญาณของการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยา
2.7 ดาวยูเรนัส (Uranus) ดาวยูเรนัสค้นพบโดย วิลเลียม เฮอร์เชล(William Hershel) นักดาราศาสตร์
สมัครเล่นชาวเยอรมันที่มาตั้งรกรากในอังกฤษได้ใช้กล้อง โทรทรรศน์ขนาด 6.4 นิ้วที่เขา
ประดิษฐ์ขึ้นเองส่องสารวจท้องฟ้ าอย่างเป็นระบบ ดาวยูเรนัสโคจรรอบดวงอาทิตย์หนึ่งรอบ ในเวลา 84
ปีของโลก ลักษณะการโคจรที่โดดเด่นที่สุดของดาวยูเรนัส คือ แกนของดาว เอียงทามุมกับระนาบสุริยะถึง
98 องศา หรือเกินกว่ามุมฉากมาเล็กน้อย ดาวยูเรนัสจึง หมุนรอบตัวเองในลักษณะตะแคงข้าง
ซึ่งส่งผลให้ฤดูกาลของดาวยูเรนัสยาวนานมากซีก หนึ่งของดาวจะอยู่ในฤดูหนาวนาย 42 ปี
ในขณะที่อีกซีกหนึ่งอยู่ในฤดูร้อนนาน 42ปีดาว ยูเรนัสมีดวงจันทร์ที่รู้จักแล้ว 21 ดวง (สิงหาคม ค.ศ. 2003)
มีชื่อเรียกแล้วทั้งหมด
2.8 ดาวเนปจูน (Neptune) ดาวเนปจูนอยู่โคจรอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เฉลี่ย 4,500 ล้าน กิโลเมตร
หรือประมาณ 30 เท่าของระยะทางจากโลกถึงดวงอาทิตย์ เวลา 1
ปีของดาวเนปจูนหรือระยะเวลาที่ดาวเนปจูนใช้ในการโคจรรอบดวงอาทิตย์ หนึ่งรอบยาวถึง 165
ปีของโลกดาวเนปจูนเป็นดาวเคราะห์ก๊าซที่มีขนาดเล็ก กว่าดาวยูเรนัสเล็กน้อย คือ
มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 50,000 กิโลเมตร ดาวเนปจูนมีปริมาตรมากกว่าโลกประมาณ 60เท่า
ในขณะที่มีมวลมากกว่า โลก 17 เท่า ซึ่งแสดงว่าลักษณะโครงสร้างภายในของดาวเนปจูนน่าจะคล้าย
กับดาวยูเรนัสมากกว่าดาวพฤหัสบดีหรือดาวเสาร์ นักดาราศาสตร์ได้พบดาว
บริวารสองดวงที่หมุนรอบดาวเนปจูน ดาวดวงหนึ่งมีขนาดเล็กชื่อว่า Neried
และดาวบริวารดวงอื่นๆของดาวเนปจูนคือดาว Triton
บรรณานุกรม
http://www.narit.or.th/index.php/astro/solsys
https://th.wikipedia.org/wiki/ระบบสุริยะ
http://guru.sanook.com/7270/
https://www.blogger.com/about/?hl=th

More Related Content

What's hot

Astronomy VI
Astronomy VIAstronomy VI
Astronomy VIChay Kung
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติ
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติ
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติsoysuwanyuennan
 
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกwebsite22556
 
บทที่ 2 เซลล์และการทำงานของเซลล์ I (กล้องจุลทรรศน์)
บทที่ 2 เซลล์และการทำงานของเซลล์ I (กล้องจุลทรรศน์)บทที่ 2 เซลล์และการทำงานของเซลล์ I (กล้องจุลทรรศน์)
บทที่ 2 เซลล์และการทำงานของเซลล์ I (กล้องจุลทรรศน์)Yaovaree Nornakhum
 
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพบทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพnarongsakday
 
แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 1,2 ...
แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 1,2 ...แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 1,2 ...
แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 1,2 ...ประพันธ์ เวารัมย์
 
G biology bio6
G biology bio6G biology bio6
G biology bio6Bios Logos
 
แสงและการหักเห2
แสงและการหักเห2แสงและการหักเห2
แสงและการหักเห2DAWKAJAY20
 
แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมี
แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมีแบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมี
แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมีApinya Phuadsing
 
การสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสงการสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสงพัน พัน
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocxพนภาค ผิวเกลี้ยง
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมNamkang Patchar
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์Ta Lattapol
 
ระบบสุริยะจักรวาล
ระบบสุริยะจักรวาลระบบสุริยะจักรวาล
ระบบสุริยะจักรวาลChompunut Puifacy
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลกโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลกsoysuwanyuennan
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศPoonyawee Pimman
 

What's hot (20)

Astronomy VI
Astronomy VIAstronomy VI
Astronomy VI
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติ
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติ
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติ
 
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
 
บทที่ 2 เซลล์และการทำงานของเซลล์ I (กล้องจุลทรรศน์)
บทที่ 2 เซลล์และการทำงานของเซลล์ I (กล้องจุลทรรศน์)บทที่ 2 เซลล์และการทำงานของเซลล์ I (กล้องจุลทรรศน์)
บทที่ 2 เซลล์และการทำงานของเซลล์ I (กล้องจุลทรรศน์)
 
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะเอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
 
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพบทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
 
แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 1,2 ...
แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 1,2 ...แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 1,2 ...
แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 1,2 ...
 
