SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
การออกแบบหน่ว ยการเรีย นรู้แ บบ
                   Backward Design
      กลุ่ม สาระการเรีย นรู้ สุข ศึก ษาและพลศึก ษา
วิช า สุข ศึก ษา ๓                     ชัน มัธ ยมศึก ษาปี
                                         ้
ที่ ๓                 เวลา ๔ ชัว โมง่
หัว เรื่อ ง /Theme / หน่ว ยการเรีย นรู้ท ี่ ๑๐ หลีก เลี่ย ง
ความรุน แรง
 ๑. การกำา หนดเป้า หมายการเรีย นรู้
     ๑. ความหมายของความรุนแรง
     ๒. สาเหตุของความรุนแรง
     ๓. อิทธิพลของสื่อต่อพฤติกรรมด้านความรุนแรงของเยาวชน
     ๔. แนวทางการแก้ปัญหาการใช้ความรุนแรง
                             ผัง (Big Idea)

         แนวทางการ                   หลีก                ความหมาย
         การใช้คหา
          แก้ปัญ วาม                ความ
                                     เลี่ย ง               ความ
                                                             ของ
           รุนแรง                   รุน แรง                รุนแรง

              อิทธิพลของสื่อต่อ         สาเหตุของ
                พฤติกรรมด้าน               ความ
                 ของเยาวชน
                 ความรุนแรง                รุนแรง
  ๒. มาตรฐานการเรีย นรู้ท ี่เ ป็น เป้า หมาย
     มาตรฐาน พ ๕.๑ ป้องกันและหลีกเลียงปัจจัยเสียง พฤติกรรม
                                         ่        ่
เสียงต่อสุขภาพ อุบตเหตุ การใช้ยา
   ่              ั ิ
สารเสพติด และความรุนแรง
 ๓. ตัว ชี้ว ัด : สิ่ง ที่น ัก เรีย นพึง รู้แ ละปฏิบ ัต ิไ ด้
115

   พ ๕.๑ (๒) หลีกเลียงการใช้ความรุนแรงและชักชวนเพือนให้
                     ่                             ่
          หลีกเลียงการใช้ความรุนแรง
                 ่
          ในการแก้ปญหา ั
       (๓)    วิเคราะห์อทธิพลของสือต่อพฤติกรรมสุขภาพและ
                         ิ        ่
          ความรุนแรง
  ๔. เป้า หมายการเรีย นรู้
    ๑.                         ความเข้า ใจที่ค งทน
        วิเคราะห์ปัญหาและผลกระทบจากการใช้ความรุนแรง
    แนะนำาวิธีหลีกเลี่ยงการใช้
    ความรุนแรง และวิเคราะห์อิทธิพลของสื่อต่อพฤติกรรมสุขภาพ
    และความรุนแรง (คลิปวิดีโอ
    การทะเลาะวิวาท อินเทอร์เน็ต เกม ฯลฯ)
    ๒. จิต พิส ัย
        เข้าใจปัญหาและผลกระทบจากการใช้ความรุนแรง วิธีหลีก
    เลี่ยงการใช้ความรุนแรง และตระหนักถึงอิทธิพลของสื่อต่อ
    พฤติกรรมสุขภาพและความรุนแรง (คลิปวิดีโอการทะเลาะวิวาท
    อินเทอร์เน็ต เกม ฯลฯ)
    ๓. สมรรถนะสำา คัญ ของนัก เรีย น
        ๑) ความสามารถในการสื่อสาร ๒) ความสามารถในการ
คิด
        ๓) ความสามารถในการแก้ปัญหา             ๔) ความสามารถ
ในการใช้ทกษะชีวต
            ั       ิ
        ๕) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
    ๔. คุณ ลัก ษณะอัน พึง ประสงค์
        ๑) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์   ๒) ซือสัตย์สุจริต
                                          ่
        ๓) มีวินัย                  ๔) ใฝ่เรียนรู้
        ๕) อยู่อย่างพอเพียง         ๖) มุ่งมั่นในการทำางาน
        ๗)                          รักความเป็นไทย ๘) มี จิ ต
สาธารณะ
    ๕. ความรู้แ ละทัก ษะเฉพาะวิช า
        ๑)อธิบายความหมายและสาเหตุของความรุนแรงได้
        ๒)วิเคราะห์และแยกแยะถึงการกระทำาหรือพฤติกรรมใดว่า
เป็นความรุนแรงได้
        ๓)อธิบายอิทธิพลของสื่อที่มีผลต่อพฤติกรรมด้านความ
รุนแรงของเยาวชนได้
116

   ๔) อธิบายวิธีการหลีกเลี่ยงและป้องกันการใช้ความรุนแรงได้
๖. ทัก ษะคร่อ มวิช า
   ๑)ทัก ษะการฟัง การฟังครูอธิบาย และเพื่อนๆ แสดงความ
                     คิดเห็นในชั้นเรียน
   ๒)                ทัก ษะการอ่า น การอ่านเนื้อหาสาระ
                     หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๐
   ๓)                ทัก ษะการเขีย น การเขียนรายงาน
                     การทำาแบบฝึกหัด และการทำารายงาน
   ๔)                ทัก ษะการนำา เสนอ      การนำาเสนอ
                     เนื้อหาสาระในแต่ละหน่วยการเรียนรู้
   ๕)                ทัก ษะการทำา งานกลุ่ม ระดมความคิด
                     ในการทำางานกลุ่ม
   ๖)การสร้า งสรรค์ง านทัศ นศิล ป์ การเขียนผังความคิด
                     (Mind Mapping)
117

                  แผนการจัด การเรีย นรู้ท ี่ ๑๐
วิช า สุข ศึก ษา ๓
ชัน มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ ๓
  ้
หน่ว ยการเรีย นรู้ท ี่ ๑๐             หลีก เลี่ย งความ
รุน แรง                  เวลา ๔ ชั่ว โมง
     ๑.        เป้า หมายการเรีย นรู้
     วิเคราะห์ปัญหาและผลกระทบจากการใช้ความรุนแรง แนะนำา
วิธีหลีกเลี่ยงการใช้ความรุนแรง
และวิเคราะห์อิทธิพลของสื่อต่อพฤติกรรมสุขภาพและความรุนแรง
(คลิปวิดีโอการทะเลาะวิวาท
อินเทอร์เน็ต เกม ฯลฯ)
     ๒.        สาระสำา คัญ
     ความรุนแรง คือ การทำาร้ายผูอนทางร่างกาย จิตใจ และทำาให้
                                          ้ ื่
ทรัพย์สนของผูอนได้รบความเสียหาย
         ิ         ้ ื่     ั
เกิดจาก ๓ ปัจจัยด้วยกัน คือ ปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคล ปัจจัยจากค่า
นิยม และความเชื่อของสังคม และ
ปัจจัยจากสภาพแวดล้อม ปัจจุบันสื่อนับเป็นสิ่งที่มีอิทธิพลและ
อำานาจในการช่วยปลูกฝังค่านิยม และ
สร้างทัศนคติซึ่งนำาไปสู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้รับสารได้
โดยเฉพาะเยาวชนซึ่งเป็นวัยที่ตก
อยู่ใต้อิทธิพลของสื่อได้ง่าย ผู้คนสามารถพบเห็นพาดหัวข่าวที่มี
เนื้อหาเกี่ยวกับความรุนแรง
บนหน้าหนึงของหนังสือพิมพ์อยูเป็นประจำา นอกจากนีเรายังพบเห็น
             ่                         ่                       ้
ความรุนแรงได้ในละครโทรทัศน์
ภาพยนตร์ เกมออนไลน์ หรือบนอินเทอร์เน็ตจนอาจทำาให้ผู้รับสื่อ
เกิดพฤติกรรมที่ใช้ความรุนแรงได้
     ๓.        มาตรฐานและตัว ชี้ว ัด
     มาตรฐาน พ ๕.๑ ป้องกันและหลีกเลียงปัจจัยเสียง พฤติกรรม
                                                    ่            ่
เสียงต่อสุขภาพ อุบตเหตุ การใช้ยา
   ่                    ั ิ
สารเสพติด และความรุนแรง
     ตัว ชี้ว ัด : สิ่ง ที่น ัก เรีย นพึง รู้แ ละปฏิบ ัต ิไ ด้
     พ ๕.๑ (๒) หลีกเลียงการใช้ความรุนแรงและชักชวนเพือนให้
                                ่                                  ่
                หลีกเลียงการใช้ความรุนแรง
                         ่
                ในการแก้ปญหา      ั
118

