SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
142


                                               บทที 7

                                       กาแล็กซีและเอกภพ
     1. เอกภพ
                                                                                  ั
           นั ก ปราชญ์ ใ นสมัย ก่ อ นมีค วามคิ ด เกี ยวกั บ เอกภพที แตกต่ า งจากป จ จุ บ ัน มากซึ งจะมี
ความสัมพันธ์กบศาสนา จึงสร้างแบบจําลองของเอกภพออกเป็ นสองส่วน โดยจินตนาการด้วยการใช้โดม
                 ั
แบ่ งเอกภพออกเป็ นด้านนอกเป็ นโลกของเทพและด้านในก็เป็ นโลกของมนุ ษ ย์ และหลังจาก ศริส ต์
ศตวรรษที 17 เป็ นต้นมา ความรูของวิชาดาราศาสตร์ได้พฒนาขึนจากการสังเกตการณ์ การเก็บข้อมูล
                                    ้                         ั
ของนักดาราศาสตร์ อุปกรณ์ทใช้ในการสังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ ซึงจากเดิมทีแนวคิดส่วนใหญ่ทมา
                              ี                                                                     ี
จากจิน ตนาการและการคาดเดาล้ ว น ๆ ก็ ป รากฏชัด ขึนโดยอยู่ บ นพืนฐานของดาราศาสตร์ แ ละ
                           ั ั
วิทยาศาสตร์ และจนถึง ปจจุบนนีทฤษฎีทไม่สามารถอธิบายปรากฏการณ์ ทีฮับเบิลสังเกตได้ย่อมไม่
                                            ี
น่ าเชือถือ

          ในศตวรรษที 20 ทฤษฎีทใช้อธิบายกําเนิดหรือความเป็ นมาของเอกภพก็มความชัดเจนมากขึน
                                 ี                                          ี
และน่ าเชือถือมากขึน มีอยู่สองทฤษฎีทสําคัญ คือ ทฤษฎีการระเบิดครังใหญ่ หรือบิกแบง (Big Bang)
                                     ี
และทฤษฎีสภาวะคงที(Steady State Theory) นักดาราศาสตร์ และพระชาวเบลเยียม ชือ อับเบ จอร์ช
เลเมตเทรอ ( Abbe Georges Lemaitre ) เป็ นผูตงทฤษฎีการระเบิดครังยิงใหญ่ขนเมือปีค.ศ.1927 ส่วน
                                             ้ ั                          ึ
ทฤษฎีสภาวะคงทีเป็ นทฤษฎีตงขึนมาโดยคณะนักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษสามคน คือ เฟรด ฮอยล์
                              ั
(Fred Hoyle) เฮอร์แมน บอนได (Herman Bondi ) และ โทมัส โกลด์ ( Thomas Gold ) เมือปี ค.ศ.
1948            ตามทฤษฎีการระเบิดครังใหญ่นีเชือว่าเอกภพมีกําเนิดมาจากการระเบิดของมวลสารและ
พลังงานทีอัดกันแน่ น ณ จุดเดียว ซึงจุดนันมีความหนาแน่ นเป็ นอนันต์ ส่วนทฤษฎีสภาวะคงทีนัน เอก
ภพไม่มจุดกําเนิด และไม่มวาระสุดท้าย ดวงดาวมีการเกิด และตายได้ แต่โดยภาพรวมแล้ว เอกภพมี
        ี                  ี
                 ่ ั ั
สภาพดังทีเป็ นอยูในปจจุบนมานานแล้ว และจะมีสภาพเป็ นดังนีตลอดไป

     นั ก ดาราศาสตร์พ บหลัก ฐานทางวิท ยาศาสตร์ส่ ว นใหญ่ ทีสนั บ สนุ น กับ การกํ า เนิ ด เอกภพและ
วิวฒนาการของเอกภพตามทฤษฎีบก แบงจนได้รบการตังชือว่าเป็ นแบบจําลองมาตรฐาน ซึงอยู่บน
   ั                             ิ          ั
พืนฐานของการค้นพบเชิงการทดลองและความก้าวหน้าเชิงทฤษฎีของฟิสกส์พลังงานสูง
                                                                   ิ




นายกันต์ธนากร น้อยเสนา ครูวชาการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุ สรณ์ (nu@mwit.ac.th, Tel.02-8497210)
                           ิ
143


    2. กําเนิ ดเอกภพ
        ตามทฤษฎีการกําเนิดแบบบิกแบง จุดทีมีความหนาแน่ นเป็ นอนันต์ได้เกิดระเบิดขึน เหตุการณ์
ต่าง ๆ เป็ นไปดังนี จากสมมุตฐานว่าเอกภพมีอายุ 20,000 ล้านปี
                            ิ



            เวลา                                 เหตุการณ์ สาคัญ
                                                            ํ
        10-44 วินาที       เกิดอนุ ภาคพืนฐานขึน
         10-6 วินาที       ควาร์ก (quark) ถูกกลูออน (gluon) รัดไว้ภายในฮาร์ดอน (hardron)
           1 วินาที        นิวตริโน (neutrino) กระจายไปอย่างอิสระ
           3 นาที          เกิดธาตุ H และ He เป็ นระยะแผ่รงสีเป็ นหลัก
                                                           ั
          10,000 ปี        มีมวลสารกระจัดกระจายไปทัวเอกภพ เป็ นระยะทีมีมวลสารเป็ นหลัก
         100,000 ปี        เกิดไฮโดรเจนอะตอม เอกภพชัดเจนขึน
    1,000 – 2,000 ล้านปี   กาแล็กซีเริมก่อตัว
        3,000 ล้านปี       กระจุกกาแล็กซีเริมก่อตัว
        4,000 ล้านปี       ดาวฤกษ์รนแรกเริมก่อตัว
                                      ุ่
        5,000 ล้านปี       ดาวฤกษ์ในดาวฤกษ์ประชากร II เริมก่อตัว
       10,000 ล้านปี       ดาวฤกษ์ในดาวฤกษ์ประชากร I เริมก่อตัว
       15,000 ล้านปี       เนบิวลาดังเดิมของดวงอาทิตย์ก่อตัว
       15,500 ล้านปี       ดาวเคราะห์ก่อตัวขึน เริมเกิดหินแร่
       17,000 ล้านปี       เกิดสิงมีชวตขนาดเล็กบนโลก
                                     ีิ
       18,000 ล้านปี       เกิดชันบรรยากาศห่อหุมโลก
                                                  ้
       19,600 ล้านปี       เกิดสัตว์ประเภทปลา
       19,900 ล้านปี       เกิดสัตว์เลียงลูกด้วยนม
       20,000 ล้านปี       เกิดมนุ ษย์




นายกันต์ธนากร น้อยเสนา ครูวชาการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุ สรณ์ (nu@mwit.ac.th, Tel.02-8497210)
                           ิ
144




                   รูปที 1 การเกิดเอกภพจากทฤษฎีการระเบิดครังใหญ่
                          (ทีมาจาก http://physics.uoregon.edu)




          จากการกําเนิดเอกภพตามทฤษฎีบกแบงนีมีหลักฐานทีสําคัญอยู่ 2 ข้อด้วยกันคือ
                                     ิ