G biology bio6
G biology bio6G biology bio6
G biology bio6
 
แสงและการหักเห2
แสงและการหักเห2แสงและการหักเห2
แสงและการหักเห2
 
แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมี
แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมีแบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมี
แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมี
 
การสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสงการสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสง
 
5 behavi plan
5 behavi plan5 behavi plan
5 behavi plan
 
เรื่อง เมฆ
เรื่อง เมฆเรื่อง เมฆ
เรื่อง เมฆ
 
ข้อสอบ
ข้อสอบข้อสอบ
ข้อสอบ
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
 
ระบบสุริยะจักรวาล
ระบบสุริยะจักรวาลระบบสุริยะจักรวาล
ระบบสุริยะจักรวาล
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลกโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 

Similar to Solarstystempp

โครงงานคอมฯ
โครงงานคอมฯโครงงานคอมฯ
โครงงานคอมฯpimnarayrc
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์pimnarayrc
 
โครงงานคอมฯ(งานคู่)
โครงงานคอมฯ(งานคู่)โครงงานคอมฯ(งานคู่)
โครงงานคอมฯ(งานคู่)pimnarayrc
 
โครงงานคอม(งานคู่)
โครงงานคอม(งานคู่)โครงงานคอม(งานคู่)
โครงงานคอม(งานคู่)jinoom
 
ดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์ดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์Mook Sunita
 
การใช้ชีวิตในอวกาศ
การใช้ชีวิตในอวกาศการใช้ชีวิตในอวกาศ
การใช้ชีวิตในอวกาศChapa Paha
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมScott Tape
 
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคมการสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคมtanakit pintong
 
อิทธิผลของดวงอาทิตย์ที่มีผลต่อโลก
อิทธิผลของดวงอาทิตย์ที่มีผลต่อโลกอิทธิผลของดวงอาทิตย์ที่มีผลต่อโลก
อิทธิผลของดวงอาทิตย์ที่มีผลต่อโลกwattumplavittayacom
 

Similar to Solarstystempp (20)

โครงงานคอมฯ
โครงงานคอมฯโครงงานคอมฯ
โครงงานคอมฯ
 
Astroplan14
Astroplan14Astroplan14
Astroplan14
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมฯ(งานคู่)
โครงงานคอมฯ(งานคู่)โครงงานคอมฯ(งานคู่)
โครงงานคอมฯ(งานคู่)
 
โครงงานคอม(งานคู่)
โครงงานคอม(งานคู่)โครงงานคอม(งานคู่)
โครงงานคอม(งานคู่)
 
ดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์ดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์
 
การใช้ชีวิตในอวกาศ
การใช้ชีวิตในอวกาศการใช้ชีวิตในอวกาศ
การใช้ชีวิตในอวกาศ
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอม
 
Astroplan20
Astroplan20Astroplan20
Astroplan20
 
Sun
SunSun
Sun
 
Stars
StarsStars
Stars
 
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคมการสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
 
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่390 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
 
บทที่ึ7
บทที่ึ7บทที่ึ7
บทที่ึ7
 
My project1
My project1My project1
My project1
 
อิทธิผลของดวงอาทิตย์ที่มีผลต่อโลก
อิทธิผลของดวงอาทิตย์ที่มีผลต่อโลกอิทธิผลของดวงอาทิตย์ที่มีผลต่อโลก
อิทธิผลของดวงอาทิตย์ที่มีผลต่อโลก
 
Astroplan16
Astroplan16Astroplan16
Astroplan16
 
Solar water filtration
Solar water filtration Solar water filtration
Solar water filtration
 
โครงงานระบบกรองน้ำ
โครงงานระบบกรองน้ำโครงงานระบบกรองน้ำ
โครงงานระบบกรองน้ำ
 
ม611(แก้)
ม611(แก้)ม611(แก้)
ม611(แก้)
 