           (๓)   วิเคราะห์อทธิพลของสือต่อพฤติกรรมสุขภาพและ
                           ิ            ่
              ความรุนแรง
๔. สาระการเรีย นรู้
   ๑. ความหมายของความรุนแรง
   ๒. สาเหตุของความรุนแรง
   ๓. อิทธิพลของสื่อต่อพฤติกรรมด้านความรุนแรงของเยาวชน
   ๔. แนวทางการแก้ปัญหาการใช้ความรุนแรง
๕. จุด ประสงค์ก ารเรีย นรู้
 K (Knowledge)                 P (Practice)       A (Attitude)
   ความรู้ ความ                การฝึก ปฏิบ ัต ิ  คุณ ลัก ษณะอัน
        เข้า ใจ                                    พึง ประสงค์
๑.อธิบายความหมาย ๑.บอกความหมายและ ๑. รักชาติ ศาสน์
  และ                     สาเหตุ                กษัตริย์
  สาเหตุของความ           ของความรุนแรง         ๒. ซือสัตย์สุจริต
                                                     ่
  รุนแรงได้             ๒. แยกแยะถึงการก ๓. มีวินัย
๒. วิเคราะห์และ           ระทำาหรือ             ๔. ใฝ่เรียนรู้
  แยกแยะถึง               พฤติกรรมใดว่าเป็น ๕. อยู่อย่างพอ
  การกระทำาหรือ           ความรุนแรง            เพียง
  พฤติกรรม              ๓. บอกอิทธิพลของ ๖. มุ่งมั่นในการ
  ใดว่าเป็นความ           สือที่มีผลต่อ
                             ่                  ทำางาน
  รุนแรงได้               พฤติกรรมด้านความ ๗.                  รัก
๓. อธิบายอิทธิพล          รุนแรง                ความเป็นไทย
  ของสือที่มี
         ่                ของเยาวชน             ๘.มีจิตสาธารณะ
  ผลต่อพฤติกรรม         ๔.เสนอแนะวิธีการ
  ด้าน                    หลีกเลี่ยงและ
  ความรุนแรงของ           ป้องกันการใช้ความ
  เยาวชนได้               รุนแรง
๔.อธิบายวิธีการหลีก
  เลี่ยงและ
  ป้องกันการใช้
  ความรุนแรง
  ได้
119

 ๖.    การวัด และประเมิน ผล
    ๑. เครื่อ งมือ วัด และประเมิน ผล
       ๑) แบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน ๒) แบบทดสอบ
       ๓) ใบงาน                    ๔) แบบประเมินพฤติกรรมการ
ทำางานกลุ่ม
       ๕) แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล        ๖) แบบสังเกต
สมรรถนะสำาคัญของนักเรียน
       ๗)                          แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์
    ๒. วิธ ีว ัด ผล
       ๑) ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน ๒) ตรวจแบบ
ทดสอบ
       ๓) ตรวจใบงาน                ๔) สังเกตพฤติกรรมการ
ทำางานกลุ่ม
       ๕) สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล๖) สังเกตสมรรถนะสำาคัญของ
นักเรียน
       ๗)                          สังเกตคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์


      ๓. เกณฑ์ก ารวัด และประเมิน ผล
         ๑) สำาหรับชัวโมงแรกทีใช้แบบทดสอบก่อนเรียนไม่มเกณฑ์
                     ่        ่                         ี
            ผ่าน เก็บคะแนนไว้เปรียบเทียบ
            กับคะแนนที่ได้จากการทดสอบหลังเรียน
         ๒) การประเมินผลจากแบบทดสอบ ต้องผ่านเกณฑ์การ
           ทดสอบเกินร้อยละ ๕๐
         ๓) การประเมินผลจากแบบตรวจใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์การ
            ประเมิน เรืองความรูความเข้าใจ
                       ่        ้
            การนำาไปใช้ ทักษะ และจิตพิสัย ทุกช่องเกินร้อยละ ๕๐
         ๔) การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทำางานกลุ่ม
            ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน
            คือ เกินร้อยละ ๕๐
120

       ๕) การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล เกณฑ์
          ผ่านการประเมิน ต้องไม่มีช่อง
          ปรับปรุง
       ๖) การประเมินผลการสังเกตสมรรถนะสำาคัญของนักเรียน
          คะแนนขึ้นอยู่กับการประเมิน
          ตามสภาพจริง
       ๗) การประเมินผลการสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของ
          นักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับ
          การประเมินตามสภาพจริง
๗.      หลัก ฐาน/ผลงาน
     ๑. ผลการทำาแบบทดสอบ
     ๒. ผลการทำาใบงาน
๘.       กิจ กรรมการเรีย นรู้
     ชั่ว โมงที่ ๑-๒
     ขั้น นำา เข้า สู่บ ทเรีย น
     ๑) ครูและนักเรียนสนทนากันเรืองความรุนแรง หมายถึง
                                   ่
         พฤติกรรม หรือการกระทำาของบุคคลใด
         บุคคลหนึ่ง ต่อบุคคลอื่นโดยใช้อำานาจ กำาลัง หรือคำาพูด
         รุกรานสิทธิเสรีภาพส่วนบุคคล
         ทำาให้ผถกกระทำาได้รบบาดเจ็บทางร่างกาย จิตใจ ตลอดจน
                 ู้ ู           ั
         ทรัพย์สนเสียหาย หรืออาจเข้าใจ
                   ิ
         ได้ง่ายๆ ว่า ความรุนแรง คือ การทำาร้ายผู้อื่นทางร่างกาย
         จิตใจ และทำาให้ทรัพย์สินของผู้อื่น
         ได้รับความเสียหาย
     ๒)นักเรียนยกตัวอย่างความรุนแรง เช่น การตีกน ทำาร้ายกัน แม่
                                                     ั
         วัยรุนทอดทิงเด็ก เป็นต้น
              ่         ้
     ๓)นักเรียนทำาแบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน
     ขั้น สอน
     ๔) ครูใช้รูปแบบการเรียนแบบ TAI (Team Assisted
         Individualization) เพื่อเน้นการเรียนของ
         แต่ละบุคคลเนื่องจากความหมายของความรุนแรง และ
         สาเหตุของความรุนแรง
121

๕) ครูยังใช้เทคนิคการสอนแบบการประชุมแบบซินดิเคท
    (Syndicate) โดยกำาหนดสาเหตุ
    ของความรุนแรง
๖) นักเรียนยกตัวอย่างความรุนแรงทีนกเรียนพบเห็นในปัจจุบน
                                     ่ ั                    ั
    ระบุผลกระทบจากความรุนแรง
    นั้น และวิธีการแก้ไขความรุนแรงดังกล่าว
๗)        นักเรียนหาข่าวจากสือต่างๆ แล้ววิเคราะห์ขาวและแสดง
                               ่                   ่
    ความคิดเห็น พร้อมทังแนวทางแก้ไข
                          ้
๘) ครูเปิดวีดิทัศน์ให้นักเรียนชมเพื่อเปรียบเทียบความรุนแรงกับ
    สาเหตุของความรุนแรง
    เป็นอย่างไรบ้าง เพื่อให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้และสามารถ
    นำาไปใช้ในชีวิตประจำาวัน
    ได้อย่างพอเพียง และสามารถสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวเองได้
๙)นักเรียนทำาใบงานที่ ๑๐.๑-๑๐.๓
ขั้น สรุป และการประยุก ต์
๑๐)ครูและนักเรียนสรุป ความรุนแรงไม่ได้หมายถึงแค่ทำาให้ผู้
      อืนมีบาดแผลทางกายที่
        ่
      มองเห็นได้เท่านั้น แต่การปล่อยให้อดอาหาร การไม่สนใจ
      ความเป็นความตายของผู้อื่น
      การข่มขู่ให้เกิดความหวาดกลัว การใช้คำาพูดที่ทำาร้าย
      จิตใจผูอื่น ล้วนเป็นความรุนแรง
                ้
      ได้ทั้งสิ้น
๑๑)ครูแนะนำาให้นักเรียนคำานึงถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่า
      ประโยชน์ส่วนตัว ได้แก่
      การลดความเห็นแก่ตัว และเสียสละแรงกายและใจเพื่อทำา
      ประโยชน์ให้แก่ส่วนรวม
      ช่วยกันดูแลรักษาทรัพย์สินที่เป็นสาธารณสมบัติ เช่น ตู้
      โทรศัพท์สาธารณะ ห้องสมุด
      ประจำาหมู่บ้าน เป็นต้น ช่วยกันอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เช่น ป่า
      ไม้ แม่นำ้าลำาธาร เป็นต้น
      รวมทังช่วยกันตักเตือนหรือห้ามปรามบุคคลไม่ให้ทำาลาย
             ้
      สาธารณสมบัติ หรือสิงแวดล้อม
                            ่
๑๒)นักเรียนทำาแบบฝึกหัดท้ายหน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๐
ชั่ว โมงที่ ๓-๔
122