       1. การค้นพบของฮับเบิลว่ากาแล็กซีกําลังเคลือนทีหนีห่างออกจากันด้วยความเร็วทีเพิมขึน
          ตามระยะทาง กาแล็กซีทอยูไกลยิงเคลือนทีห่างออกไปเร็วกว่ากาแล็กซีทอยู่ใกล้นันคือ เอก
                                  ี ่                                       ี
          ภพกําลังขยายตัวจากความเข้าใจในเรืองนีทําให้นักดาราศาสตร์สามารถคํานวณอายุของ
          เอกภพได้การขยายตัวของเอกภพ ซึงตามทฤษฎีกําเนิดเอกภพจากการระเบิดครังยิงใหญ่
          อธิบายว่าเป็ นผลจากการระเบิดครังยิงใหญ่ในอดีตนันเอง ส่งผลให้ทุกสิงทุกอย่างในเอกภพ
          เคลือน ทีหนีออกจากกัน จนกระทังทุกวันนีสําหรับทฤษฎีสภาวะคงที ก็อธิบายการขยายตัว
          ของเอกภพได้เช่นกันว่าเป็ นผลจากการเกิดของอนุ ภาคใหม่ ซึงอาจเกิดจากการสลายตัว
          ของพลังงานแล้วเปลียน ไปเป็ นสสาร ตามสมการ E = mc2 แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง
          สสารกับพลังงานของไอน์ สไตน์ เมือมีอนุ ภาคใหม่เกิดขึน ก็ดนพืนทีของอวกาศรอบตัว
                                                                    ั
          อนุ ภาค ทําให้อนุ ภาคอืนๆ ขยับเคลือนทีห่างออกไป ผลคือทําให้เอกภพขยายตัว แต่
          คําอธิบายนี ไม่ชด เจนเท่ าคํา อธิบ ายการขยายตัว ของเอกภพตามทฤษฎีก ารระเบิด ครัง
                          ั
          ยิงใหญ่



นายกันต์ธนากร น้อยเสนา ครูวชาการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุ สรณ์ (nu@mwit.ac.th, Tel.02-8497210)
                           ิ
145


       2. การค้นพบคลืนรังสีความร้อนระดับไมโครเวฟ มีอุณหภูมประมาณ 3 เคลวิน กระจาย อยู่
                                                              ิ
          ทัวไปในเอกภพอย่างสมําเสมอโดยนักวิทยาศาสตร์สองคน คือ โรเบิรต วิลสัน (Robert
                                                                          ์
          Wilson) และ อาร์โน เพนเซียส ( Arno Penzius ) เมือปี ค.ศ. 1965 ซึงทําให้เอกภพมี
          สภาพคล้ายจมอยู่ในทะเลพลังงานความร้อน คลืนรังสีความร้อนทีกระจายอยู่ทวไปในเอก
                                                                                  ั
          ภพนี สอดคล้องรับกับทฤษฎีกําเนิดเอกภพจากการระเบิดครังยิงใหญ่ได้อย่างดีว่า เป็ น
                                                      ั ั
          พลังงานของการระเบิดทียังหลงเหลืออยู่ถึง ปจจุบน เพราะเมือคํานวณจากขนาดของ
                                          ั ั
          พลังงานความร้อนทีเหลืออยู่ในปจจุบน ย้อนหลังไปสู่จุดกําเนิดทีมา ก็จะลงตัวได้อย่าง
          ค่อนข้างดี จนกระทังคลืนรังสีความร้อนประมาณ 3 เคลวินนี ถูกเปรียบเทียบเรียกเป็ นเสียง
                                    ี        ่      ิ      ั ั
          จากการระเบิดครังยิงใหญ่ทยังเหลืออยูให้ได้ยนกันในปจจุบน

          เมือมวลสารได้เกิดขึนแล้ว เอกภพถือกําเนิดและมีอายุ สิงทีนักดาราศาสตร์สงสัยต่อไปก็คอ
                                                                                           ื
   เอกภพของเราเป็ นแบบใด นักดาราศาสตร์ได้ทาการเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ผลทีได้ตามกระบวนการ
                                            ํ
   ทางวิทยาศาสตร์ ทําให้ได้สมมติฐานเกียวกับแบบจําลองของเอกภพดังนี


          1. เอกภพมีความสมําเสมอในทุกแห่ง และทุกทิศทาง
                               ่                ่
          2. เอกภพประกอบด้วยฝุนอย่างสมําเสมอ ฝุนแต่ละเม็ดก็คอกาแล็กซี 1 กาแล็กซี
                                                            ื

          จากข้อสมมติฐานทัง 2 ข้อ และทฤษฎีสมพัทธภาพทัวไป ทําให้ได้แบบจําลองของเอกภพ
                                               ั
ขึนมา 3 แบบทีกําลังมีการขยายตัว เรียกว่า เอกภพปิ ด (Closed) เอกภพแบน (Flat) และเอกภพเปิ ด
(Open)




         รูปที 2 แบบจําลองการขยายตัวของเอกภพทีเขียนระหว่างรัศมี R และเวลา t
                  แบบจําลองทัง 3 ต่างก็กําลังขยายตัวตามทีฮับเบิลสังเกตได้


นายกันต์ธนากร น้อยเสนา ครูวชาการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุ สรณ์ (nu@mwit.ac.th, Tel.02-8497210)
                           ิ
146


                           (เอกสารอบรมครูดาราศาสตร์,2544)

       1. เอกภพปิ ด(Closed Universe) : นันคือเอกภพมีความหนาแน่ นของมวลสารและ พลังงาน
          มากเพียงพอ จนแรงโน้มถ่วงสามารถเอาชนะแรงดันออกหลังจากการระเบิด ครังใหญ่ได้
          ในทีสุดเอกภพจะหดตัวกลับ และถึงจุดจบทีเรียกว่า บิกครันช์ (Big Crunch)
       2. เอกภพแบน (Flat Universe) : นันคือ เอกภพมีความหนาแน่ นของมวลสารและพลังงาน ใน
          ระดับทีแรงโน้ มถ่วงสมดุลกับแรงดันออกหลังจากการระเบิดครังใหญ่ ในทีสุดเอกภพจะ
          ขยายตัว แต่ดวยอัตราทีช้าลงเรือยๆ
                       ้
       3. เอกภพเปิด (Open Universe): นันคือ เอกภพมีความหนาแน่ นของมวลสารและ
          พลังงาน ตําเกินไป ทําให้แรงโน้มถ่วง ไม่สามารถเอาชนะแรงดันออกหลังจากการ

          ระเบิดครังใหญ่ได้ เอกภพจะขยายตัวอย่างต่อเนืองไปเรือย ๆ จนกระทังอุณหภูมของ
                                                                                ิ

          เอกภพเข้าใกล้ศูนย์องศาสัมบูรณ์ เมือถึงเวลานัน จะไม่มพลังงานหลงเหลืออยูอก
                                                              ี                ่ ี

          อะตอม และโมเลกุลต่างๆ จะหยุดนิงไม่มการเคลือนทีใดๆ เรียกว่า บิกชิลล์ (Big
                                             ี

          Chill)