Solarstystempp

  • 1. โครงงานคอมพิวเตอร์ พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา เรื่อง ระบบสุริยะ (Solar Stystem) จัดทาโดย นางสาวกานต์ธิดา ทรงเล็กสิงห์ เลขที่ 32 นางสาวสุรางคณา อันมาก เลที่ 25 นางสาวเพชรไพลิน จันต๊ะเลขที่ 36 นายเพ็ญเพชรนิวงศ์ษา เลขที่ 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4 เสนอ อาจารย์ อาพัน สัจกุลชัยเลิศ รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาวิชาโครงงานคอมพิวเตอร์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา
  • 2. บทคัดย่อ ''ระบบสุริยะ''นี้เป็นโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Education Media Development) ลักษณะเด่นของโครงงานประเภทนี้ คือ เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อเพื่อการศึกษา ซึ่งผู้จัดทาจะใช้Blogger ในการผลิตสื่อเพื่อการศึกษาเรื่อง “ระบบสุริยะ” เป็นเว็บไซต์ที่มีเนื้อหา หลากหลาย โดยสามารถใช้เป็นเครื่องมือสื่อสาร การประกาศข่าวสาร การแสดงความคิดเห็น การเผยแพร่ผลงาน ในหลายด้านไม่ว่า อาหาร เทคโนโลยี หรือข่าวปัจจุบัน
  • 3. กิตติกรรมประกาศ โครงงานสื่อเพื่อการศึกษานี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาโครงงานคอมพิวเตอร์ ซึ่งผู้จัดทามีความสนใจในเรื่องระบบสุริยะ เพราะสมัยนี้เด็กไทยมักจะเคร่งเครียดในวิชาวิทยาศาสตร์นี้มาก โดยเป็นปัญหาในวิชาวิทยาศาสตร์นั้นไม่น่าเรียน หรือไม่คิดอยากจะเรียนอีกเลยในความคิดของเด็กไทยในปัจจุบันแต่อย่างไรก็ตามกลุ่มข้าพเจ้าก็ ได้จัดทาโครงงานนี้เพื่ออยากให้เด็กสนใจวิชานี้มากขึ้นทาให้สื่อการเรียนการสอนน่าสนใจ มากกว่าในตาราเรียนหากมีข้อผิดพลาดประการใดก็ขออภัยไว้ณที่นี้ด้วยคะ คณะผู้จัดทา
  • 4. สารบัญ เรื่อง หน้า บทคัดย่อ ก กิตติกรรมประกาศ ข บทที่ 1 บทนา 1-3 แนวคิด ที่มา และความสาคัญ วัตถุประสงค์ ผลที่คาดว่าจะได้รับ นิยามศัพท์เฉพาะ บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 4 ข้อมูลระบบสุริยะ บทที่ 3 วิธีดาเนินงานโครงงาน 5-8 วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมหรือที่ใช้ในการพัฒนา ขั้นตอนการดาเนินงาน ระยะเวลาในการดาเนินงาน บทที่ 4 ผลการดาเนินงานโครงงาน 9 ขอบเขต ปัญหาที่พบ บทที่ 5 สรุปผลการดาเนินงาน และข้อเสนอแนะ 10-12 สรุปผลการดาเนินงานโครงงาน และองค์ประกอบระบบสุริยะ
  • 5. บรรณานุกรม 13 บทที่ 1 บทนา ที่มาและความสาคัญ กาเนิดระบบสุริยะ คาว่าระบบสุริยะควรใช้เฉพาะกับระบบดาวเคราะห์ที่มีโลกเป็นสมาชิกและไม่ควรเรียกว่า ระบบสุริยะจักรวาลอย่างที่เรียกกันติดปาก เนื่องจากไม่เกี่ยวข้องกับคาว่าจักรวาล ตามนัยที่ใช้ในปัจจุบัน ระบบสุริยะ ประกอบด้วยดวงอาทิตย์และวัตถุอื่นๆ ที่โคจรรอบดวงอาทิตย์ เช่นดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์น้อย ดาวหาง และดาวบริวาร โลกเป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลาดับที่ 3 โดยทั่วไป ถ้าให้ถูกต้องที่สุดควรเรียกว่า ระบบดาวเคราะห์ เมื่อกล่าวถึงระบบที่มีวัตถุต่างๆ โคจรรอบดาวฤกษ์ ระบบสุริยะ คือระบบดาวที่มีดาวฤกษ์เป็นศูนย์กลาง และมีดาวเคราะห์ (Planet) เป็นบริวารโคจรอยู่โดยรอบ เมื่อสภาพแวดล้อมเอื้ออานวย