ขั้น นำา เข้า สู่บ ทเรีย น
๑๓)ครูและนักเรียนสนทนากันถึงสภาพสังคมที่ผู้คนในสังคมถูก
     ห้อมล้อมด้วยข้อมูลที่
     นำาเสนอผ่านสื่อรอบตัวอยู่ตลอดเวลา หากสื่อนำาเสนอสาร
     บางอย่างออกมาซำ้าๆ กันบ่อยๆ
     ย่อมทำาให้ผู้รับสารเกิดการเปลี่ยนแปลงทางทัศนคติและ
     พฤติกรรมได้ โดยเฉพาะในกลุ่ม
     ผูรบสารทียงเป็นเยาวชน ซึงอาจยังไม่มวฒภาวะเพียงพอที่
         ้ ั         ่ ั              ่         ี ุ ิ
     จะเลือกบริโภค และไม่รเท่าทันู้
     สือได้ ตัวอย่างที่แสดงให้เห็นอิทธิพลของสื่อที่มีต่อการ
       ่
     เปลี่ยนแปลงทัศนคติและ
     พฤติกรรมของเยาวชนอย่างชัดเจน เช่น กระแสเกาหลี
     ฟีเวอร์ ซึ่งเกิดจากกระแส เค-ป๊อป
     และซีรีส์เกาหลี ที่ถูกประโคมนำามาฉายอย่างต่อเนื่อง จน
     ทำาให้แฟชั่น การแต่งตัวแบบ
     เกาหลีเป็นที่นิยมแพร่หลาย รวมถึงการทำาศัลยกรรม ใส่
     คอนแทคเลนส์ ทำาหน้าแบ๊ว
     เป็นที่นิยมอย่างกว้างขวางในหมู่วัยรุ่น
๑๔)ครูและนักเรียนสนทนากันเรื่องหลักเศรษฐกิจพอเพียง และ
     ครูอธิบายถึงการประยุกต์ใช้
     เศรษฐกิจพอเพียง ดังนี้
     ๑. พิจารณาจากความสามารถในการพึงตนเองเป็นหลัก เน้น
                                              ่
             ความสมดุลทัง ๓ คุณลักษณะ
                          ้
             คือ พอประมาณ มีเหตุมผล และมีภมคมกัน มาประกอบ
                                    ี       ู ิ ุ้
             การตัดสินใจเรืองต่าง ๆ เป็นขัน
                            ่             ้
             เป็นตอนรอบคอบ ระมัดระวัง พิจารณาถึงความพอดี พอ
             เหมาะ พอควร และพร้อมรับ
             การเปลี่ยนแปลงที่มีองค์ประกอบครอบคลุมทั้ง ๕
             ประการ คือ
              ด้านจิตใจ มีจิตใจเข้มแข็ง ฝึกตนเองได้ มีจิตสำานึกที่
                 ดี เอืออาทร ประนีประนอม
                       ้
                 และนึกถึงประโยชน์ส่วนรวมเป็นหลัก
              ด้านสังคม มีความช่วยเหลือเกื้อกูลกัน รู้รักสามัคคี
                 สร้างความเข้มแข็ง
123

        ให้ครอบครัวและชุมชน รู้จักผนึกกำาลัง มี
        กระบวนการเรียนรู้ที่เกิดจากรากฐาน
        ที่มั่นคงแข็งแรง
    ด้านเศรษฐกิจ ดำารงชีวิตอยู่อย่างพอดี พอมี พอกิน
        สมควรตามอัตภาพ และ
        ฐานะของตนประกอบอาชีพสุจริต (สัมมาอาชีวะ)
        ด้วยความขยันหมั่นเพียร
        อดทนใช้ชีวิตเรียบง่าย โดยไม่เบียดเบียนตนเองและ
        ผูอื่น มีรายได้สมดุลกับ
          ้
        รายจ่าย รู้จักการใช้จ่ายของตนเองและครอบครัว
        อย่างมีเหตุผลเท่าที่จำาเป็น
        ประหยัด รู้จัก การเก็บออมเงินและแบ่งปันผู้อื่น
    ด้านเทคโนโลยี รู้จักใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม
        สอดคล้องกับความต้องการและ
        ภูมินิเวศ พัฒนาเทคโนโลยีจากภูมิปัญญาท้องถิ่นมา
        ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อ
        ตนเองและสังคม
    ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รู้จักใช้และ
        จัดการอย่างฉลาดและ
        รอบคอบ สามารถเลือกใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิด
        ความยั่งยืนสูงสุด
๒. พิจารณาความรู้คู่คุณธรรม มีการศึกษาเรียนรู้และ
   พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
   (ทั้งภาคทฤษฎีและการปฏิบัติจริง) ในวิชาการต่างๆ ที่
   เกี่ยวข้องกับการดำารงชีวิต
   ใช้สติปัญญาในการตัดสินใจต่างๆ อย่างรอบรู้ รอบคอบ
   และมีเหตุผลทีจะนำาความรู้
                    ่
   ต่างๆ เหล่านันมาปรับใช้อย่างมีขนตอนและระมัดระวังใน
                  ้                 ั้
   การปฏิบติ มีความตระหนัก
               ั
   ในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต มีความเพียรความ
   อดทน และใช้สติปัญญา
   อย่างชาญฉลาดในการดำาเนินชีวิตในทางสายกลาง
124

ขั้น สอน
๑๕)ครูผู้สอนใช้เทคนิคการระดมความคิด (Brain Storming)
     มีลักษณะเป็นการอบรม
     แบบกระตุ้นให้ทุกคนได้ใช้สมองแสดงความคิดเห็น โดยมิ
     ต้องคำานึงถึงการเสนอของตน
     จะถูกต้องหรือใช้ได้หรือไม่ เมื่อสมาชิกทุกคนแสดงความ
     คิดเห็นแล้ว จึงพิจารณา
     ข้อเสนอแนะทีเหมาะสม หัวข้อทีนำาเสนอได้แก่อทธิพลของสือ
                   ่                ่           ิ           ่
     ต่อพฤติกรรมด้านความรุนแรง
     ของเยาวชน และ แนวทางการแก้ปัญหาการใช้ความ
     รุนแรง
๑๖)นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมต่อไปนี้
     ๑. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๕-๖ คน
     ๒. ให้ทำาแผ่นป้าย ขนาดตามความเหมาะสม คิดคำาขวัญเพือ  ่
        รณรงค์การใช้ความรุนแรงต่างๆ
        ที่นักเรียนพบเห็น พร้อมทั้งวาดภาพประกอบ ตกแต่งให้
        สวยงาม และนำาไปติด
        บริเวณต่างๆ ของโรงเรียน และสถานที่ต่างๆ ของชุมชน
        เพื่อให้บุคคลที่พบเห็นได้
        ตระหนักและเห็นความสำาคัญของปัญหาความรุนแรง
     ๓. ถ่ายรูปสถานที่ติดแผ่นป้าย และนำาเสนอหน้าชั้นเรียน
        ถึงกิจกรรมที่นักเรียนได้
        ไปปฏิบัติมา
๑๗) นักเรียนหาข่าวจากสื่อต่างๆ เกี่ยวกับความรุนแรงจากสื่อ
     ต่างๆ แล้วตั้งหัวข้อคำาถาม
     จำานวน ๓ ข้อ พร้อมหาคำาตอบของการแก้ไขปัญหา
๑๘)นักเรียนทำาใบงานที่ ๑๐.๔-๑๐.๕
ขั้น สรุป และการประยุก ต์
๑๙) ครูและนักเรียนสรุปอิทธิพลของสื่อต่อพฤติกรรมด้าน
     ความรุนแรงของเยาวชน และ
     แนวทางการแก้ปัญหาการใช้ความรุนแรง
๒๐)ครูเน้นสอนให้นักเรียนมีวินัย เช่น ฝึกกาย วาจาและใจ ให้
     ควบคุมพฤติกรรมของตนเอง
     ให้อยู่ในระเบียบแบบแผนที่ดีงาม เพื่อให้การทำางานและอยู่
125

       ร่วมกันของกลุ่มในสังคมนั้น
       เป็นไปด้วยความเรียบร้อย
    ๒๑)ครูปลูกฝังให้นกเรียนนำาคุณธรรมทีทกคนควรจะศึกษาและ
                        ั               ่ ุ
       น้อมนำามาปฏิบติ ๔ ประการคือ
                          ั
       ๑. รักษาความสัตย์ ความจริงใจต่อตัวเองที่จะประพฤติ
          ปฏิบัติแต่สิ่งที่เป็นประโยชน์
          และเป็นธรรม
       ๒. รู้จักข่มใจตนเอง ฝึกใจตนเองให้ประพฤติปฏิบัติอยู่ใน
          สัจจะความดีนั้น
       ๓. ความอดทน อดกลั้น และอดออมที่จะไม่ประพฤติล่วง
          ความสัตย์สุจริตไม่ว่าด้วยเหตุ
          ประการใด
       ๔. รู้จักละวางความชั่ว ความทุจริตและสละประโยชน์ส่วน
          น้อยของตนเพื่อประโยชน์
          ส่วนรวม
    ๒๒) นักเรียนทำาแบบฝึกหัดท้ายหน่วยการเรียนรู้ ในหนังสือ
       เสริมฝึกประสบการณ์ สุขศึกษา ๓
    ๒๓) นักเรียนทำาแบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน
 ๙. สื่อ /แหล่ง การเรีย นรู้
   ๑. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน สุขศึกษา ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
๓ ของสำานักพิมพ์เอมพันธ์
   ๒. หนังสือเสริมฝึกประสบการณ์ สุขศึกษา ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
๓ ของสำานักพิมพ์เอมพันธ์
   ๓. วีดิทศน์ แผ่นใสและรูปภาพประกอบ
           ั
   ๔. ข่าวสาร สือสิ่งพิมพ์
                 ่
 ๑๐. การบูร ณาการ
    บูรณาการกับกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ได้แก่ ทักษะการฟัง
                  ่              ้
ทักษะการอ่าน ทักษะการเขียน
และทักษะการพูด
126