   3. กําเนิ ดและวิ วฒนาการของกาแล็กซี
                         ั
            กาแล็กซีมกําเนิดมาอย่างไร แนวคิดทีมีการเสนอกันมากซึงได้รบความสนใจอย่างยิง ก็คอ
                       ี                                               ั                    ื
   มีจุดหรือเมล็ดพันธุแห่งดวงดาว หรือกาแล็กซี ทีเป็ นเสมือนหนึงคลืนเล็กๆ ท่ามกลางทะเลอนุ ภาค
                           ์
   แห่งเอกภพ ก่อกําเนิดขึนหลังบิกแบง ทําให้เกิดการเสียสมดุลของแรงดึงดูดโน้มถ่วงในเอกภพ ผล
   ต่อมา จึงเป็ นการรวมตัวกันมากขึนของก๊าซและฝุ่นผง รอบเมล็ดพันธุ์แห่งดวงดาว หรือกาแล็กซี
   จนกระทังเกิดเป็ นกลุ่มดวงดาว และก๊าซทีเป็ นตัวตนชัดเจน คือ กาแล็กซี ความคิดเรืองเมล็ดพันธุ์
   แห่งดวงดาว หรือกาแล็กซีนี ถึงแม้จะมีหลักฐานทีมีการค้นพบบ้างแล้วดังทีปรากฏเป็ นข่าวใหญ่ของ
   วงการดาราศาสตร์เมือต้นทศวรรษที 90 แต่กยงเป็ นความคิด ทฤษฎี และหลักฐาน ทีจะต้องมีการ
                                               ็ ั
   ตรวจสอบให้แน่ ชดต่อไปอีก อย่างไรก็ตามถึงแม้กําเนิดหรือวิวฒนาการทีแท้จริงของกาแล็กซี จะยัง
                     ั                                        ั
                 ั                            ั ั
   เป็ นประเด็นปญหาท้าทายนักวิทยาศาสตร์ปจจุบนอยู่ แต่ความเข้าใจในการกําเนิดของกาแล็กซีใน
   ปจจุบนก็คอ หลังกําเนิดบิกแบงไปแล้วประมาณสามแสนปี จงเริมมีการรวมตัวกันของก๊าซและฝุ่นผง
     ั ั ื                                                 ึ
   ทีกระจายกันอยูทวไปในเอกภพ เป็ นสภาพการก่อตัวกันเพือกําเนิดเป็ นดาวฤกษ์ และสิงอืนๆ ต่อไป
                   ่ ั
   สภาพของเอกภพในช่วงนีจึงมีกลุ่มก๊ าซ และฝุ่นผง ทีพยายามรวมตัวกันเกิดเป็ นสภาพก่ อนเป็ น
   กาแล็กซี หรือ Protogalaxy กระจายกันอยู่เป็ นแห่งๆ ต่อมาจึงเปลียนแปลงเกิดเป็ นดาวฤกษ์เต็มตัว
   และส่วนประกอบอืนๆในเอกภพเป็ นกาแล็กซีเต็มตัว



นายกันต์ธนากร น้อยเสนา ครูวชาการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุ สรณ์ (nu@mwit.ac.th, Tel.02-8497210)
                           ิ
147




             รูปที 3 จุดกําเนิดเอกภพ วิวฒนาการเป็ นกาแล็กซี และการเคลือนที
                                         ั
                                 ห่างออกจากกันของกาแล็กซี
                            (ทีมาจาก http://th.wikipedia.org/wiki)

    4. การจําแนกชนิ ดของกาแล็กซี
       นักดาราศาสตร์พบว่ากาแล็กซีมรปร่างแตกต่างกันไป บ้างก็มรปร่างเป็ นทรงรี บ้างก็มรปร่างเป็ น
                                     ีู                     ีู                      ีู
กังหัน บ้างก็มรปร่างไม่แน่ นอน เป็ นต้น ในปี ค.ศ.1920 ฮับเบิล(Hubble) นักดาราศาสตร์แห่งหอ
              ีู
สังเกตการณ์เมาท์วลสัน (Mount Wilson Observatory) ได้ศกษา และจําแนกออก เป็ น 3 ประเภทคือ
                 ิ                                   ึ

               1. กาแล็กซีแบบทรงรี (Elliptical Galaxy)
               2. กาแล็กซีแบบกังหัน (Spiral Galaxy)
               3. กาแล็กซีแบบรูปร่างไม่ปกติ (Irregular Galaxy)




นายกันต์ธนากร น้อยเสนา ครูวชาการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุ สรณ์ (nu@mwit.ac.th, Tel.02-8497210)
                           ิ
148




                         รูปที 4 ลักษณะของกาแล็กซีแบบต่าง ๆ
                          (มูลนิธส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการ,2547)
                                 ิ

           กาแล็กซีแบบทรงรี (Elliptical Galaxy)
           กาแล็กซีทพบจํานวนมากนัน นักดาราศาสตร์พบว่ามีรปร่างแบบทรงรี ซึงมีขนาดใหญ่ทสุด
                      ี                                       ู                          ี
                        13
       มีมวลประมาณ 10 เท่าของมวลของดวงอาทิตย์ และมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 105 พาร์เซก
       กาแล็กซีแบบทรงรีขนาดยักษ์ (Giant Elliptical)ดังกล่าวนี ค่อนข้างจะหายาก แต่ทพบมากทีสุด
                                                                                  ี
       ได้แก่ กาแล็กซีขนาดเล็ก (Dwarf Elliptical) ซึงมีมวลประมาณ 2.3 ล้านเท่าของดวงของดวง
       อาทิตย์ และมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 2000 พาร์เซค(parsec, pc).เท่านัน กาแล็กซีขนาดเล็ก
       ดังกล่าวนีสังเกตการณ์ได้โดยใช้กล้องดูดาวขนาดใหญ่มาก ซึงต้องประกอบด้วยอุปกรณ์วด      ั
       สัญญาณทางอิเล็กโทรนิคส์ และคอมพิวเตอร์ทมีความไวสูง เช่น เครืองคู่ควบประจุ (Charge
                                                   ี
       Coupled Device, CCD) เครืองขยายความเข้มของภาพ (Image Intensifier) เป็ นต้น




นายกันต์ธนากร น้อยเสนา ครูวชาการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุ สรณ์ (nu@mwit.ac.th, Tel.02-8497210)
                           ิ
149




 รูปที 5 กาแลกซีแบบรี รูปร่างของกาแล็กซีประเภทนี มีตงแต่เกือบเป็ นทรงกลม (Circular) ซึงฺ
                                                        ั
            ฮับเบิลกําหนดว่าเป็ นชนิด E0 จนถึงรูปร่างค่อนข้างรีมากเป็ นชนิด E7”
                            (เอกสารอบรมครูดาราศาสตร์,2544)

           กาแล็กซีแบบกังหัน (Spiral Galaxy)
              กาแล็กซีแบบนี พบว่าประกอบด้วย บริเวณใจกลางทีมีดาวอยู่รวมกันหนาแน่ น เรียกว่า”
     นิวเคลียส (Nucleus)” และมีแขนยืนม้วนออกไปในลักษณะกังหัน (Spiral) ทังนิวเคลียสและแขน
     กังหัน ประกอบขึนจากดาวฤกษ์ ฝุ่นและก๊าซ ระหว่างดาวจํานวนมหาศาลในเอกภพเมือเทียบ
     กาแล็กซีดงกล่าวนีกับกาแล็กซีแบบทรงรี พบว่ามีจานวนไม่มากนักอย่างไรก็ตาม กาแล็กซีแบบ
                 ั                                ํ
     กังหันนีมีขนาดใหญ่และมีความสว่างมาก จึงพบเห็นได้ง่ายกว่ากาแล็กซีแบบทรงรี กาแล็กซีแบบ
     กังหันนี จําแนกประเภทออกตามลักษณะของแขนกังหันและนิวเคลียสออกได้ 3 ประเภท คือ