ต่อการดารงชีวิต สิ่งมีชีวิตก็จะเกิดขึ้นบนดาวเคราะห์เหล่านั้น หรือ บริวารของดาวเคราะห์เองที่เรียกว่าดวงจันทร์ (Satellite) นักดาราศาสตร์เชื่อว่า ในบรรดาดาวฤกษ์ทั้งหมดกว่าแสนล้านดวงในกาแลกซี่ทางช้างเผือก ต้องมีระบบสุริยะที่เอื้ออานวยชีวิตอย่าง ระบบสุริยะที่โลกของเราเป็นบริวารอยู่อย่างแน่นอน เพียงแต่ว่าระยะทางไกลมากเกินกว่าความสามารถในการติดต่อจะทาได้ถึงที่โลกของ เราอยู่เป็นระบบที่ประกอบด้วย ดวงอาทิตย์ (The sun) เป็นศูนย์กลาง มีดาวเคราะห์ (Planets) 9ดวง ที่เราเรียกกันว่า ดาวนพเคราะห์ ( นพ แปลว่า เก้า) เรียงตามลาดับ จากในสุดคือ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหัส ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน ดาวพลูโต ( ตอนนี้ไม่มีพลูโตแร้ว เหลือแค่8 ดวงและยังมีดวงจันทร์บริวารของ ดวงเคราะห์แต่ละดวง (Moon of sattelites) ยกเว้นเพียง สองดวงคือ ดาวพุธ และ ดาวศุกร์ ที่ไม่มีบริวาร ดาวเคราะห์น้อย (Minor planets) ดาวหาง (Comets) อุกกาบาต (Meteorites) ตลอดจนกลุ่มฝุ่นและก๊าซ ซึ่งเคลื่อนที่อยู่ในวงโคจร ภายใต้อิทธิพลแรงดึงดูด จากดวงอาทิตย์ ขนาดของระบบสุริยะ กว้างใหญ่ไพศาลมาก เมื่อเทียบระยะทาง ระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์ ซึ่งมีระยะทางประมาณ 150 ล้านกิโลเมตร หรือ 1au.(astronomy unit) หน่วยดาราศาสตร์ กล่าวคือ ระบบสุริยะมีระยะทางไกลไปจนถึงวงโคจร ของดาวพลูโต ดาว เคราะห์ที่มีขนาดเล็กที่สุด ในระบบสุริยะ
  • 6. ซึ่งอยู่ไกล เป็นระยะทาง 40 เท่าของ 1 หน่วยดาราศาสตร์ และยังไกลห่างออก ไปอีกจนถึงดงดาวหางอ๊อต (Oort’sCloud) ซึ่งอาจอยู่ไกลถึง 500,000 เท่า ของระยะทางจากโลกถึงดวงอาทิตย์ด้วย ดวงอาทิตย์มีมวล มากกว่าร้อยละ 99 ของ มวลทั้งหมดในระบบสุริยะ ที่เหลือนอกนั้นจะเป็นมวลของ เทหวัตถุต่างๆ ซึ่ง ประกอบด้วยดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์น้อย ดาวหาง และอุกกาบาต รวมไปถึงฝุ่นและก๊าซ ที่ล่องลอยระหว่าง ดาวเคราะห์ แต่ละดวง โดยมีแรงดึงดูด (Gravity) เป็นแรงควบคุมระบบสุริยะ ให้เทหวัตถุบนฟ้าทั้งหมด เคลื่อนที่เป็นไปตามกฏแรง แรงโน้มถ่วงของนิวตัน ดวงอาทิตย์แพร่พลังงาน ออกมา ด้วยอัตราประมาณ 90,000,000,000,000,000,000,000,000 แคลอรีต่อวินาที เป็นพลังงานที่เกิดจากปฏิกริยาเทอร์โมนิวเคลียร์ โดยการเปลี่ยนไฮโดรเจนเป็นฮีเลียม ซึ่งเป็นแหล่งความร้อนให้กับดาว ดาวเคราะห์ต่างๆ ถึงแม้ว่าดวงอาทิตย์ จะเสียไฮโดรเจนไปถึง 4,000,000 ตันต่อวินาทีก็ตาม แต่นักวิทยาศาสตร์ก็ยังมีความเชื่อว่าดวงอาทิตย์ จะยังคงแพร่พลังงานออกในอัตรา ที่เท่ากันนี้ได้อีกนานหลายพันล้านปี การจัดทาเรื่องนี้เพราะว่าได้ศึกษาค้นคว้า และรวบรวมเนื้อหาจัดทาเป็นสื่อการเรียนการสอนขึ้นมาโดยทาเนื้อหาให้น่าสนใจมากขึ้น เพราะสมัยนี้เด็กไทยมักจะเคร่งเครียดในวิชาวิทยาศาสตร์นี้มาก โดยเป็นปัญหาในวิชาวิทยาศาสตร์นั้นไม่น่าเรียน หรือไม่คิดอยากจะเรียนอีกเลยในความคิดของเด็กไทยในปัจจุบันแต่อย่างไรก็ตามกลุ่มข้าพเจ้าก็ได้จัดทาโคร งงานนี้เพื่ออยากให้เด็กสนใจวิชานี้มากขึ้น ทาให้สื่อการเรียนการสอนน่าสนใจ มากกว่าในตาราเรียน