    บูรณาการกับกลุมสาระการเรียนรูสงคมศึกษา ได้แก่ ปรัชญาของ
                    ่            ้ ั
เศรษฐกิจพอเพียง คุณธรรม
จริยธรรม และหน้าทีพลเมืองดี
                  ่




คำา ชี้แ จง ให้นักเรียนเขียนเครื่องหมาย  ทับตัวเลือกที่ถูกต้อง
ที่สด
    ุ
 ๑. ความรุนแรงหมายถึงการกระทำาใด
      ก. การข่มขืน                 ข. การบังคับข่มขู่
      ค. การทอดทิ้ง                ง. ถูกทุกข้อ
 ๒. การกระทำาในข้อใดไม่เ ข้า ข่า ยความรุนแรง
      ก. การพูดจาลวนลาม
      ข. การจับต้องของสงวน เช่น หน้าอก อวัยวะเพศ
      ค. การพูดอภิปรายในสภาผู้แทน
      ง. การกักขังหน่วงเหนี่ยว
 ๓. ข้อใดเป็นความรุนแรงด้านจิตใจ
      ก. การพูดให้รู้สึกอับอาย
      ข. การทำาให้ผู้อื่นบาดเจ็บ
      ค. การพูดจาลวนลาม
      ง. การละเลยทอดทิ้ง ไม่ดูแลต่อผู้ทอยู่ในความดูแล
                                        ี่
 ๔. ข้อใดไม่ใ ช่สาเหตุที่ทำาให้เกิดความรุนแรง
      ก. พื้นฐานส่วนบุคคล          ข. ค่านิยมและความเชื่อของ
สังคม
127

    ค. พันธุกรรม                   ง. สภาพแวดล้อม
 ๕. ข้อใดมีอิทธิพลต่อการเกิดความรุนแรงมากที่สุด
    ก. อยู่ในครอบครัวที่มีสภาพแวดล้อมเต็มไปด้วยความรุนแรง
    ข. อยู่ในครอบครัวที่แตกแยก พ่อแม่หย่าร้าง
    ค. เป็นลูกที่พ่อแม่ตามใจ
    ง. มีเพื่อนที่ชอบใช้ความรุนแรง
 ๖. การกระทำาในข้อใดที่เสี่ยงต่อการเกิดความรุนแรงมากที่สุด
    ก. อยู่ในกลุ่มเพื่อนที่ชอบเล่นดนตรีเสียงดัง
    ข. เข้าไปในที่ชุมนุมประท้วงทางการเมือง
    ค. เข้าไปในงานแสดงคอนเสิร์ต
    ง. เข้าไปในงานมหกรรมกีฬา
 ๗. นักเรียนสามารถหลีกเลี่ยงและป้องกันการใช้ความรุนแรง
โดยวิธีใดมากที่สุด
    ก. ฝึกตนให้มีความอดทนอดกลั้น
    ข. ให้สติแก่เพื่อนที่ชอบใช้ความรุนแรง
    ค. เข้าร่วมกิจกรรมสร้างสรรค์
    ง. หลีกเลี่ยงการเข้าไปในสถานการณ์ที่มีการยั่วยุ
 ๘. เนื้อหาสือในข้อใดมีอิทธิพลต่อการสร้างความรุนแรงในสังคม
              ่
มากที่สุด
    ก. รายการตลก                   ข. ข่าวอาชญากรรม
    ค. พาดหัวข่าวหนังสือพิมพ์ ง. เกมออนไลน์
 ๙.สือประเภทใดมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมความรุนแรงต่อเยาวชน
     ่
    ก. เกมออนไลน์                  ข. ละครหลังข่าว
    ค. รายการตลก                   ง. การ์ตูน
๑๐.ข้อใดเป็นพฤติกรรมที่ไ ม่ถ ูก ต้อ งเกี่ยวกับการบริโภคสื่อ
    ก. แยกแยะเรื่องจริงกับเรื่องจำาลองที่สื่อนำาเสนอ
    ข. รู้เท่าทันความรุนแรงที่แฝงมาในเนื้อหา
    ค. มองว่าความรุนแรงเป็นเรื่องปกติที่สื่อนำาเสนอ
    ง. ใช้วิจารณญาณในการเลือกบริโภคสื่อ


                   เฉลยแบบทดสอบก่อ น
128

                  เรีย น/หลัง เรีย น
              ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑
                                     ๐
              ง ค ก ค ก ข ก ข ก ค


                 บัน ทึก หลัง การสอน
๑. ผลการสอน

……………………………………………………………………
……………………………….
……………………………………………………………………
……………………………….
……………………………………………………………………
……………………………….
……………………………………………………………………
……………………………….
……………………………………………………………………
……………………………….
๒. ปัญ หา/อุป สรรค

……………………………………………………………………
……………………………….
……………………………………………………………………
……………………………….
……………………………………………………………………
……………………………….
……………………………………………………………………
……………………………….
……………………………………………………………………
……………………………….
129

๓. ข้อ เสนอแนะ /แนวทางแก้ไ ข

……………………………………………………………………
……………………………….
……………………………………………………………………
……………………………….
……………………………………………………………………
……………………………….
……………………………………………………………………
……………………………….
……………………………………………………………………
……………………………….
            ลงชื่อ...............................................ครูผู้สอน
                                           (................................
                                            ...............)
             วันที่.......เดือน..........................พ.ศ. ............
๔. ข้อ เสนอแนะของหัว หน้า สถานศึก ษาหรือ ผู้ท ี่ไ ด้ร ับ มอบ
หมาย

……………………………………………………………………
……………………………….
……………………………………………………………………
……………………………….
……………………………………………………………………
……………………………….
……………………………………………………………………
……………………………….
……………………………………………………………………
……………………………….
            ลงชื่อ...............................................................
130

                (........................
  ....................................)

More Related Content

What's hot

ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก Jeerapob Seangboonme
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนkrupornpana55
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2dnavaroj
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552waranyuati
 
เรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหลเรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหลApinya Phuadsing
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7ekroojaja
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10supap6259
 
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4preecha2001
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดBio Beau
 
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.11.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1Kruthai Kidsdee
 
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกโครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกพัน พัน
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์oraneehussem
 
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3teerachon
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วมเรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วมพัน พัน
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีrewat Chitthaing
 

What's hot (20)

ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
 
เรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหลเรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหล
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
 
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.11.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
 
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกโครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
 
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วมเรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 

Similar to 3.แผนสุขศึกษาหลีกเลี่ยงความรุนแรงม. 3

แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์Kruthai Kidsdee
 
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์Kruthai Kidsdee
 
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.44.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4Kruthai Kidsdee
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2supap6259
 
แผนสุขศึกษาม 6 10
แผนสุขศึกษาม 6 10แผนสุขศึกษาม 6 10
แผนสุขศึกษาม 6 10Kruthai Kidsdee
 
โครงสร้างและแผนแอมพัน์ม5อย่าไปหาสารเสพติด
โครงสร้างและแผนแอมพัน์ม5อย่าไปหาสารเสพติดโครงสร้างและแผนแอมพัน์ม5อย่าไปหาสารเสพติด
โครงสร้างและแผนแอมพัน์ม5อย่าไปหาสารเสพติดKruthai Kidsdee
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตรPat1803
 
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1tassanee chaicharoen
 
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6Kruthai Kidsdee
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2tassanee chaicharoen
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาtassanee chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3tassanee chaicharoen
 
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่Chatnakrop Sukhonthawat
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพUmmara Kijruangsri
 
การสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษาการสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษาan1030
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1Kiw E D
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7supap6259
 

Similar to 3.แผนสุขศึกษาหลีกเลี่ยงความรุนแรงม. 3 (20)

แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์
 
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
 
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.44.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
 