       1. ชนิด Sa แขนกังหันรอบนิวเคลียสค่อนข้างกระชับมากและมีนิวเคลียสขนาดใหญ่
       2. ชนิด Sb แขนกังหันเริมคลายออกบ้าง และนิวเคลียสมีขนาดเล็กลง กาแล็กซีทาง
          ช้างเผือก และกาแล็กซีแอนโดรเมดา จัดอยูในประเภทนี
                                                ่
       3. ชนิด Sc แขนกังหันกางออกมาและมีนิวเคลียสขนาดเล็ก


       กาแล็กซีแบบกังหันเหล่านีอาจมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางตังแต่10,000 ถึง 80,000 pc และมีมวล
       ระหว่าง 109 ถึง 1012 เท่าของมวลดวงอาทิตย์ คาดว่ากาแล็กซีทางช้างเผือกของเรามีมวล
       ประมาณ 1011 เท่าของมวลดวงอาทิตย์ ซึงโดยเฉลียแล้วน่ าจะประกอบด้วยดาวฤกษ์ประมาณ
       หนึงแสนล้านดวงทีเดียวจากการศึกษาและรวบรวมข้อมูลเกียวกับลักษณะของกาแล็กซีแบบ
       กังหันโดยละเอียด พบว่ากาแล็กซีเหล่านีประมาณหนึงในสามมีลกษณะเป็ นแท่งตรง(Bar) ยืน
                                                                  ั

นายกันต์ธนากร น้อยเสนา ครูวชาการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุ สรณ์ (nu@mwit.ac.th, Tel.02-8497210)
                           ิ
150


       ออกมาจากนิวเคลียสก่อน แล้วจึงมีลกษณะม่วนรอบนิวเคลียสต่อจากแขนตรงออกมา ซึงแบ่ง
                                        ั
       ออกเป็ น 3 ประเภท คล้ายกาแล็กซีแบบกังหันปกติ คือ SBa SBb และ SBc

               กาแล็กซีรปร่างไม่ปกติ (Irregular Galaxy)
                            ู
               กาแล็กซีทค้นพบทังหมด พบว่ามีจานวนประมาณ 2.3 % ทีมีรปร่างไม่แน่ นอน ซึงไม่
                          ี                   ํ                       ู
       อาจจัดได้ว่าเป็ นแบบทรงรีหรือแบบกังหันปกติได้ ตัวอย่างของกาแล็กซีประเภทนี ได้แก่
       กาแล็กซีแมก เจลแลน (Magellanic Clound) ซึงเป็ นกาแล็กซีแบบรูปร่างไม่ปกติ และอยูใกล้
                                                                                     ่
       กาแล็กซีทางช้าง เผือกมากทีสุด สามารถมองเห็นได้ดวยตาเปล่าเป็ นแถบฝ้าขนาดใหญ่บน
                                                           ้
       ท้องฟ้า กาแล็กซีแบบรูปร่างไม่ปกตินี บางกาแล็กซีมโครงสร้างของแขนตรง (Bar) ประกอบอยู่
                                                        ี
       ด้วยฮับเบิล แยกประเภทของกาแล็กซีเหล่านีออกเป็ น2 ชนิด คือ



       1. Irregular I หรือ Irr I เป็ นกาแล็กซีแบบรูปร่างไม่ปกติ ทีสามารถสังเกตเห็นดาวฤกษ์ ชนิด
          O และ B ตลอดจนบริเวณของกลุ่มไฮโดรเจนทีไอออไนซ์ได้อย่างเด่นชัด ตัวอย่าง เช่น
          กาแล็กซีแมกเจลแลนใหญ่ (Large Magellanic Cloud) เป็ นต้น
       2. Irregular II หรือ Irr II เป็ นกาแล็กซีแบบรูปร่างไม่ปกติ ทีไม่สามารถมองเห็นดาวหรือกลุ่ม
          ก๊าซต่างๆ ได้เลย แสดงว่ากาแล็กซีชนิดนีประกอบด้วย ดาวทีมีความสว่างน้อยและมีฝุ่น
          และก๊าซกระจัดกระจาย การสังเกตการณ์ทางสเปกโตรสโคปี พบว่าก๊าซจํานวนมหาศาลพลุ่ง
          ออกมาด้วยอัตราเร็วสูงในบางบริเวณ บางครังเรียกกาแล็กซีประเภทนีว่า ”กาแล็กซีระเบิด
          (Exploding Galaxy)” ตัวอย่างเช่น กาแล็กซี NGC 3034 เป็ นต้น




                               รูปที 4.6 กาแล็กซีแมกเจลแลน
                           (มูลนิธส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการ,2547)
                                  ิ




นายกันต์ธนากร น้อยเสนา ครูวชาการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุ สรณ์ (nu@mwit.ac.th, Tel.02-8497210)
                           ิ
151


เอกสารอ้างอิง




นายกันต์ธนากร น้อยเสนา ครูวชาการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุ สรณ์ (nu@mwit.ac.th, Tel.02-8497210)
                           ิ

More Related Content

What's hot

โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง เอกภพ
โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพโลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพ
โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง เอกภพMoukung'z Cazino
 
Universe
UniverseUniverse
Universeyokyoi
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะTa Lattapol
 
Astronomy VII
Astronomy VIIAstronomy VII
Astronomy VIIChay Kung
 
ระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาลระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาลMiewz Tmioewr
 
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลกโครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลกttt ttt
 
Astronomy VI
Astronomy VIAstronomy VI
Astronomy VIChay Kung
 
ดาราศาสตร์และอวกาศ
ดาราศาสตร์และอวกาศดาราศาสตร์และอวกาศ
ดาราศาสตร์และอวกาศjihankanathip
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์Ta Lattapol
 
สารคดีจักรวาล
สารคดีจักรวาลสารคดีจักรวาล
สารคดีจักรวาลfarimfilm
 
ดาราศาสตร์
ดาราศาสตร์ดาราศาสตร์
ดาราศาสตร์ployprapim
 
ความหมายของดาวฤกษ์
ความหมายของดาวฤกษ์ความหมายของดาวฤกษ์
ความหมายของดาวฤกษ์Noknun Luesat
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศPinutchaya Nakchumroon
 
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาลโครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาลMeanz Mean
 

What's hot (20)

ดาราศาสตร์
ดาราศาสตร์ดาราศาสตร์
ดาราศาสตร์
 
โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง เอกภพ
โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพโลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพ
โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง เอกภพ
 
Astronomy V
Astronomy VAstronomy V
Astronomy V
 
Unit2 เอกภพและกาแล็กซี่
Unit2 เอกภพและกาแล็กซี่Unit2 เอกภพและกาแล็กซี่
Unit2 เอกภพและกาแล็กซี่
 
Universe
UniverseUniverse
Universe
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
Astronomy VII
Astronomy VIIAstronomy VII
Astronomy VII
 
ระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาลระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาล
 
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลกโครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
 
Astronomy VI
Astronomy VIAstronomy VI
Astronomy VI
 
ดาราศาสตร์และอวกาศ
ดาราศาสตร์และอวกาศดาราศาสตร์และอวกาศ
ดาราศาสตร์และอวกาศ
 
Bigbang
BigbangBigbang
Bigbang
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
 
Big Bang theory - ทฤษฏีบิกแบง
Big Bang theory - ทฤษฏีบิกแบงBig Bang theory - ทฤษฏีบิกแบง
Big Bang theory - ทฤษฏีบิกแบง
 