  • 7. วัตถุประสงค์ 1.เพื่อศึกษาและการดาเนินการสร้างโครงงานระบบสุริยะ 2.เพื่อรู้และเข้าใจในระบบสุริยะของเรา 3.เพื่อศึกษาการเกิดของโลกที่มาจากการเกิดระบบสุริยะ 4. เพื่ออธิบายในชั้นเรียนได้ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1.รู้จักการกาเนิดระบบสุริยะ 2.ได้รู้ถึงดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ 3.ได้รู้ถึงวงโคจรของดาวต่างๆในระบบสุริยะ นิยามศัพท์เฉพาะ ระบบสุริยะ คือระบบดาวที่มีดาวฤกษ์เป็นศูนย์กลาง และมีดาวเคราะห์ (Planet) เป็นบริวารโคจรอยู่โดยรอบ เมื่อสภาพแวดล้อมเอื้ออานวย ต่อการดารงชีวิต ดาวเคราะห์ หมายถึง ดาวที่ไม่มีแสงสว่างในตัวเอง ดาวฤกษ์ (อังกฤษ: star) คือวัตถุท้องฟ้าที่เป็นก้อนพลาสมาสว่างขนาดใหญ่ที่คงอยู่ได้ด้วยแรงโน้มถ่วง ดาวฤกษ์ที่อยู่ใกล้โลกมากที่สุด คือ ดวงอาทิตย์ ซึ่งเป็นแหล่งพลังงานหลักของโลก
  • 8. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง ในการจัดทาโครงงานเรื่อง ระบบสุริยะ ผู้จัดทาได้ทาการศึกษาเอกสารและโครงงานเกี่ยวข้อง ประกอบด้วยหัวข้อต่างๆดังต่อไปนี้ ระบบสุริยะ ประกอบด้วยดวงอาทิตย์และวัตถุอื่นๆ ที่โคจรรอบดวงอาทิตย์ เช่น ดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์น้อย ดาวหาง และดาวบริวาร โลกเป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลาดับที่ 3 โดยทั่วไป ถ้าให้ถูกต้องที่สุดควรเรียกว่า ระบบดาวเคราะห์ เมื่อกล่าวถึงระบบที่มีวัตถุต่างๆ โคจรรอบดาวฤกษ์ ระบบสุริยะ คือระบบดาวที่มีดาวฤกษ์เป็นศูนย์กลาง และมีดาวเคราะห์ (Planet) เป็นบริวารโคจรอยู่โดยรอบ เมื่อสภาพแวดล้อมเอื้ออานวย ต่อการดารงชีวิต สิ่งมีชีวิตก็จะเกิดขึ้นบนดาวเคราะห์เหล่านั้น หรือ บริวารของดาวเคราะห์เองที่เรียกว่าดวงจันทร์ (Satellite) นักดาราศาสตร์เชื่อว่า ในบรรดาดาวฤกษ์ทั้งหมดกว่าแสนล้านดวงในกาแลกซี่ทางช้างเผือก ต้องมีระบบสุริยะที่เอื้ออานวยชีวิตอย่าง ระบบสุริยะที่โลกของเราเป็นบริวารอยู่อย่างแน่นอน เพียงแต่ว่าระยะทางไกลมากเกินกว่าความสามารถในการติดต่อจะทาได้ถึงที่โลกของเราอยู่เป็นระบบที่ประ กอบด้วย ดวงอาทิตย์ (The sun) เป็นศูนย์กลาง มีดาวเคราะห์ (Planets) 9ดวง ที่เราเรียกกันว่า ดาวนพเคราะห์ ( นพ แปลว่า เก้า) เรียงตามลาดับ จากในสุดคือ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน ดาวพลูโต ( ตอนนี้ไม่มีพลูโตแล้ว เหลือแค่8 ดวง ) และยังมีดวงจันทร์บริวารของ ดวงเคราะห์แต่ละดวง (Moon of sattelites) ยกเว้นเพียง สองดวงคือ ดาวพุธ และ ดาวศุกร์ ที่ไม่มีบริวาร ดาวเคราะห์น้อย (Minor planets) ดาวหาง (Comets) ซึ่งเคลื่อนที่อยู่ในวงโคจร ภายใต้อิทธิพลแรงดึงดูด จากดวงอาทิตย์ ขนาดของระบบสุริยะ กว้างใหญ่ไพศาลมาก เมื่อเทียบระยะทาง ระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์ ซึ่งมีระยะทางประมาณ 150 ล้านกิโลเมตร หรือ 1au.(astronomy unit) หน่วยดาราศาสตร์ กล่าวคือ
