SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
114


           การออกแบบหน่ว ยการเรีย นรู้ Backward
                         Design
          กลุ่ม สาระการเรีย นรู้ส ุข ศึก ษาและพลศึก ษา
วิช า สุข ศึก ษา ๕                              ชั้น
มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ ๕   เวลา ๔ ชั่ว โมง
หัว เรื่อ ง/Theme หน่ว ยการเรีย นรูท ี่ ๑๐ อย่า ไปหาสารเสพติด
                                   ้
๑.      การกำา หนดเป้า หมายการเรีย นรู้
     ๑. สภาพปัญหาการแพร่ระบาดของสารเสพติด
     ๒. ความหมายและการจำาแนกประเภทของสารเสพติด
     ๓. ชนิดของสารเสพติดให้โทษที่แพร่ระบาดในปัจจุบัน
     ๔. วิธีสังเกตอาการของผู้ใช้สารเสพติด
     ๕. สาเหตุของการติดสารเสพติดให้โทษ
     ๖. โทษและพิษภัยของสารเสพติด
     ๗.การป้องกันสารเสพติด
     ๘. การบำาบัดรักษาและการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดสารเสพติด
     ๙. บทบาทหน้าที่ที่พึงปฏิบัติต่อสังคม
                             ภาพรวม (Big Idea)




๒. มาตรฐานการเรีย นรู้ท เ ป็น เป้า หมาย
                                    ี่
   มาตรฐาน พ ๕.๑                 ป้องกันและหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงต่อ
                     สุขภาพ อุบัติเหตุ การใช้ยา สารเสพติด และความรุนแรง
๓. ตัว ชี้ว ด : สิ่ง ที่ผ เ รีย นพึง รูแ ละปฏิบ ต ิไ ด้
            ั             ู้           ้        ั
   ๑. มีส่วนร่วมในการป้องกันความเสี่ยงต่อการใช้ยา การใช้สารเสพติด
และความรุนแรง เพื่อสุขภาพของตนเอง ครอบครัว และสังคม
115

  ๒. วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดจากการครอบครอง การใช้ และการจำาหน่าย
สารเสพติด
๔. เป้า หมายการเรีย นรู้
     ๑. ความเข้า ใจที่ค งทน
        ๑) จัดกิจกรรมป้องกันความเสี่ยงต่อการใช้สารเสพติด และความรุนแรง
        ๒) วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดจากการครอบครอง การใช้ และการ
จำาหน่ายสารเสพติด (ตนเอง ครอบครัว เศรษฐกิจ สังคม) รวมทังให้ความรู้
                                                           ้
เรืองโทษทางกฎหมายทีเกิดจากการครอบครอง การใช้ และการจำาหน่ายสาร
   ่                       ่
เสพติด แก่ชุมชน ครอบครัว และสังคมส่วนรวม ฯลฯ
     ๒. จิต พิส ัย
        ๑) ตระหนักถึงการจัดกิจกรรมป้องกันความเสี่ยงต่อการใช้สารเสพติด
และความรุนแรง
        ๒) ตระหนักถึงผลกระทบที่เกิดจากการครอบครอง การใช้ และการ
จำาหน่ายสารเสพติด (ตนเอง ครอบครัว เศรษฐกิจ สังคม) รวมทั้งให้ความรู้
เรื่องโทษทางกฎหมายที่เกิดจากการครอบครอง การใช้ และการจำาหน่าย
สารเสพติดแก่ชุมชน ครอบครัว และสังคมส่วนรวม ฯลฯ
     ๓. สมรรถนะสำา คัญ ของผู้เ รีย น
        ๑) ความสามารถในการสื่อสาร
        ๒) ความสามารถในการคิด
        ๓) ความสามารถในการแก้ปัญหา
        ๔) ความสามารถในการใช้ทกษะชีวต
                                  ั      ิ
        ๕) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
     ๔. คุณ ลัก ษณะที่พ ึง ประสงค์
        ๑) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
        ๒) ซื่อสัตย์สุจริต
        ๓) มีวินัย
        ๔) ใฝ่เรียนรู้
        ๕) อยู่อย่างพอเพียง
        ๖) มุ่งมั่นในการทำางาน
        ๗)        รักความเป็นไทย
        ๘)มีจิตสาธารณะ

  ๕. ความรูแ ละทัก ษะเฉพาะวิช า
            ้
     ๑) อธิบายชนิดและลักษณะของสารเสพติดให้โทษที่แพร่ระบาดใน
ประเทศไทย
116