แผนสุขศึกษาม 6 10
แผนสุขศึกษาม 6 10แผนสุขศึกษาม 6 10
แผนสุขศึกษาม 6 10
 
โครงสร้างและแผนแอมพัน์ม5อย่าไปหาสารเสพติด
โครงสร้างและแผนแอมพัน์ม5อย่าไปหาสารเสพติดโครงสร้างและแผนแอมพัน์ม5อย่าไปหาสารเสพติด
โครงสร้างและแผนแอมพัน์ม5อย่าไปหาสารเสพติด
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตร
 
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
 
Isstrain
IsstrainIsstrain
Isstrain
 
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
 
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพ
 
หน่วยที่๔
หน่วยที่๔หน่วยที่๔
หน่วยที่๔
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
 
การสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษาการสอนสุขศึกษา
การสอนสุขศึกษา
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
 

More from Kruthai Kidsdee

คู่มืออบรม Google sites
คู่มืออบรม  Google sitesคู่มืออบรม  Google sites
คู่มืออบรม Google sitesKruthai Kidsdee
 
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google doc
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google docคู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google doc
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google docKruthai Kidsdee
 
คู่มือการใช้งาน Google plus
คู่มือการใช้งาน Google plusคู่มือการใช้งาน Google plus
คู่มือการใช้งาน Google plusKruthai Kidsdee
 
คู่มือการใช้งาน Google drive
คู่มือการใช้งาน Google driveคู่มือการใช้งาน Google drive
คู่มือการใช้งาน Google driveKruthai Kidsdee
 
คู่มือการใช้งาน Google
คู่มือการใช้งาน  Googleคู่มือการใช้งาน  Google
คู่มือการใช้งาน GoogleKruthai Kidsdee
 
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sites
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sitesการสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sites
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sitesKruthai Kidsdee
 
การใช้งาน Google docs
การใช้งาน Google docsการใช้งาน Google docs
การใช้งาน Google docsKruthai Kidsdee
 
Final traininggoogleapps presentation2
Final traininggoogleapps presentation2Final traininggoogleapps presentation2
Final traininggoogleapps presentation2Kruthai Kidsdee
 
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.3230 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32Kruthai Kidsdee
 
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝัน
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝันแนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝัน
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝันKruthai Kidsdee
 
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015Kruthai Kidsdee
 
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015Kruthai Kidsdee
 
แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์ ทำไวนิล091
แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์  ทำไวนิล091แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์  ทำไวนิล091
แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์ ทำไวนิล091Kruthai Kidsdee
 
น้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าน้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าKruthai Kidsdee
 
น้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าน้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าKruthai Kidsdee
 

More from Kruthai Kidsdee (20)

Google apps content_1
Google apps content_1Google apps content_1
Google apps content_1
 
Google drive
Google driveGoogle drive
Google drive
 
Google docs 11
Google docs 11Google docs 11
Google docs 11
 
Google form 11
Google form 11Google form 11
Google form 11
 
คู่มืออบรม Google sites
คู่มืออบรม  Google sitesคู่มืออบรม  Google sites
คู่มืออบรม Google sites
 
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google doc
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google docคู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google doc
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google doc
 
คู่มือการใช้งาน Google plus
คู่มือการใช้งาน Google plusคู่มือการใช้งาน Google plus
คู่มือการใช้งาน Google plus
 
คู่มือการใช้งาน Google drive
คู่มือการใช้งาน Google driveคู่มือการใช้งาน Google drive
คู่มือการใช้งาน Google drive
 
คู่มือการใช้งาน Google
คู่มือการใช้งาน  Googleคู่มือการใช้งาน  Google
คู่มือการใช้งาน Google
 
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sites
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sitesการสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sites
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sites
 
การใช้งาน Google docs
การใช้งาน Google docsการใช้งาน Google docs
การใช้งาน Google docs
 
Google appsall
Google appsallGoogle appsall
Google appsall
 
Final traininggoogleapps presentation2
Final traininggoogleapps presentation2Final traininggoogleapps presentation2
Final traininggoogleapps presentation2
 
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.3230 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
 
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝัน
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝันแนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝัน
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝัน
 
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
 
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
 
แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์ ทำไวนิล091
แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์  ทำไวนิล091แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์  ทำไวนิล091
แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์ ทำไวนิล091
 
น้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าน้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้า
 
น้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าน้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้า
 