  • 9. ระบบสุริยะมีระยะทางไกลไปจนถึงวงโคจร ดวงอาทิตย์มีมวล มากกว่าร้อยละ 99 ของมวลทั้งหมดในระบบสุริยะที่เหลือ ชื่อของดาวเคราะห์ทั้ง 9ดวงยกเว้นโลก ถูกตั้งชื่อตามเทพของชาวกรีก เพราะเชื่อว่าเทพเหล่านั้นอยู่บนสรวงสวรรค์ และเคารพบูชาแต่โบราณกาล ในสมัยโบราณจะรู้จักดาวเคราะห์เพียง 5ดวงเท่านั้น(ไม่นับโลกของเรา) เพราะสามารถเห็นได้ ด้วยตาเปล่าคือ ดาวพุธ ดาวศุกร์ ดาวอังคาร ดาวพฤหัส ดาวเสาร์ ประกอบกับดวงอาทิตย์ และดวงจันทร์ รวมเป็น 7 ทาให้เกิดวันทั้ง 7ในสัปดาห์นั่นเอง และดาวทั้ง 7 นี้จึงมีอิทธิพลกับดวงชะตาชีวิตของคนเราตามความเชื่อถือทางโหราศาสตร์ บทที่ 3 วิธีการจัดทาโครงงาน วัสดุและอุปกรณ์ 1.แหล่งความรู้ทางอินเตอร์เน็ต 2.ข้อมูลจากเอกสาร บทความหนังสือ 3.คอมพิวเตอร์ วิธีการจัดทาโครงงาน 1.คิดหัวข้อโครงงาน 2.สืบค้นข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆ ทั้งหนังสือ และ อินเทอร์เน็ต 3.นาลงใน Microsoft word เกี่ยวกับเรื่องระบบสุริยะ 4.สร้างบล็อกใน Bloggle > ลงทะเบียนบล็อก > กรอกชื่อบล็อกของเราเอง 5.ออกแบบบล็อกในสไตล์เรา > ลงมือทา >Save > เผยแผ่ใน Social Google 6.ตรวจสอบความถูกต้องของโครงงาน
  • 10. 7.จัดทารูปเล่มส่งคุณครูที่ปรึกษาโครงงาน การสร้างเว็บบล็อก (Blogger) ขั้นตอนที่1 เข้าไปที่เว็บ http://www.blogger.com จะขึ้นหน้าจอตามรูป ขั้นตอนที่ 2 จากนั้นทาการสมัคร (สาหรับบุคคลที่ยังไม่มี Gmail) ถ้ามีแล้วให้ล๊อกอินได้เลย ขั้นตอนที่ 3 ให้กรอกข้อมูลตามความเป็นจริง ขั้นตอนที่ 4 คลิกที่ปุ่มสร้างบล๊อกใหม่
  • 12. ขั้นตอนที่ 8 คลิกปุ่ม "แสดงตัวอย่าง"ถ้าชอบแล้วกดบันทึก วิธีการดาเนินโครงงาน ที่ ขั้นตอนในการดาเนินงาน ระยะเวลาในการดาเนินงาน วันแรก สัปดาห์ที่ 1 สัปดาห์ที่ 2-3 สัปดาห์ที่ 4 1 คิดชื่อหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาค้นคว้ารวบรวมข้อมูล 3 จัดทาเค้าโครงงานเสนออาจารย์ที่ปรึกษา 4 ศึกษาโปรแกรมBlogger ในการสร้าง 5 ออกแบบสื่อ Blogger 6 จัดทาโครงงานสร้าง สื่อ Blogger เรื่องระบบสุริยะ 7 นาเสนอผ่านโปรแกรมBlogger 8 ทาเอกสารสรุปโครงงาน
  • 13. บทที่4 ผลการศึกษาโครงงาน จากการศึกษาเรื่อง ระบบสุริยะ และความสาคัญของ ระบบสุริยะโดยจัดทาให้ขอบเขตหัวข้อดังนี้ 1. เพื่อเป็นการศึกษาและเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 2. เพื่อเป็นการเรียนรู้ด้วยตนเอง ทาความเข้าใจได้เองแบบง่ายๆ 3. เพื่อทาเป็นเอกสารเพื่อศึกษาเรียนรู้เพิ่มเติม ปัญหาที่พบ ในการทาโครงงานในครั้งนี้พบว่าปัญหาเป็นการรวบรวมข้อมูลและต้องทาการวิเคราะห์เนื้อหาที่จะทาโครง งานระบบสุริยะ เพื่อให้ข้อมูลตรงกบความเป็นจริง
  • 14. บทที่5 สรุปอภิปราย ระบบสุริยะ คือ กลุ่มดาวกลุ่มหนึ่งใน กาแลกซี ทางช้างเผือก โดยมีดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลาง และมีดาวเคราะห์ 8ดวงเป็นบริวาร โคจรมารอบดวงอาทิตย์ โดยดาวเคราะห์ทั้งเก้าจะมีดวงจันทร์ที่โคจรรอบดาวเคราะห์ หรือไม่มีก็ได้ โดยดาวทั้งหมดจะได้รับแรงดึงดูดจากดวงอาทิตย์ องค์ประกอบระบบสุริยะจักรวาล ระบบสุริยะจักรวาล ประกอบด้วย 1. ดาวฤกษ์ เป็นดาวที่มีแสงสว่างในตัวเอง เกิดจากก๊าซที่มีการระเบิดอยู่ตลอกเวลา ให้พลังงานแสง และพลังงานความร้อน ได้แก่ดวงอาทิตย์ กลุ่มดาวจักราศี ดาวเหนือ 2. ดาวเคราะห์ เป็นดาวที่ไม่มีแสงสว่างในตัวเอง ต้องอาศัยแสง และพลังงานจากดวงอาทิตย์ โดยดาวฤกษ์จะมีทั้งหมด 9 ดวง ได้แก่ 2.1 ดาวพุธ (Mercury) ดาวพุธเป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ใกล้เคียงดวงอาทิตย์ที่สุด อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เฉลี่ยเพียง 1ใน 3 ของระยะห่างจากโลกถึง ดวงอาทิตย์ หรือประมาณ 60 ล้านกิโลเมตร และโคจรรอบดวง อาทิตย์ครบหึ่งรอบในเวลาเพียง 88 วัน เมื่อสังเกตจากโลก เราจะ เห็นดาวพุธอยู่ทางด้านตะวันออกของดวงอาทิตย์ ครึ่งรอบวงโคจร และอยู่ทางตะวันตกอีกครึ่งรอบ แต่ละช่วงก็คือเวลาประมาณเดือน เศษเท่านั้นธาตุที่พบในบรรยากาศของกาวพุธส่วนใหญ่ คือ ออกซิเจน โซเดียม ไฮโดรเจน และอีเลียม
  • 15. 2.2 ดาวศุกร์ (Venus) ดาวศุกร์เป็นดาวที่สุกสว่างที่สุดบนท้องฟ้ าโดยมีความสว่างเป็นรอง เพียงดวงอาทิตย์และดวงจันทร์เท่านั้นมีลักษณะการหมุนรอบตัวเองที่แปลกกว่าดาว เคราะห์ดวงอื่น ๆ คือ หมุนรอบตัวเองช้ามาก วันหนึ่งของดาวศุกร์มีความยาว 243 วันของโลก ดาวศุกร์จึงเป็นดาวที่เวลา 1วัน นานกว่า 1 ปี นอกจากนี้ดาวศุกร์ยัง หมุนรอบตัวเองตามเข็มนาฬิกา ซึ่งกลับข้างกับดาวเคราะห์ดวงอื่น ๆ ที่หมุนทวนเข็ม นาฬิกาจากข้อมูลจากยานเวเนอราทาให้นักดาราศาสตร์ทราบความจริงว่า พื้นผิวดาว ศุกร์ที่เคยคาดว่าเหมาะสมกับการดารงชีพเช่นเดียวกับโลกกับกลาย เป็นพื้นผิวที่ไม่ ต่างจากลักษณะของขุมนรกในจินตนาการ 2.3 โลก (The Earth) โลกเป็นดาวเคราะห์ที่ห่างดวงอาทิตย์ออกมาเป็นอันดับที่ 3 ในระบบ สุริยะ ที่ระยะห่างนี้มีความเหมาะสมหลายประการ เช่น บรรยากาศ น้าผืนดิน และพลังงาน ซึ่งเอื้อให้เกิดการวิวัฒนาการของสสารขึ้นจนถึงระดับที่ซับซ้อนมาก กล่าวคือ มีการวิวัฒนาการจากสารเคมีและโมเลกุลซึ่งไม่มีชีวิตเกิดเป็นสสาร อันมี ชีวิตจิตใจและมีความคิดเชิงตรรกะที่ซับซ้อนยิ่งบรรยากาศที่หนาแน่นมาก บรรยากาศนี้ประกอบด้วยก๊าซไนโตรเจนเป็นส่วนใหญ่ มีก๊าซออกซิเจนเป็น ส่วนผสมประมาณ 20% และก๊าซอื่น ๆเช่น คาร์บอนไดออกไซด์ ไอน้า อาร์กอน ฯลฯ เจือปนอยู่เล็กน้อย 2.4 ดาวอังคาร (MARS) ดาวอังคารมีบรรยากาศที่หนาแน่นไม่ถึง 1 ใน 100 ของบรรยากาศโลก แต่ถึงกระนั้นก็ยังมีพายุ ใหญ่ที่พัดปกคลุมดาวทั้งดวงเกิดขึ้นประปราย บรรยากาศของดาวอังคารประกอบด้วยก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์เป็นส่วนใหญ่ จึงสร้างสภาพเรือนกระจกที่ทาให้ผิวดาวร้อนขึ้นประมาณ 5องศา เซลเซียสจากค่าที่ควรจะเป็นหากไม่มีบรรยากาศ ดาวอังคารมีดวงจันทร์บริวารสองดวงชื่อ โฟบัส (Phobos) และดีมอส (Deimos) ค้นพบโดย อะชาฟฮอลล์ (Asaph Hall) นักดาราศาสตร์แห่งหอดูดาว กองทัพเรือสหรัฐอเมริกา ในปี ค.ศ. 1877 ซึ่งเป็นปีที่ดาวอังคารเข้าใกล้โลกมากที่สุดครั้งหนึ่ง พื้นผิวของ ดาวอังคารระเกะระกะด้วยภูเขาไฟจานวนมาก เช่น Olympus Mons และหุบเขาลึกชันมากมายเช่น VallesMarinerisแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยาที่เคยเกิดขึ้นก่อนหน้านี้ สีของดาวอังคาร ที่เราเห็นเป็นสีแดง เป็นเพราะสนิมที่มีอยู่ในพื้นดินอันเต็มไปด้วยเหล็ก 2.5 ดาวพฤหัส (Jupiter) ดาวพฤหัสบดีเป็นดาวเคราะห์ก๊าซ ( Jovian Planet ) ขนาดยักษ์ที่อยู่ห่างจากดวง อาทิตย์ออกไปเป็นระยะทางประมาณ 5.2 หน่วยดาราศาสตร์ ซึ่งห่างไกลกว่าวงโคจรของ ดาวอังคารกว่า 3 เท่า ที่ระยะห่างนี้ พลังงานจากดวงอาทิตย์แผ่มาถึงน้อยลง ก๊าซและ สสารที่ระเหยง่ายจึงเริ่มรวมตัวขึ้นได้ ดาวพฤหัสบดีมีปริมาตรที่สามารถบรรจุโลกไว้ได้กว่า 1,300 ดวง