       ๒) อธิบายอาการของผู้ใช้สารเสพติด ตลอดจนการป้องกัน บำาบัด
รักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้เคยติด สารเสพติด
       ๓) อธิบายโทษและพิษภัยของสารเสพติดตลอดจนวิเคราะห์ผลกระทบที่
เกิดจากปัญหาสารเสพติด
       ๔) ปฏิบติตนเพื่อหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงต่อการใช้สารเสพติดทุกชนิด
               ั
       ๕) อธิบายวิธีดำาเนินการและบทบาทหน้าที่ที่พึงรับผิดชอบต่อปัญหาสาร
เสพติดในชุมชน
    ๖. ทัก ษะคร่อ มวิช า
       1) ทักษะการฟัง การฟังครูอธิบาย และเพื่อน ๆ แสดงความคิดเห็นใน
          ชั้นเรียน
       2) ทักษะการอ่าน การอ่านเนื้อหาสาระหน่วยการเรียนรู้
       3) ทักษะการเขียน การเขียนรายงาน การทำาแบบฝึกหัด และการทำา
          รายงาน
       4) ทักษะการนำาเสนอ (การพูด) การนำาเสนอเนื้อหาสาระหน่วยการ
          เรียนรู้
       5) ทักษะการทำางานกลุ่ม ระดมความคิดในการทำางานกลุ่ม
       6) การสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ การเขียนผังความคิด (Mind
          Mapping)




                 แผนการจัด การเรีย นรู้ท ี่ ๑๐
117

วิช า สุข ศึก ษา ๕
ชั้น มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ ๕
หน่ว ยการเรีย นรู้ท ี่ ๑๐ เรื่อ ง อย่า ไปหาสารเสพติด
                       เวลา ๔ ชั่ว โมง
๑. เป้า หมายการเรีย นรู้
   ๑. จัดกิจกรรมป้องกันความเสี่ยงต่อการใช้สารเสพติด และความรุนแรง
   ๒. วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดจากการครอบครอง การใช้ และการจำาหน่าย
สารเสพติด (ตนเอง ครอบครัว เศรษฐกิจ สังคม) รวมทั้งให้ความรู้เรื่องโทษ
ทางกฎหมายที่เกิดจากการครอบครอง การใช้ และการจำาหน่าย              สาร
เสพติดแก่ชุมชน ครอบครัว และสังคมส่วนรวม ฯลฯ
๒. สาระสำา คัญ
        สารเสพติดแต่ละชนิดต่างออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทในลักษณะแตก
ต่างกัน แต่ก็ล้วนเป็นอันตรายทำาให้สุขภาพร่างกายทรุดโทรมลง และหาก
มิได้รับการบำาบัด รักษา ฟื้นฟูสภาพอย่างจริงจังหรือทันท่วงทีก็จะเป็น
อันตรายถึงชีวิตได้ ดังนั้นเยาวชนทุกคนจึงต้องมีความรู้ ความเข้าใจพอที่จะ
สามารถป้องกันตนเองให้ห่างไกลจากสารเสพติด และหลีกเลียงพฤติกรรม
                                                          ่
เสียงต่อการใช้สารเสพติดทุกชนิดได้ ตลอดทังตระหนักถึงการมีสวนร่วมในการ
   ่                                      ้                  ่
รณรงค์ปองกัน แก้ไขปัญหาการแพร่ระบาดของสารเสพติดในชุมชนด้วย
          ้
๓. มาตรฐานและตัว ชีว ัด          ้
   มาตรฐาน พ ๕.๑ ป้องกันและหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงต่อ
                    สุขภาพ อุบัติเหตุ การใช้ยา สารเสพติด และความรุนแรง
   ตัว ชี้ว ด : สิ่ง ที่ผ ู้เ รีย นพึง รู้แ ละปฏิบ ัต ไ ด้
            ั                                         ิ
   ๑. มีส่วนร่วมในการป้องกันความเสี่ยงต่อการใช้ยา การใช้สารเสพติด
และความรุนแรง เพื่อสุขภาพของตนเอง ครอบครัว และสังคม
   ๒. วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดจากการครอบครอง การใช้ และการจำาหน่าย
สารเสพติด
๔. สาระการเรีย นรู้
   ๑. สภาพปัญหาการแพร่ระบาดของสารเสพติด
   ๒. ความหมายและการจำาแนกประเภทของสารเสพติด
   ๓. ชนิดของสารเสพติดให้โทษที่แพร่ระบาดในปัจจุบัน
   ๔. วิธีสังเกตอาการของผู้ใช้สารเสพติด
   ๕. สาเหตุของการติดสารเสพติดให้โทษ
   ๖. โทษและพิษภัยของสารเสพติด
   ๗. การป้องกันสารเสพติด
118

     ๘. การบำาบัดรักษาและการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดสารเสพติด
     ๙. บทบาทหน้าที่ที่พึงปฏิบัติต่อสังคม
๕.  กิจ กรรมฝึก ทัก ษะที่ค วรเพิ่ม ให้น ัก เรีย น
  K (Knowledge)             P (Practice)                 A (Attitude)
 ความรู้ ความเข้า ใจ       การฝึก ปฏิบ ต ิั          คุณ ลัก ษณะอัน พึง
                                                             ประสงค์
๑. อธิบายชนิดและ          ๑. จัดกิจกรรมป้องกัน ๑. รักชาติ ศาสน์
   ลักษณะของสารเสพ           ความเสี่ยงต่อการใช้ กษัตริย์
   ติดให้โทษที่แพร่          สารเสพติด และ         ๒. ซื่อสัตย์สุจริต
   ระบาดใน                   ความรุนแรง            ๓. มีวินัย
   ประเทศไทย              ๒.วิเคราะห์ผลกระทบที่ ๔. ใฝ่เรียนรู้
๒. อธิบายอาการของผู้         เกิดจากการครอบ        ๕. อยู่อย่างพอเพียง
   ใช้สารเสพติด ตลอด         ครอง การใช้และ        ๖. มุ่งมั่นในการทำางาน
   จนการป้องกัน บำาบัด       การจำาหน่ายสาร        ๗.                รักความ
   รักษาและฟื้นฟู            เสพติด (ตนเอง         เป็นไทย
   สมรรถภาพ         ผู้      ครอบครัว เศรษฐกิจ ๘. มีจิตสาธารณะ
   เคยติดสารเสพติด           สังคม) รวมทั้งให้
๓. อธิบายโทษและพิษ           ความรู้เรื่องโทษทาง
   ภัยของ สารเสพติด          กฎหมายที่เกิดจาก
   ตลอดจนวิเคราะห์           การครอบครอง การ
   ผลกระทบทีเกิดจาก
               ่             ใช้และ การจำาหน่าย
   ปัญหา สารเสพติด           สารเสพติด         แก่
๔. ปฏิบัติตนเพื่อหลีก        ชุมชน ครอบครัว
   เลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยง      และสังคมส่วนรวม
   ต่อการใช้     สาร         ฯลฯ
   เสพติดทุกชนิด
๕. อธิบายวิธีดำาเนินการ
   และบทบาทหน้าที่ที่
   พึงรับผิดชอบต่อ
   ปัญหาสารเสพติดใน
   ชุมชน
๖.       การวัด และประเมิน ผล
     ๑. เครื่อ งมือ วัด และประเมิน ผล
        ๑) แบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน
        ๒) แบบฝึกหัด
119

        ๓) ใบงาน
        ๔) แบบประเมินพฤติกรรมการทำางานกลุ่ม
        ๕) แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล

        ๖) แบบสังเกตสมรรถนะของผู้เรียน
        ๗)      แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
     ๒. วิธ ว ด ผล
            ี ั
        ๑) ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน
        ๒) ตรวจแบบฝึกหัด
        ๓) ตรวจใบงาน
        ๔) สังเกตพฤติกรรมการทำางานกลุ่ม
        ๕) สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
        ๖) สังเกตสมรรถนะของผู้เรียน
        ๗)      สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
     ๓. เกณฑ์ก ารวัด และประเมิน ผล
        ๑) สำาหรับชัวโมงแรกทีใช้แบบทดสอบก่อนเรียนไม่มเกณฑ์ผาน เก็บ
                     ่       ่                       ี      ่
คะแนนไว้เปรียบเทียบกับคะแนนที่ได้จากการทดสอบหลังเรียน
        ๒) การประเมินผลจากแบบฝึกหัด ต้องผ่านเกณฑ์การทดสอบเกินร้อยละ
๕๐
        ๓) การประเมินผลจากแบบตรวจใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน
เรื่องความรู้ความเข้าใจ การนำาไปใช้ทักษะ และจิตพิสัย ทุกช่องเกินร้อยละ
๕๐
        ๔) การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทำางานกลุม ต้องผ่าน
                                                         ่
เกณฑ์การประเมิน คือ เกินร้อยละ ๕๐
        ๕) การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล เกณฑ์ผ่านการ
ประเมิน ต้องไม่มีช่องปรับปรุง
        ๖) การประเมินผลการสังเกตสมรรถนะของผู้เรียน คะแนนขึ้นอยู่กับการ
ประเมินตามสภาพจริง
        ๗)      การประเมินผลการสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน
คะแนนขึ้นอยู่กับการประเมิน         ตามสภาพจริง
๗. หลัก ฐาน/ผลงาน
  ๑. ผลการทำาแบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน และแบบฝึกหัด
  ๒. ผลการทำาใบงาน
๘.       กิจ กรรมการเรีย นรู้
     ชัว โมงที่ ๑-๒
         ่
     ขัน นำา เข้า สู่บ ทเรีย น
       ้
120