สารคดีจักรวาล
สารคดีจักรวาลสารคดีจักรวาล
สารคดีจักรวาล
 
ดาราศาสตร์
ดาราศาสตร์ดาราศาสตร์
ดาราศาสตร์
 
ความหมายของดาวฤกษ์
ความหมายของดาวฤกษ์ความหมายของดาวฤกษ์
ความหมายของดาวฤกษ์
 
ดาวฤกษ
ดาวฤกษ ดาวฤกษ
ดาวฤกษ
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาลโครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
 

Viewers also liked

ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาลดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาลGwang Mydear
 
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะเล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะmayureesongnoo
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศdnavaroj
 
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสิปป์แสง สุขผล
 

Viewers also liked (6)

Microsoft word ระบบสุริยะ
Microsoft word   ระบบสุริยะMicrosoft word   ระบบสุริยะ
Microsoft word ระบบสุริยะ
 
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาลดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
 
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะเล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
 
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
 
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะเอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
 

Similar to กำเนิดเอกภพ

หลุมดำและอวกาศ
หลุมดำและอวกาศหลุมดำและอวกาศ
หลุมดำและอวกาศHiran Vayakk
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะkalita123
 
ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2kominoni09092518
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะratchaneeseangkla
 
ภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายKroo Mngschool
 
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคมการสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคมtanakit pintong
 

Similar to กำเนิดเอกภพ (20)

Contentastrounit2
Contentastrounit2Contentastrounit2
Contentastrounit2
 
บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1
 
บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1
 
บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1
 
บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1
 
บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1บิ๊กแบง1
บิ๊กแบง1
 
เอกภพ
เอกภพเอกภพ
เอกภพ
 
1ธรรมชาติของฟิสิกส์
1ธรรมชาติของฟิสิกส์1ธรรมชาติของฟิสิกส์
1ธรรมชาติของฟิสิกส์
 
Contentastrounit4
Contentastrounit4Contentastrounit4
Contentastrounit4
 
Astroplan14
Astroplan14Astroplan14
Astroplan14
 
หลุมดำและอวกาศ
หลุมดำและอวกาศหลุมดำและอวกาศ
หลุมดำและอวกาศ
 
Contentastrounit3
Contentastrounit3Contentastrounit3
Contentastrounit3
 
Contentastrounit1
Contentastrounit1Contentastrounit1
Contentastrounit1
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
Sun
SunSun
Sun
 
ภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลาย
 
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคมการสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
 

More from Marnburapa รักในหลวง

More from Marnburapa รักในหลวง (14)

Microsoft word กิจกรรม nasa exercise
Microsoft word   กิจกรรม nasa  exerciseMicrosoft word   กิจกรรม nasa  exercise
Microsoft word กิจกรรม nasa exercise
 
Microsoft word แผนเอกภพ
Microsoft word   แผนเอกภพMicrosoft word   แผนเอกภพ
Microsoft word แผนเอกภพ
 
แบบทดสอบก่อนเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียนแบบทดสอบก่อนเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียน
 
เอกภพ111
เอกภพ111เอกภพ111
เอกภพ111
 
เอกภพ111
เอกภพ111เอกภพ111
เอกภพ111
 
เอกภพ111
เอกภพ111เอกภพ111
เอกภพ111
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
แบบทดสอบก่อนเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียนแบบทดสอบก่อนเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียน
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
กำเนิดเอกภพ
กำเนิดเอกภพกำเนิดเอกภพ
กำเนิดเอกภพ
 
แบบทดสอบก่อน – หลัง เรียน
แบบทดสอบก่อน – หลัง  เรียนแบบทดสอบก่อน – หลัง  เรียน
แบบทดสอบก่อน – หลัง เรียน
 
ทดสอบก่อนเรียน
ทดสอบก่อนเรียนทดสอบก่อนเรียน
ทดสอบก่อนเรียน
 
ว23101 เรื่องของไฟฟ้า
ว23101 เรื่องของไฟฟ้าว23101 เรื่องของไฟฟ้า
ว23101 เรื่องของไฟฟ้า
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
 