3.แผนสุขศึกษาหลีกเลี่ยงความรุนแรงม. 3

  • 1. การออกแบบหน่ว ยการเรีย นรู้แ บบ Backward Design กลุ่ม สาระการเรีย นรู้ สุข ศึก ษาและพลศึก ษา วิช า สุข ศึก ษา ๓ ชัน มัธ ยมศึก ษาปี ้ ที่ ๓ เวลา ๔ ชัว โมง่ หัว เรื่อ ง /Theme / หน่ว ยการเรีย นรู้ท ี่ ๑๐ หลีก เลี่ย ง ความรุน แรง ๑. การกำา หนดเป้า หมายการเรีย นรู้ ๑. ความหมายของความรุนแรง ๒. สาเหตุของความรุนแรง ๓. อิทธิพลของสื่อต่อพฤติกรรมด้านความรุนแรงของเยาวชน ๔. แนวทางการแก้ปัญหาการใช้ความรุนแรง ผัง (Big Idea) แนวทางการ หลีก ความหมาย การใช้คหา แก้ปัญ วาม ความ เลี่ย ง ความ ของ รุนแรง รุน แรง รุนแรง อิทธิพลของสื่อต่อ สาเหตุของ พฤติกรรมด้าน ความ ของเยาวชน ความรุนแรง รุนแรง ๒. มาตรฐานการเรีย นรู้ท ี่เ ป็น เป้า หมาย มาตรฐาน พ ๕.๑ ป้องกันและหลีกเลียงปัจจัยเสียง พฤติกรรม ่ ่ เสียงต่อสุขภาพ อุบตเหตุ การใช้ยา ่ ั ิ สารเสพติด และความรุนแรง ๓. ตัว ชี้ว ัด : สิ่ง ที่น ัก เรีย นพึง รู้แ ละปฏิบ ัต ิไ ด้
  • 2. 115 พ ๕.๑ (๒) หลีกเลียงการใช้ความรุนแรงและชักชวนเพือนให้ ่ ่ หลีกเลียงการใช้ความรุนแรง ่ ในการแก้ปญหา ั (๓) วิเคราะห์อทธิพลของสือต่อพฤติกรรมสุขภาพและ ิ ่ ความรุนแรง ๔. เป้า หมายการเรีย นรู้ ๑. ความเข้า ใจที่ค งทน วิเคราะห์ปัญหาและผลกระทบจากการใช้ความรุนแรง แนะนำาวิธีหลีกเลี่ยงการใช้ ความรุนแรง และวิเคราะห์อิทธิพลของสื่อต่อพฤติกรรมสุขภาพ และความรุนแรง (คลิปวิดีโอ การทะเลาะวิวาท อินเทอร์เน็ต เกม ฯลฯ) ๒. จิต พิส ัย เข้าใจปัญหาและผลกระทบจากการใช้ความรุนแรง วิธีหลีก เลี่ยงการใช้ความรุนแรง และตระหนักถึงอิทธิพลของสื่อต่อ พฤติกรรมสุขภาพและความรุนแรง (คลิปวิดีโอการทะเลาะวิวาท อินเทอร์เน็ต เกม ฯลฯ) ๓. สมรรถนะสำา คัญ ของนัก เรีย น ๑) ความสามารถในการสื่อสาร ๒) ความสามารถในการ คิด ๓) ความสามารถในการแก้ปัญหา ๔) ความสามารถ ในการใช้ทกษะชีวต ั ิ ๕) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ๔. คุณ ลัก ษณะอัน พึง ประสงค์ ๑) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๒) ซือสัตย์สุจริต ่ ๓) มีวินัย ๔) ใฝ่เรียนรู้ ๕) อยู่อย่างพอเพียง ๖) มุ่งมั่นในการทำางาน ๗) รักความเป็นไทย ๘) มี จิ ต สาธารณะ ๕. ความรู้แ ละทัก ษะเฉพาะวิช า ๑)อธิบายความหมายและสาเหตุของความรุนแรงได้ ๒)วิเคราะห์และแยกแยะถึงการกระทำาหรือพฤติกรรมใดว่า เป็นความรุนแรงได้ ๓)อธิบายอิทธิพลของสื่อที่มีผลต่อพฤติกรรมด้านความ รุนแรงของเยาวชนได้
  • 3. 116 ๔) อธิบายวิธีการหลีกเลี่ยงและป้องกันการใช้ความรุนแรงได้ ๖. ทัก ษะคร่อ มวิช า ๑)ทัก ษะการฟัง การฟังครูอธิบาย และเพื่อนๆ แสดงความ คิดเห็นในชั้นเรียน ๒) ทัก ษะการอ่า น การอ่านเนื้อหาสาระ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๐ ๓) ทัก ษะการเขีย น การเขียนรายงาน การทำาแบบฝึกหัด และการทำารายงาน ๔) ทัก ษะการนำา เสนอ การนำาเสนอ เนื้อหาสาระในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ ๕) ทัก ษะการทำา งานกลุ่ม ระดมความคิด ในการทำางานกลุ่ม ๖)การสร้า งสรรค์ง านทัศ นศิล ป์ การเขียนผังความคิด (Mind Mapping)
  • 4. 117 แผนการจัด การเรีย นรู้ท ี่ ๑๐ วิช า สุข ศึก ษา ๓ ชัน มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ ๓ ้ หน่ว ยการเรีย นรู้ท ี่ ๑๐ หลีก เลี่ย งความ รุน แรง เวลา ๔ ชั่ว โมง ๑. เป้า หมายการเรีย นรู้ วิเคราะห์ปัญหาและผลกระทบจากการใช้ความรุนแรง แนะนำา วิธีหลีกเลี่ยงการใช้ความรุนแรง และวิเคราะห์อิทธิพลของสื่อต่อพฤติกรรมสุขภาพและความรุนแรง (คลิปวิดีโอการทะเลาะวิวาท อินเทอร์เน็ต เกม ฯลฯ) ๒. สาระสำา คัญ ความรุนแรง คือ การทำาร้ายผูอนทางร่างกาย จิตใจ และทำาให้ ้ ื่ ทรัพย์สนของผูอนได้รบความเสียหาย ิ ้ ื่ ั เกิดจาก ๓ ปัจจัยด้วยกัน คือ ปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคล ปัจจัยจากค่า นิยม และความเชื่อของสังคม และ ปัจจัยจากสภาพแวดล้อม ปัจจุบันสื่อนับเป็นสิ่งที่มีอิทธิพลและ อำานาจในการช่วยปลูกฝังค่านิยม และ สร้างทัศนคติซึ่งนำาไปสู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้รับสารได้ โดยเฉพาะเยาวชนซึ่งเป็นวัยที่ตก อยู่ใต้อิทธิพลของสื่อได้ง่าย ผู้คนสามารถพบเห็นพาดหัวข่าวที่มี เนื้อหาเกี่ยวกับความรุนแรง บนหน้าหนึงของหนังสือพิมพ์อยูเป็นประจำา นอกจากนีเรายังพบเห็น ่ ่ ้ ความรุนแรงได้ในละครโทรทัศน์ ภาพยนตร์ เกมออนไลน์ หรือบนอินเทอร์เน็ตจนอาจทำาให้ผู้รับสื่อ เกิดพฤติกรรมที่ใช้ความรุนแรงได้ ๓. มาตรฐานและตัว ชี้ว ัด มาตรฐาน พ ๕.๑ ป้องกันและหลีกเลียงปัจจัยเสียง พฤติกรรม ่ ่ เสียงต่อสุขภาพ อุบตเหตุ การใช้ยา ่ ั ิ สารเสพติด และความรุนแรง ตัว ชี้ว ัด : สิ่ง ที่น ัก เรีย นพึง รู้แ ละปฏิบ ัต ิไ ด้ พ ๕.๑ (๒) หลีกเลียงการใช้ความรุนแรงและชักชวนเพือนให้ ่ ่ หลีกเลียงการใช้ความรุนแรง ่ ในการแก้ปญหา ั
  • 5. 118 (๓) วิเคราะห์อทธิพลของสือต่อพฤติกรรมสุขภาพและ ิ ่ ความรุนแรง ๔. สาระการเรีย นรู้ ๑. ความหมายของความรุนแรง ๒. สาเหตุของความรุนแรง ๓. อิทธิพลของสื่อต่อพฤติกรรมด้านความรุนแรงของเยาวชน ๔. แนวทางการแก้ปัญหาการใช้ความรุนแรง ๕. จุด ประสงค์ก ารเรีย นรู้ K (Knowledge) P (Practice) A (Attitude) ความรู้ ความ การฝึก ปฏิบ ัต ิ คุณ ลัก ษณะอัน เข้า ใจ พึง ประสงค์ ๑.อธิบายความหมาย ๑.บอกความหมายและ ๑. รักชาติ ศาสน์ และ สาเหตุ กษัตริย์ สาเหตุของความ ของความรุนแรง ๒. ซือสัตย์สุจริต ่ รุนแรงได้ ๒. แยกแยะถึงการก ๓. มีวินัย ๒. วิเคราะห์และ ระทำาหรือ ๔. ใฝ่เรียนรู้ แยกแยะถึง พฤติกรรมใดว่าเป็น ๕. อยู่อย่างพอ การกระทำาหรือ ความรุนแรง เพียง พฤติกรรม ๓. บอกอิทธิพลของ ๖. มุ่งมั่นในการ ใดว่าเป็นความ สือที่มีผลต่อ ่ ทำางาน รุนแรงได้ พฤติกรรมด้านความ ๗. รัก ๓. อธิบายอิทธิพล รุนแรง ความเป็นไทย ของสือที่มี ่ ของเยาวชน ๘.มีจิตสาธารณะ ผลต่อพฤติกรรม ๔.เสนอแนะวิธีการ ด้าน หลีกเลี่ยงและ ความรุนแรงของ ป้องกันการใช้ความ เยาวชนได้ รุนแรง ๔.อธิบายวิธีการหลีก เลี่ยงและ ป้องกันการใช้ ความรุนแรง ได้
  • 6. 119 ๖. การวัด และประเมิน ผล ๑. เครื่อ งมือ วัด และประเมิน ผล ๑) แบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน ๒) แบบทดสอบ ๓) ใบงาน ๔) แบบประเมินพฤติกรรมการ ทำางานกลุ่ม ๕) แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ๖) แบบสังเกต สมรรถนะสำาคัญของนักเรียน ๗) แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ ๒. วิธ ีว ัด ผล ๑) ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน ๒) ตรวจแบบ ทดสอบ ๓) ตรวจใบงาน ๔) สังเกตพฤติกรรมการ ทำางานกลุ่ม ๕) สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล๖) สังเกตสมรรถนะสำาคัญของ นักเรียน ๗) สังเกตคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ ๓. เกณฑ์ก ารวัด และประเมิน ผล ๑) สำาหรับชัวโมงแรกทีใช้แบบทดสอบก่อนเรียนไม่มเกณฑ์ ่ ่ ี ผ่าน เก็บคะแนนไว้เปรียบเทียบ กับคะแนนที่ได้จากการทดสอบหลังเรียน ๒) การประเมินผลจากแบบทดสอบ ต้องผ่านเกณฑ์การ ทดสอบเกินร้อยละ ๕๐ ๓) การประเมินผลจากแบบตรวจใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์การ ประเมิน เรืองความรูความเข้าใจ ่ ้ การนำาไปใช้ ทักษะ และจิตพิสัย ทุกช่องเกินร้อยละ ๕๐ ๔) การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทำางานกลุ่ม ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน คือ เกินร้อยละ ๕๐