  • 16. และมีมวลมากกว่าสองเท่าของดาวเคราะห์อื่นๆ ในระบบสุริยะรวมกันดาว พฤหัสบดีมีดวงจันทร์บริวาลที่รู้จักแล้วทั้งสิ้น 63 ดวง ดวงที่ใหญ่ที่สุด 4 ดวงคือ แกนิ มีด คัลลิสโต ไอโอ และยุโรปา มีลักษณะคล้ายคลึงกับลักษณะของดาวเคราะห์ใกล้โลก เช่นมีภูเขาไฟ และมีกระบวนการความร้อนภายในของดาว ดวงจันทร์แกนิมีดเป็นดาว บริวารที่ใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะ มีขนาดใหญ่กว่าดาวพุธเสียอีก 2.6 ดาวเสาร์(Saturn) ดาวเสาร์เป็นดาวเคราะห์ก๊าซที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสองรองจาก ดาวพฤหัสบดี โดยมีขนาดเล็กกว่าดาวพฤหัสบดีประมาณ 1 ใน 5แต่ถึงกระนั้นก็ยังมี ขนาดใหญ่กว่าโลกกว่า 9 เท่า ละมีปริมาตรที่สามารถบรรจุโลกไว้ได้ถึง 763 ดวง องค์ประกอบหลักของดาวเสาร์ คือ ไนโตรเจน 75% และฮีเลียม 25% และ องค์ประกอบย่อยต่างๆในอัตราส่วนที่คล้ายกับดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์มีความหนาแน่น เฉลี่ยทั้งดวงต่าสุดในระบบสุริยะ โดยมีความหนาแน่นเฉลี่ยประมาณ 0.7 กรัม/ ลูกบาศก์เซนติเมตรเท่านั้น นั่นคือดาวเสาร์จะลอยน้าได้ ( หากเรามีอ่างน้าที่ใหญ่พอ สาหรับดาวเสาร์ )ในจานวนดวงจันทร์ทั้งหมดมีอยู่ 2 ดวงคือ ไททัน และเอนเซลาดัส แสดงให้เห็นสัญญาณของการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยา 2.7 ดาวยูเรนัส (Uranus) ดาวยูเรนัสค้นพบโดย วิลเลียม เฮอร์เชล(William Hershel) นักดาราศาสตร์ สมัครเล่นชาวเยอรมันที่มาตั้งรกรากในอังกฤษได้ใช้กล้อง โทรทรรศน์ขนาด 6.4 นิ้วที่เขา ประดิษฐ์ขึ้นเองส่องสารวจท้องฟ้ าอย่างเป็นระบบ ดาวยูเรนัสโคจรรอบดวงอาทิตย์หนึ่งรอบ ในเวลา 84 ปีของโลก ลักษณะการโคจรที่โดดเด่นที่สุดของดาวยูเรนัส คือ แกนของดาว เอียงทามุมกับระนาบสุริยะถึง 98 องศา หรือเกินกว่ามุมฉากมาเล็กน้อย ดาวยูเรนัสจึง หมุนรอบตัวเองในลักษณะตะแคงข้าง ซึ่งส่งผลให้ฤดูกาลของดาวยูเรนัสยาวนานมากซีก หนึ่งของดาวจะอยู่ในฤดูหนาวนาย 42 ปี ในขณะที่อีกซีกหนึ่งอยู่ในฤดูร้อนนาน 42ปีดาว ยูเรนัสมีดวงจันทร์ที่รู้จักแล้ว 21 ดวง (สิงหาคม ค.ศ. 2003) มีชื่อเรียกแล้วทั้งหมด 2.8 ดาวเนปจูน (Neptune) ดาวเนปจูนอยู่โคจรอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เฉลี่ย 4,500 ล้าน กิโลเมตร หรือประมาณ 30 เท่าของระยะทางจากโลกถึงดวงอาทิตย์ เวลา 1 ปีของดาวเนปจูนหรือระยะเวลาที่ดาวเนปจูนใช้ในการโคจรรอบดวงอาทิตย์ หนึ่งรอบยาวถึง 165 ปีของโลกดาวเนปจูนเป็นดาวเคราะห์ก๊าซที่มีขนาดเล็ก กว่าดาวยูเรนัสเล็กน้อย คือ มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 50,000 กิโลเมตร ดาวเนปจูนมีปริมาตรมากกว่าโลกประมาณ 60เท่า ในขณะที่มีมวลมากกว่า โลก 17 เท่า ซึ่งแสดงว่าลักษณะโครงสร้างภายในของดาวเนปจูนน่าจะคล้าย กับดาวยูเรนัสมากกว่าดาวพฤหัสบดีหรือดาวเสาร์ นักดาราศาสตร์ได้พบดาว
  • 17. บริวารสองดวงที่หมุนรอบดาวเนปจูน ดาวดวงหนึ่งมีขนาดเล็กชื่อว่า Neried และดาวบริวารดวงอื่นๆของดาวเนปจูนคือดาว Triton บรรณานุกรม http://www.narit.or.th/index.php/astro/solsys https://th.wikipedia.org/wiki/ระบบสุริยะ http://guru.sanook.com/7270/ https://www.blogger.com/about/?hl=th