กำเนิดเอกภพ

  • 1. 142 บทที 7 กาแล็กซีและเอกภพ 1. เอกภพ ั นั ก ปราชญ์ ใ นสมัย ก่ อ นมีค วามคิ ด เกี ยวกั บ เอกภพที แตกต่ า งจากป จ จุ บ ัน มากซึ งจะมี ความสัมพันธ์กบศาสนา จึงสร้างแบบจําลองของเอกภพออกเป็ นสองส่วน โดยจินตนาการด้วยการใช้โดม ั แบ่ งเอกภพออกเป็ นด้านนอกเป็ นโลกของเทพและด้านในก็เป็ นโลกของมนุ ษ ย์ และหลังจาก ศริส ต์ ศตวรรษที 17 เป็ นต้นมา ความรูของวิชาดาราศาสตร์ได้พฒนาขึนจากการสังเกตการณ์ การเก็บข้อมูล ้ ั ของนักดาราศาสตร์ อุปกรณ์ทใช้ในการสังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ ซึงจากเดิมทีแนวคิดส่วนใหญ่ทมา ี ี จากจิน ตนาการและการคาดเดาล้ ว น ๆ ก็ ป รากฏชัด ขึนโดยอยู่ บ นพืนฐานของดาราศาสตร์ แ ละ ั ั วิทยาศาสตร์ และจนถึง ปจจุบนนีทฤษฎีทไม่สามารถอธิบายปรากฏการณ์ ทีฮับเบิลสังเกตได้ย่อมไม่ ี น่ าเชือถือ ในศตวรรษที 20 ทฤษฎีทใช้อธิบายกําเนิดหรือความเป็ นมาของเอกภพก็มความชัดเจนมากขึน ี ี และน่ าเชือถือมากขึน มีอยู่สองทฤษฎีทสําคัญ คือ ทฤษฎีการระเบิดครังใหญ่ หรือบิกแบง (Big Bang) ี และทฤษฎีสภาวะคงที(Steady State Theory) นักดาราศาสตร์ และพระชาวเบลเยียม ชือ อับเบ จอร์ช เลเมตเทรอ ( Abbe Georges Lemaitre ) เป็ นผูตงทฤษฎีการระเบิดครังยิงใหญ่ขนเมือปีค.ศ.1927 ส่วน ้ ั ึ ทฤษฎีสภาวะคงทีเป็ นทฤษฎีตงขึนมาโดยคณะนักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษสามคน คือ เฟรด ฮอยล์ ั (Fred Hoyle) เฮอร์แมน บอนได (Herman Bondi ) และ โทมัส โกลด์ ( Thomas Gold ) เมือปี ค.ศ. 1948 ตามทฤษฎีการระเบิดครังใหญ่นีเชือว่าเอกภพมีกําเนิดมาจากการระเบิดของมวลสารและ พลังงานทีอัดกันแน่ น ณ จุดเดียว ซึงจุดนันมีความหนาแน่ นเป็ นอนันต์ ส่วนทฤษฎีสภาวะคงทีนัน เอก ภพไม่มจุดกําเนิด และไม่มวาระสุดท้าย ดวงดาวมีการเกิด และตายได้ แต่โดยภาพรวมแล้ว เอกภพมี ี ี ่ ั ั สภาพดังทีเป็ นอยูในปจจุบนมานานแล้ว และจะมีสภาพเป็ นดังนีตลอดไป นั ก ดาราศาสตร์พ บหลัก ฐานทางวิท ยาศาสตร์ส่ ว นใหญ่ ทีสนั บ สนุ น กับ การกํ า เนิ ด เอกภพและ วิวฒนาการของเอกภพตามทฤษฎีบก แบงจนได้รบการตังชือว่าเป็ นแบบจําลองมาตรฐาน ซึงอยู่บน ั ิ ั พืนฐานของการค้นพบเชิงการทดลองและความก้าวหน้าเชิงทฤษฎีของฟิสกส์พลังงานสูง ิ นายกันต์ธนากร น้อยเสนา ครูวชาการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุ สรณ์ (nu@mwit.ac.th, Tel.02-8497210) ิ
  • 2. 143 2. กําเนิ ดเอกภพ ตามทฤษฎีการกําเนิดแบบบิกแบง จุดทีมีความหนาแน่ นเป็ นอนันต์ได้เกิดระเบิดขึน เหตุการณ์ ต่าง ๆ เป็ นไปดังนี จากสมมุตฐานว่าเอกภพมีอายุ 20,000 ล้านปี ิ เวลา เหตุการณ์ สาคัญ ํ 10-44 วินาที เกิดอนุ ภาคพืนฐานขึน 10-6 วินาที ควาร์ก (quark) ถูกกลูออน (gluon) รัดไว้ภายในฮาร์ดอน (hardron) 1 วินาที นิวตริโน (neutrino) กระจายไปอย่างอิสระ 3 นาที เกิดธาตุ H และ He เป็ นระยะแผ่รงสีเป็ นหลัก ั 10,000 ปี มีมวลสารกระจัดกระจายไปทัวเอกภพ เป็ นระยะทีมีมวลสารเป็ นหลัก 100,000 ปี เกิดไฮโดรเจนอะตอม เอกภพชัดเจนขึน 1,000 – 2,000 ล้านปี กาแล็กซีเริมก่อตัว 3,000 ล้านปี กระจุกกาแล็กซีเริมก่อตัว 4,000 ล้านปี ดาวฤกษ์รนแรกเริมก่อตัว ุ่ 5,000 ล้านปี ดาวฤกษ์ในดาวฤกษ์ประชากร II เริมก่อตัว 10,000 ล้านปี ดาวฤกษ์ในดาวฤกษ์ประชากร I เริมก่อตัว 15,000 ล้านปี เนบิวลาดังเดิมของดวงอาทิตย์ก่อตัว 15,500 ล้านปี ดาวเคราะห์ก่อตัวขึน เริมเกิดหินแร่ 17,000 ล้านปี เกิดสิงมีชวตขนาดเล็กบนโลก ีิ 18,000 ล้านปี เกิดชันบรรยากาศห่อหุมโลก ้ 19,600 ล้านปี เกิดสัตว์ประเภทปลา 19,900 ล้านปี เกิดสัตว์เลียงลูกด้วยนม 20,000 ล้านปี เกิดมนุ ษย์ นายกันต์ธนากร น้อยเสนา ครูวชาการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุ สรณ์ (nu@mwit.ac.th, Tel.02-8497210) ิ
  • 3. 144 รูปที 1 การเกิดเอกภพจากทฤษฎีการระเบิดครังใหญ่ (ทีมาจาก http://physics.uoregon.edu) จากการกําเนิดเอกภพตามทฤษฎีบกแบงนีมีหลักฐานทีสําคัญอยู่ 2 ข้อด้วยกันคือ ิ 1. การค้นพบของฮับเบิลว่ากาแล็กซีกําลังเคลือนทีหนีห่างออกจากันด้วยความเร็วทีเพิมขึน ตามระยะทาง กาแล็กซีทอยูไกลยิงเคลือนทีห่างออกไปเร็วกว่ากาแล็กซีทอยู่ใกล้นันคือ เอก ี ่ ี ภพกําลังขยายตัวจากความเข้าใจในเรืองนีทําให้นักดาราศาสตร์สามารถคํานวณอายุของ เอกภพได้การขยายตัวของเอกภพ ซึงตามทฤษฎีกําเนิดเอกภพจากการระเบิดครังยิงใหญ่ อธิบายว่าเป็ นผลจากการระเบิดครังยิงใหญ่ในอดีตนันเอง ส่งผลให้ทุกสิงทุกอย่างในเอกภพ เคลือน ทีหนีออกจากกัน จนกระทังทุกวันนีสําหรับทฤษฎีสภาวะคงที ก็อธิบายการขยายตัว ของเอกภพได้เช่นกันว่าเป็ นผลจากการเกิดของอนุ ภาคใหม่ ซึงอาจเกิดจากการสลายตัว ของพลังงานแล้วเปลียน ไปเป็ นสสาร ตามสมการ E = mc2 แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง สสารกับพลังงานของไอน์ สไตน์ เมือมีอนุ ภาคใหม่เกิดขึน ก็ดนพืนทีของอวกาศรอบตัว ั อนุ ภาค ทําให้อนุ ภาคอืนๆ ขยับเคลือนทีห่างออกไป ผลคือทําให้เอกภพขยายตัว แต่ คําอธิบายนี ไม่ชด เจนเท่ าคํา อธิบ ายการขยายตัว ของเอกภพตามทฤษฎีก ารระเบิด ครัง ั ยิงใหญ่ นายกันต์ธนากร น้อยเสนา ครูวชาการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุ สรณ์ (nu@mwit.ac.th, Tel.02-8497210) ิ