  • 7. 120 ๕) การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล เกณฑ์ ผ่านการประเมิน ต้องไม่มีช่อง ปรับปรุง ๖) การประเมินผลการสังเกตสมรรถนะสำาคัญของนักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับการประเมิน ตามสภาพจริง ๗) การประเมินผลการสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของ นักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับ การประเมินตามสภาพจริง ๗. หลัก ฐาน/ผลงาน ๑. ผลการทำาแบบทดสอบ ๒. ผลการทำาใบงาน ๘. กิจ กรรมการเรีย นรู้ ชั่ว โมงที่ ๑-๒ ขั้น นำา เข้า สู่บ ทเรีย น ๑) ครูและนักเรียนสนทนากันเรืองความรุนแรง หมายถึง ่ พฤติกรรม หรือการกระทำาของบุคคลใด บุคคลหนึ่ง ต่อบุคคลอื่นโดยใช้อำานาจ กำาลัง หรือคำาพูด รุกรานสิทธิเสรีภาพส่วนบุคคล ทำาให้ผถกกระทำาได้รบบาดเจ็บทางร่างกาย จิตใจ ตลอดจน ู้ ู ั ทรัพย์สนเสียหาย หรืออาจเข้าใจ ิ ได้ง่ายๆ ว่า ความรุนแรง คือ การทำาร้ายผู้อื่นทางร่างกาย จิตใจ และทำาให้ทรัพย์สินของผู้อื่น ได้รับความเสียหาย ๒)นักเรียนยกตัวอย่างความรุนแรง เช่น การตีกน ทำาร้ายกัน แม่ ั วัยรุนทอดทิงเด็ก เป็นต้น ่ ้ ๓)นักเรียนทำาแบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน ขั้น สอน ๔) ครูใช้รูปแบบการเรียนแบบ TAI (Team Assisted Individualization) เพื่อเน้นการเรียนของ แต่ละบุคคลเนื่องจากความหมายของความรุนแรง และ สาเหตุของความรุนแรง
  • 8. 121 ๕) ครูยังใช้เทคนิคการสอนแบบการประชุมแบบซินดิเคท (Syndicate) โดยกำาหนดสาเหตุ ของความรุนแรง ๖) นักเรียนยกตัวอย่างความรุนแรงทีนกเรียนพบเห็นในปัจจุบน ่ ั ั ระบุผลกระทบจากความรุนแรง นั้น และวิธีการแก้ไขความรุนแรงดังกล่าว ๗) นักเรียนหาข่าวจากสือต่างๆ แล้ววิเคราะห์ขาวและแสดง ่ ่ ความคิดเห็น พร้อมทังแนวทางแก้ไข ้ ๘) ครูเปิดวีดิทัศน์ให้นักเรียนชมเพื่อเปรียบเทียบความรุนแรงกับ สาเหตุของความรุนแรง เป็นอย่างไรบ้าง เพื่อให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้และสามารถ นำาไปใช้ในชีวิตประจำาวัน ได้อย่างพอเพียง และสามารถสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวเองได้ ๙)นักเรียนทำาใบงานที่ ๑๐.๑-๑๐.๓ ขั้น สรุป และการประยุก ต์ ๑๐)ครูและนักเรียนสรุป ความรุนแรงไม่ได้หมายถึงแค่ทำาให้ผู้ อืนมีบาดแผลทางกายที่ ่ มองเห็นได้เท่านั้น แต่การปล่อยให้อดอาหาร การไม่สนใจ ความเป็นความตายของผู้อื่น การข่มขู่ให้เกิดความหวาดกลัว การใช้คำาพูดที่ทำาร้าย จิตใจผูอื่น ล้วนเป็นความรุนแรง ้ ได้ทั้งสิ้น ๑๑)ครูแนะนำาให้นักเรียนคำานึงถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่า ประโยชน์ส่วนตัว ได้แก่ การลดความเห็นแก่ตัว และเสียสละแรงกายและใจเพื่อทำา ประโยชน์ให้แก่ส่วนรวม ช่วยกันดูแลรักษาทรัพย์สินที่เป็นสาธารณสมบัติ เช่น ตู้ โทรศัพท์สาธารณะ ห้องสมุด ประจำาหมู่บ้าน เป็นต้น ช่วยกันอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เช่น ป่า ไม้ แม่นำ้าลำาธาร เป็นต้น รวมทังช่วยกันตักเตือนหรือห้ามปรามบุคคลไม่ให้ทำาลาย ้ สาธารณสมบัติ หรือสิงแวดล้อม ่ ๑๒)นักเรียนทำาแบบฝึกหัดท้ายหน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๐ ชั่ว โมงที่ ๓-๔
  • 9. 122 ขั้น นำา เข้า สู่บ ทเรีย น ๑๓)ครูและนักเรียนสนทนากันถึงสภาพสังคมที่ผู้คนในสังคมถูก ห้อมล้อมด้วยข้อมูลที่ นำาเสนอผ่านสื่อรอบตัวอยู่ตลอดเวลา หากสื่อนำาเสนอสาร บางอย่างออกมาซำ้าๆ กันบ่อยๆ ย่อมทำาให้ผู้รับสารเกิดการเปลี่ยนแปลงทางทัศนคติและ พฤติกรรมได้ โดยเฉพาะในกลุ่ม ผูรบสารทียงเป็นเยาวชน ซึงอาจยังไม่มวฒภาวะเพียงพอที่ ้ ั ่ ั ่ ี ุ ิ จะเลือกบริโภค และไม่รเท่าทันู้ สือได้ ตัวอย่างที่แสดงให้เห็นอิทธิพลของสื่อที่มีต่อการ ่ เปลี่ยนแปลงทัศนคติและ พฤติกรรมของเยาวชนอย่างชัดเจน เช่น กระแสเกาหลี ฟีเวอร์ ซึ่งเกิดจากกระแส เค-ป๊อป และซีรีส์เกาหลี ที่ถูกประโคมนำามาฉายอย่างต่อเนื่อง จน ทำาให้แฟชั่น การแต่งตัวแบบ เกาหลีเป็นที่นิยมแพร่หลาย รวมถึงการทำาศัลยกรรม ใส่ คอนแทคเลนส์ ทำาหน้าแบ๊ว เป็นที่นิยมอย่างกว้างขวางในหมู่วัยรุ่น ๑๔)ครูและนักเรียนสนทนากันเรื่องหลักเศรษฐกิจพอเพียง และ ครูอธิบายถึงการประยุกต์ใช้ เศรษฐกิจพอเพียง ดังนี้ ๑. พิจารณาจากความสามารถในการพึงตนเองเป็นหลัก เน้น ่ ความสมดุลทัง ๓ คุณลักษณะ ้ คือ พอประมาณ มีเหตุมผล และมีภมคมกัน มาประกอบ ี ู ิ ุ้ การตัดสินใจเรืองต่าง ๆ เป็นขัน ่ ้ เป็นตอนรอบคอบ ระมัดระวัง พิจารณาถึงความพอดี พอ เหมาะ พอควร และพร้อมรับ การเปลี่ยนแปลงที่มีองค์ประกอบครอบคลุมทั้ง ๕ ประการ คือ  ด้านจิตใจ มีจิตใจเข้มแข็ง ฝึกตนเองได้ มีจิตสำานึกที่ ดี เอืออาทร ประนีประนอม ้ และนึกถึงประโยชน์ส่วนรวมเป็นหลัก  ด้านสังคม มีความช่วยเหลือเกื้อกูลกัน รู้รักสามัคคี สร้างความเข้มแข็ง
  • 10. 123 ให้ครอบครัวและชุมชน รู้จักผนึกกำาลัง มี กระบวนการเรียนรู้ที่เกิดจากรากฐาน ที่มั่นคงแข็งแรง  ด้านเศรษฐกิจ ดำารงชีวิตอยู่อย่างพอดี พอมี พอกิน สมควรตามอัตภาพ และ ฐานะของตนประกอบอาชีพสุจริต (สัมมาอาชีวะ) ด้วยความขยันหมั่นเพียร อดทนใช้ชีวิตเรียบง่าย โดยไม่เบียดเบียนตนเองและ ผูอื่น มีรายได้สมดุลกับ ้ รายจ่าย รู้จักการใช้จ่ายของตนเองและครอบครัว อย่างมีเหตุผลเท่าที่จำาเป็น ประหยัด รู้จัก การเก็บออมเงินและแบ่งปันผู้อื่น  ด้านเทคโนโลยี รู้จักใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการและ ภูมินิเวศ พัฒนาเทคโนโลยีจากภูมิปัญญาท้องถิ่นมา ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อ ตนเองและสังคม  ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รู้จักใช้และ จัดการอย่างฉลาดและ รอบคอบ สามารถเลือกใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิด ความยั่งยืนสูงสุด ๒. พิจารณาความรู้คู่คุณธรรม มีการศึกษาเรียนรู้และ พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง (ทั้งภาคทฤษฎีและการปฏิบัติจริง) ในวิชาการต่างๆ ที่ เกี่ยวข้องกับการดำารงชีวิต ใช้สติปัญญาในการตัดสินใจต่างๆ อย่างรอบรู้ รอบคอบ และมีเหตุผลทีจะนำาความรู้ ่ ต่างๆ เหล่านันมาปรับใช้อย่างมีขนตอนและระมัดระวังใน ้ ั้ การปฏิบติ มีความตระหนัก ั ในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต มีความเพียรความ อดทน และใช้สติปัญญา อย่างชาญฉลาดในการดำาเนินชีวิตในทางสายกลาง