  • 4. 145 2. การค้นพบคลืนรังสีความร้อนระดับไมโครเวฟ มีอุณหภูมประมาณ 3 เคลวิน กระจาย อยู่ ิ ทัวไปในเอกภพอย่างสมําเสมอโดยนักวิทยาศาสตร์สองคน คือ โรเบิรต วิลสัน (Robert ์ Wilson) และ อาร์โน เพนเซียส ( Arno Penzius ) เมือปี ค.ศ. 1965 ซึงทําให้เอกภพมี สภาพคล้ายจมอยู่ในทะเลพลังงานความร้อน คลืนรังสีความร้อนทีกระจายอยู่ทวไปในเอก ั ภพนี สอดคล้องรับกับทฤษฎีกําเนิดเอกภพจากการระเบิดครังยิงใหญ่ได้อย่างดีว่า เป็ น ั ั พลังงานของการระเบิดทียังหลงเหลืออยู่ถึง ปจจุบน เพราะเมือคํานวณจากขนาดของ ั ั พลังงานความร้อนทีเหลืออยู่ในปจจุบน ย้อนหลังไปสู่จุดกําเนิดทีมา ก็จะลงตัวได้อย่าง ค่อนข้างดี จนกระทังคลืนรังสีความร้อนประมาณ 3 เคลวินนี ถูกเปรียบเทียบเรียกเป็ นเสียง ี ่ ิ ั ั จากการระเบิดครังยิงใหญ่ทยังเหลืออยูให้ได้ยนกันในปจจุบน เมือมวลสารได้เกิดขึนแล้ว เอกภพถือกําเนิดและมีอายุ สิงทีนักดาราศาสตร์สงสัยต่อไปก็คอ ื เอกภพของเราเป็ นแบบใด นักดาราศาสตร์ได้ทาการเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ผลทีได้ตามกระบวนการ ํ ทางวิทยาศาสตร์ ทําให้ได้สมมติฐานเกียวกับแบบจําลองของเอกภพดังนี 1. เอกภพมีความสมําเสมอในทุกแห่ง และทุกทิศทาง ่ ่ 2. เอกภพประกอบด้วยฝุนอย่างสมําเสมอ ฝุนแต่ละเม็ดก็คอกาแล็กซี 1 กาแล็กซี ื จากข้อสมมติฐานทัง 2 ข้อ และทฤษฎีสมพัทธภาพทัวไป ทําให้ได้แบบจําลองของเอกภพ ั ขึนมา 3 แบบทีกําลังมีการขยายตัว เรียกว่า เอกภพปิ ด (Closed) เอกภพแบน (Flat) และเอกภพเปิ ด (Open) รูปที 2 แบบจําลองการขยายตัวของเอกภพทีเขียนระหว่างรัศมี R และเวลา t แบบจําลองทัง 3 ต่างก็กําลังขยายตัวตามทีฮับเบิลสังเกตได้ นายกันต์ธนากร น้อยเสนา ครูวชาการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุ สรณ์ (nu@mwit.ac.th, Tel.02-8497210) ิ
  • 5. 146 (เอกสารอบรมครูดาราศาสตร์,2544) 1. เอกภพปิ ด(Closed Universe) : นันคือเอกภพมีความหนาแน่ นของมวลสารและ พลังงาน มากเพียงพอ จนแรงโน้มถ่วงสามารถเอาชนะแรงดันออกหลังจากการระเบิด ครังใหญ่ได้ ในทีสุดเอกภพจะหดตัวกลับ และถึงจุดจบทีเรียกว่า บิกครันช์ (Big Crunch) 2. เอกภพแบน (Flat Universe) : นันคือ เอกภพมีความหนาแน่ นของมวลสารและพลังงาน ใน ระดับทีแรงโน้ มถ่วงสมดุลกับแรงดันออกหลังจากการระเบิดครังใหญ่ ในทีสุดเอกภพจะ ขยายตัว แต่ดวยอัตราทีช้าลงเรือยๆ ้ 3. เอกภพเปิด (Open Universe): นันคือ เอกภพมีความหนาแน่ นของมวลสารและ พลังงาน ตําเกินไป ทําให้แรงโน้มถ่วง ไม่สามารถเอาชนะแรงดันออกหลังจากการ ระเบิดครังใหญ่ได้ เอกภพจะขยายตัวอย่างต่อเนืองไปเรือย ๆ จนกระทังอุณหภูมของ ิ เอกภพเข้าใกล้ศูนย์องศาสัมบูรณ์ เมือถึงเวลานัน จะไม่มพลังงานหลงเหลืออยูอก ี ่ ี อะตอม และโมเลกุลต่างๆ จะหยุดนิงไม่มการเคลือนทีใดๆ เรียกว่า บิกชิลล์ (Big ี Chill) 3. กําเนิ ดและวิ วฒนาการของกาแล็กซี ั กาแล็กซีมกําเนิดมาอย่างไร แนวคิดทีมีการเสนอกันมากซึงได้รบความสนใจอย่างยิง ก็คอ ี ั ื มีจุดหรือเมล็ดพันธุแห่งดวงดาว หรือกาแล็กซี ทีเป็ นเสมือนหนึงคลืนเล็กๆ ท่ามกลางทะเลอนุ ภาค ์ แห่งเอกภพ ก่อกําเนิดขึนหลังบิกแบง ทําให้เกิดการเสียสมดุลของแรงดึงดูดโน้มถ่วงในเอกภพ ผล ต่อมา จึงเป็ นการรวมตัวกันมากขึนของก๊าซและฝุ่นผง รอบเมล็ดพันธุ์แห่งดวงดาว หรือกาแล็กซี จนกระทังเกิดเป็ นกลุ่มดวงดาว และก๊าซทีเป็ นตัวตนชัดเจน คือ กาแล็กซี ความคิดเรืองเมล็ดพันธุ์ แห่งดวงดาว หรือกาแล็กซีนี ถึงแม้จะมีหลักฐานทีมีการค้นพบบ้างแล้วดังทีปรากฏเป็ นข่าวใหญ่ของ วงการดาราศาสตร์เมือต้นทศวรรษที 90 แต่กยงเป็ นความคิด ทฤษฎี และหลักฐาน ทีจะต้องมีการ ็ ั ตรวจสอบให้แน่ ชดต่อไปอีก อย่างไรก็ตามถึงแม้กําเนิดหรือวิวฒนาการทีแท้จริงของกาแล็กซี จะยัง ั ั ั ั ั เป็ นประเด็นปญหาท้าทายนักวิทยาศาสตร์ปจจุบนอยู่ แต่ความเข้าใจในการกําเนิดของกาแล็กซีใน ปจจุบนก็คอ หลังกําเนิดบิกแบงไปแล้วประมาณสามแสนปี จงเริมมีการรวมตัวกันของก๊าซและฝุ่นผง ั ั ื ึ ทีกระจายกันอยูทวไปในเอกภพ เป็ นสภาพการก่อตัวกันเพือกําเนิดเป็ นดาวฤกษ์ และสิงอืนๆ ต่อไป ่ ั สภาพของเอกภพในช่วงนีจึงมีกลุ่มก๊ าซ และฝุ่นผง ทีพยายามรวมตัวกันเกิดเป็ นสภาพก่ อนเป็ น กาแล็กซี หรือ Protogalaxy กระจายกันอยู่เป็ นแห่งๆ ต่อมาจึงเปลียนแปลงเกิดเป็ นดาวฤกษ์เต็มตัว และส่วนประกอบอืนๆในเอกภพเป็ นกาแล็กซีเต็มตัว นายกันต์ธนากร น้อยเสนา ครูวชาการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุ สรณ์ (nu@mwit.ac.th, Tel.02-8497210) ิ
  • 6. 147 รูปที 3 จุดกําเนิดเอกภพ วิวฒนาการเป็ นกาแล็กซี และการเคลือนที ั ห่างออกจากกันของกาแล็กซี (ทีมาจาก http://th.wikipedia.org/wiki) 4. การจําแนกชนิ ดของกาแล็กซี นักดาราศาสตร์พบว่ากาแล็กซีมรปร่างแตกต่างกันไป บ้างก็มรปร่างเป็ นทรงรี บ้างก็มรปร่างเป็ น ีู ีู ีู กังหัน บ้างก็มรปร่างไม่แน่ นอน เป็ นต้น ในปี ค.ศ.1920 ฮับเบิล(Hubble) นักดาราศาสตร์แห่งหอ ีู สังเกตการณ์เมาท์วลสัน (Mount Wilson Observatory) ได้ศกษา และจําแนกออก เป็ น 3 ประเภทคือ ิ ึ 1. กาแล็กซีแบบทรงรี (Elliptical Galaxy) 2. กาแล็กซีแบบกังหัน (Spiral Galaxy) 3. กาแล็กซีแบบรูปร่างไม่ปกติ (Irregular Galaxy) นายกันต์ธนากร น้อยเสนา ครูวชาการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุ สรณ์ (nu@mwit.ac.th, Tel.02-8497210) ิ
  • 7. 148 รูปที 4 ลักษณะของกาแล็กซีแบบต่าง ๆ (มูลนิธส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการ,2547) ิ กาแล็กซีแบบทรงรี (Elliptical Galaxy) กาแล็กซีทพบจํานวนมากนัน นักดาราศาสตร์พบว่ามีรปร่างแบบทรงรี ซึงมีขนาดใหญ่ทสุด ี ู ี 13 มีมวลประมาณ 10 เท่าของมวลของดวงอาทิตย์ และมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 105 พาร์เซก กาแล็กซีแบบทรงรีขนาดยักษ์ (Giant Elliptical)ดังกล่าวนี ค่อนข้างจะหายาก แต่ทพบมากทีสุด ี ได้แก่ กาแล็กซีขนาดเล็ก (Dwarf Elliptical) ซึงมีมวลประมาณ 2.3 ล้านเท่าของดวงของดวง อาทิตย์ และมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 2000 พาร์เซค(parsec, pc).เท่านัน กาแล็กซีขนาดเล็ก ดังกล่าวนีสังเกตการณ์ได้โดยใช้กล้องดูดาวขนาดใหญ่มาก ซึงต้องประกอบด้วยอุปกรณ์วด ั สัญญาณทางอิเล็กโทรนิคส์ และคอมพิวเตอร์ทมีความไวสูง เช่น เครืองคู่ควบประจุ (Charge ี Coupled Device, CCD) เครืองขยายความเข้มของภาพ (Image Intensifier) เป็ นต้น นายกันต์ธนากร น้อยเสนา ครูวชาการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุ สรณ์ (nu@mwit.ac.th, Tel.02-8497210) ิ
  • 8. 149 รูปที 5 กาแลกซีแบบรี รูปร่างของกาแล็กซีประเภทนี มีตงแต่เกือบเป็ นทรงกลม (Circular) ซึงฺ ั ฮับเบิลกําหนดว่าเป็ นชนิด E0 จนถึงรูปร่างค่อนข้างรีมากเป็ นชนิด E7” (เอกสารอบรมครูดาราศาสตร์,2544) กาแล็กซีแบบกังหัน (Spiral Galaxy) กาแล็กซีแบบนี พบว่าประกอบด้วย บริเวณใจกลางทีมีดาวอยู่รวมกันหนาแน่ น เรียกว่า” นิวเคลียส (Nucleus)” และมีแขนยืนม้วนออกไปในลักษณะกังหัน (Spiral) ทังนิวเคลียสและแขน กังหัน ประกอบขึนจากดาวฤกษ์ ฝุ่นและก๊าซ ระหว่างดาวจํานวนมหาศาลในเอกภพเมือเทียบ กาแล็กซีดงกล่าวนีกับกาแล็กซีแบบทรงรี พบว่ามีจานวนไม่มากนักอย่างไรก็ตาม กาแล็กซีแบบ ั ํ กังหันนีมีขนาดใหญ่และมีความสว่างมาก จึงพบเห็นได้ง่ายกว่ากาแล็กซีแบบทรงรี กาแล็กซีแบบ กังหันนี จําแนกประเภทออกตามลักษณะของแขนกังหันและนิวเคลียสออกได้ 3 ประเภท คือ 1. ชนิด Sa แขนกังหันรอบนิวเคลียสค่อนข้างกระชับมากและมีนิวเคลียสขนาดใหญ่ 2. ชนิด Sb แขนกังหันเริมคลายออกบ้าง และนิวเคลียสมีขนาดเล็กลง กาแล็กซีทาง ช้างเผือก และกาแล็กซีแอนโดรเมดา จัดอยูในประเภทนี ่ 3. ชนิด Sc แขนกังหันกางออกมาและมีนิวเคลียสขนาดเล็ก กาแล็กซีแบบกังหันเหล่านีอาจมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางตังแต่10,000 ถึง 80,000 pc และมีมวล ระหว่าง 109 ถึง 1012 เท่าของมวลดวงอาทิตย์ คาดว่ากาแล็กซีทางช้างเผือกของเรามีมวล ประมาณ 1011 เท่าของมวลดวงอาทิตย์ ซึงโดยเฉลียแล้วน่ าจะประกอบด้วยดาวฤกษ์ประมาณ หนึงแสนล้านดวงทีเดียวจากการศึกษาและรวบรวมข้อมูลเกียวกับลักษณะของกาแล็กซีแบบ กังหันโดยละเอียด พบว่ากาแล็กซีเหล่านีประมาณหนึงในสามมีลกษณะเป็ นแท่งตรง(Bar) ยืน ั นายกันต์ธนากร น้อยเสนา ครูวชาการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุ สรณ์ (nu@mwit.ac.th, Tel.02-8497210) ิ
  • 9. 150 ออกมาจากนิวเคลียสก่อน แล้วจึงมีลกษณะม่วนรอบนิวเคลียสต่อจากแขนตรงออกมา ซึงแบ่ง ั ออกเป็ น 3 ประเภท คล้ายกาแล็กซีแบบกังหันปกติ คือ SBa SBb และ SBc กาแล็กซีรปร่างไม่ปกติ (Irregular Galaxy) ู กาแล็กซีทค้นพบทังหมด พบว่ามีจานวนประมาณ 2.3 % ทีมีรปร่างไม่แน่ นอน ซึงไม่ ี ํ ู อาจจัดได้ว่าเป็ นแบบทรงรีหรือแบบกังหันปกติได้ ตัวอย่างของกาแล็กซีประเภทนี ได้แก่ กาแล็กซีแมก เจลแลน (Magellanic Clound) ซึงเป็ นกาแล็กซีแบบรูปร่างไม่ปกติ และอยูใกล้ ่ กาแล็กซีทางช้าง เผือกมากทีสุด สามารถมองเห็นได้ดวยตาเปล่าเป็ นแถบฝ้าขนาดใหญ่บน ้ ท้องฟ้า กาแล็กซีแบบรูปร่างไม่ปกตินี บางกาแล็กซีมโครงสร้างของแขนตรง (Bar) ประกอบอยู่ ี ด้วยฮับเบิล แยกประเภทของกาแล็กซีเหล่านีออกเป็ น2 ชนิด คือ 1. Irregular I หรือ Irr I เป็ นกาแล็กซีแบบรูปร่างไม่ปกติ ทีสามารถสังเกตเห็นดาวฤกษ์ ชนิด O และ B ตลอดจนบริเวณของกลุ่มไฮโดรเจนทีไอออไนซ์ได้อย่างเด่นชัด ตัวอย่าง เช่น กาแล็กซีแมกเจลแลนใหญ่ (Large Magellanic Cloud) เป็ นต้น 2. Irregular II หรือ Irr II เป็ นกาแล็กซีแบบรูปร่างไม่ปกติ ทีไม่สามารถมองเห็นดาวหรือกลุ่ม ก๊าซต่างๆ ได้เลย แสดงว่ากาแล็กซีชนิดนีประกอบด้วย ดาวทีมีความสว่างน้อยและมีฝุ่น และก๊าซกระจัดกระจาย การสังเกตการณ์ทางสเปกโตรสโคปี พบว่าก๊าซจํานวนมหาศาลพลุ่ง ออกมาด้วยอัตราเร็วสูงในบางบริเวณ บางครังเรียกกาแล็กซีประเภทนีว่า ”กาแล็กซีระเบิด (Exploding Galaxy)” ตัวอย่างเช่น กาแล็กซี NGC 3034 เป็ นต้น รูปที 4.6 กาแล็กซีแมกเจลแลน (มูลนิธส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการ,2547) ิ นายกันต์ธนากร น้อยเสนา ครูวชาการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุ สรณ์ (nu@mwit.ac.th, Tel.02-8497210) ิ
  • 10. 151 เอกสารอ้างอิง นายกันต์ธนากร น้อยเสนา ครูวชาการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุ สรณ์ (nu@mwit.ac.th, Tel.02-8497210) ิ