  • 11. 124 ขั้น สอน ๑๕)ครูผู้สอนใช้เทคนิคการระดมความคิด (Brain Storming) มีลักษณะเป็นการอบรม แบบกระตุ้นให้ทุกคนได้ใช้สมองแสดงความคิดเห็น โดยมิ ต้องคำานึงถึงการเสนอของตน จะถูกต้องหรือใช้ได้หรือไม่ เมื่อสมาชิกทุกคนแสดงความ คิดเห็นแล้ว จึงพิจารณา ข้อเสนอแนะทีเหมาะสม หัวข้อทีนำาเสนอได้แก่อทธิพลของสือ ่ ่ ิ ่ ต่อพฤติกรรมด้านความรุนแรง ของเยาวชน และ แนวทางการแก้ปัญหาการใช้ความ รุนแรง ๑๖)นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมต่อไปนี้ ๑. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๕-๖ คน ๒. ให้ทำาแผ่นป้าย ขนาดตามความเหมาะสม คิดคำาขวัญเพือ ่ รณรงค์การใช้ความรุนแรงต่างๆ ที่นักเรียนพบเห็น พร้อมทั้งวาดภาพประกอบ ตกแต่งให้ สวยงาม และนำาไปติด บริเวณต่างๆ ของโรงเรียน และสถานที่ต่างๆ ของชุมชน เพื่อให้บุคคลที่พบเห็นได้ ตระหนักและเห็นความสำาคัญของปัญหาความรุนแรง ๓. ถ่ายรูปสถานที่ติดแผ่นป้าย และนำาเสนอหน้าชั้นเรียน ถึงกิจกรรมที่นักเรียนได้ ไปปฏิบัติมา ๑๗) นักเรียนหาข่าวจากสื่อต่างๆ เกี่ยวกับความรุนแรงจากสื่อ ต่างๆ แล้วตั้งหัวข้อคำาถาม จำานวน ๓ ข้อ พร้อมหาคำาตอบของการแก้ไขปัญหา ๑๘)นักเรียนทำาใบงานที่ ๑๐.๔-๑๐.๕ ขั้น สรุป และการประยุก ต์ ๑๙) ครูและนักเรียนสรุปอิทธิพลของสื่อต่อพฤติกรรมด้าน ความรุนแรงของเยาวชน และ แนวทางการแก้ปัญหาการใช้ความรุนแรง ๒๐)ครูเน้นสอนให้นักเรียนมีวินัย เช่น ฝึกกาย วาจาและใจ ให้ ควบคุมพฤติกรรมของตนเอง ให้อยู่ในระเบียบแบบแผนที่ดีงาม เพื่อให้การทำางานและอยู่
  • 12. 125 ร่วมกันของกลุ่มในสังคมนั้น เป็นไปด้วยความเรียบร้อย ๒๑)ครูปลูกฝังให้นกเรียนนำาคุณธรรมทีทกคนควรจะศึกษาและ ั ่ ุ น้อมนำามาปฏิบติ ๔ ประการคือ ั ๑. รักษาความสัตย์ ความจริงใจต่อตัวเองที่จะประพฤติ ปฏิบัติแต่สิ่งที่เป็นประโยชน์ และเป็นธรรม ๒. รู้จักข่มใจตนเอง ฝึกใจตนเองให้ประพฤติปฏิบัติอยู่ใน สัจจะความดีนั้น ๓. ความอดทน อดกลั้น และอดออมที่จะไม่ประพฤติล่วง ความสัตย์สุจริตไม่ว่าด้วยเหตุ ประการใด ๔. รู้จักละวางความชั่ว ความทุจริตและสละประโยชน์ส่วน น้อยของตนเพื่อประโยชน์ ส่วนรวม ๒๒) นักเรียนทำาแบบฝึกหัดท้ายหน่วยการเรียนรู้ ในหนังสือ เสริมฝึกประสบการณ์ สุขศึกษา ๓ ๒๓) นักเรียนทำาแบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน ๙. สื่อ /แหล่ง การเรีย นรู้ ๑. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน สุขศึกษา ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ของสำานักพิมพ์เอมพันธ์ ๒. หนังสือเสริมฝึกประสบการณ์ สุขศึกษา ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ของสำานักพิมพ์เอมพันธ์ ๓. วีดิทศน์ แผ่นใสและรูปภาพประกอบ ั ๔. ข่าวสาร สือสิ่งพิมพ์ ่ ๑๐. การบูร ณาการ บูรณาการกับกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ได้แก่ ทักษะการฟัง ่ ้ ทักษะการอ่าน ทักษะการเขียน และทักษะการพูด
  • 13. 126 บูรณาการกับกลุมสาระการเรียนรูสงคมศึกษา ได้แก่ ปรัชญาของ ่ ้ ั เศรษฐกิจพอเพียง คุณธรรม จริยธรรม และหน้าทีพลเมืองดี ่ คำา ชี้แ จง ให้นักเรียนเขียนเครื่องหมาย  ทับตัวเลือกที่ถูกต้อง ที่สด ุ ๑. ความรุนแรงหมายถึงการกระทำาใด ก. การข่มขืน ข. การบังคับข่มขู่ ค. การทอดทิ้ง ง. ถูกทุกข้อ ๒. การกระทำาในข้อใดไม่เ ข้า ข่า ยความรุนแรง ก. การพูดจาลวนลาม ข. การจับต้องของสงวน เช่น หน้าอก อวัยวะเพศ ค. การพูดอภิปรายในสภาผู้แทน ง. การกักขังหน่วงเหนี่ยว ๓. ข้อใดเป็นความรุนแรงด้านจิตใจ ก. การพูดให้รู้สึกอับอาย ข. การทำาให้ผู้อื่นบาดเจ็บ ค. การพูดจาลวนลาม ง. การละเลยทอดทิ้ง ไม่ดูแลต่อผู้ทอยู่ในความดูแล ี่ ๔. ข้อใดไม่ใ ช่สาเหตุที่ทำาให้เกิดความรุนแรง ก. พื้นฐานส่วนบุคคล ข. ค่านิยมและความเชื่อของ สังคม
  • 14. 127 ค. พันธุกรรม ง. สภาพแวดล้อม ๕. ข้อใดมีอิทธิพลต่อการเกิดความรุนแรงมากที่สุด ก. อยู่ในครอบครัวที่มีสภาพแวดล้อมเต็มไปด้วยความรุนแรง ข. อยู่ในครอบครัวที่แตกแยก พ่อแม่หย่าร้าง ค. เป็นลูกที่พ่อแม่ตามใจ ง. มีเพื่อนที่ชอบใช้ความรุนแรง ๖. การกระทำาในข้อใดที่เสี่ยงต่อการเกิดความรุนแรงมากที่สุด ก. อยู่ในกลุ่มเพื่อนที่ชอบเล่นดนตรีเสียงดัง ข. เข้าไปในที่ชุมนุมประท้วงทางการเมือง ค. เข้าไปในงานแสดงคอนเสิร์ต ง. เข้าไปในงานมหกรรมกีฬา ๗. นักเรียนสามารถหลีกเลี่ยงและป้องกันการใช้ความรุนแรง โดยวิธีใดมากที่สุด ก. ฝึกตนให้มีความอดทนอดกลั้น ข. ให้สติแก่เพื่อนที่ชอบใช้ความรุนแรง ค. เข้าร่วมกิจกรรมสร้างสรรค์ ง. หลีกเลี่ยงการเข้าไปในสถานการณ์ที่มีการยั่วยุ ๘. เนื้อหาสือในข้อใดมีอิทธิพลต่อการสร้างความรุนแรงในสังคม ่ มากที่สุด ก. รายการตลก ข. ข่าวอาชญากรรม ค. พาดหัวข่าวหนังสือพิมพ์ ง. เกมออนไลน์ ๙.สือประเภทใดมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมความรุนแรงต่อเยาวชน ่ ก. เกมออนไลน์ ข. ละครหลังข่าว ค. รายการตลก ง. การ์ตูน ๑๐.ข้อใดเป็นพฤติกรรมที่ไ ม่ถ ูก ต้อ งเกี่ยวกับการบริโภคสื่อ ก. แยกแยะเรื่องจริงกับเรื่องจำาลองที่สื่อนำาเสนอ ข. รู้เท่าทันความรุนแรงที่แฝงมาในเนื้อหา ค. มองว่าความรุนแรงเป็นเรื่องปกติที่สื่อนำาเสนอ ง. ใช้วิจารณญาณในการเลือกบริโภคสื่อ เฉลยแบบทดสอบก่อ น
  • 15. 128 เรีย น/หลัง เรีย น ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑ ๐ ง ค ก ค ก ข ก ข ก ค บัน ทึก หลัง การสอน ๑. ผลการสอน …………………………………………………………………… ………………………………. …………………………………………………………………… ………………………………. …………………………………………………………………… ………………………………. …………………………………………………………………… ………………………………. …………………………………………………………………… ………………………………. ๒. ปัญ หา/อุป สรรค …………………………………………………………………… ………………………………. …………………………………………………………………… ………………………………. …………………………………………………………………… ………………………………. …………………………………………………………………… ………………………………. …………………………………………………………………… ……………………………….
  • 16. 129 ๓. ข้อ เสนอแนะ /แนวทางแก้ไ ข …………………………………………………………………… ………………………………. …………………………………………………………………… ………………………………. …………………………………………………………………… ………………………………. …………………………………………………………………… ………………………………. …………………………………………………………………… ………………………………. ลงชื่อ...............................................ครูผู้สอน (................................ ...............) วันที่.......เดือน..........................พ.ศ. ............ ๔. ข้อ เสนอแนะของหัว หน้า สถานศึก ษาหรือ ผู้ท ี่ไ ด้ร ับ มอบ หมาย …………………………………………………………………… ………………………………. …………………………………………………………………… ………………………………. …………………………………………………………………… ………………………………. …………………………………………………………………… ………………………………. …………………………………………………………………… ………………………………. ลงชื่อ...............................................................
  • 17. 130 (........................ ....................................)