   ๑. ครูและนักเรียนสนทนากันเรื่องวันต่อต้านยาเสพติดโลก ซึ่งตรงกับวันที่
๒๖ มิถุนายน ของทุกปี ถือเป็น วันต่อต้านยาเสพติดโลก เนื่องจากปัญหา
สารเสพติดเป็นปัญหาสำาคัญทีทกประเทศทัวโลกประสบอยูรวมถึงประเทศไทย
                           ่ ุ         ่            ่
ในอดีตจะพบว่าการแพร่ระบาดนั้นจะอยู่ที่ประชาชนผู้ใช้แรงงานและกลุ่ม
เยาวชน ชุมชนแออัด ผู้ด้อยโอกาสทางเศรษฐกิจ
   ๒. นักเรียนยกตัวอย่างประเภทยาเสพติดซึ่งแบ่งออกเป็น ๔ ประเภท ได้แก่




      ๑) กดประสาท ได้แก่ ฝิ่น มอร์ฟีน เฮโรอีน ยานอนหลับ ยาระงับ
ประสาท ยากล่อมประสาท ฯลฯ
      ๒) กระตุ้นประสาท ได้แก่ ยาบ้า ยาอี กระท่อม โคเคน
      ๓) หลอนประสาท ได้แก่ แอลเอสดี และ เห็ดขี้ควาย
      ๔) ออกฤทธิ์ผสมผสาน คือ ทั้งกระตุ้น กดและหลอนประสาทร่วมกัน
ได้แก่ ผู้เสพติดมักมีอาการหวาดระแวง ความคิดสับสนเห็นภาพลวงตา หูแว่ว
   3. นักเรียนทำาแบบทดสอบก่อนเรียน ในหนังสือเสริมฝึกประสบการณ์
      สุขศึกษา ๕
   ขัน สอน
     ้
   4. ครูใช้รูปแบบการเรียนแบบ TAI (Team Assisted
Individualization) เพื่อเน้นการเรียนของแต่ละบุคคลเนื่องจากมีความ
สัมพันธ์กับชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนโดยทั่วไป ดังนี้
       ๑) สภาพปัญหาการแพร่ระบาดของสารเสพติด
       ๒) ความหมายและการจำาแนกประเภทของสารเสพติด
       ๓) ชนิดของสารเสพติดให้โทษที่แพร่ระบาดในปัจจุบัน
       ๔) วิธีสังเกตอาการของผู้ใช้สารเสพติด
       ๕) สาเหตุของการติดสารเสพติดให้โทษ
   ๕. นอกจากนี้ครูยังใช้เทคนิคการสอนแบบการประชุมแบบซินดิเคต
   (Syndicate) โดยกำาหนดหัวข้อดังนี้
       ๑) สภาพปัญหาการแพร่ระบาดของสารเสพติด
       ๒) ความหมายและการจำาแนกประเภทของสารเสพติด
121

        ๓) ชนิดของสารเสพติดให้โทษที่แพร่ระบาดในปัจจุบัน
        ๔) วิธีสังเกตอาการของผู้ใช้สารเสพติด
        ๕) สาเหตุของการติดสารเสพติดให้โทษ
   ๖. ครูเปิดวีดิทัศน์ให้นักเรียนชมเพื่อให้นักเรียนได้ตระหนักถึงพิษร้ายแรง
ของยาเสพติดที่เป็นอันตรายต่อชีวิต เพื่อให้นักเรียนหลีกเลี่ยงได้อย่างรู้เท่า
ทัน และยังเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวเองได้ตามแนวคิดของเศรษฐกิจ
พอเพียง
   ๗. ครูอธิบายสาเหตุที่เกิดจากความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ เช่น อยากลอง ความ
คึกคะนอง หรือการชักชวนของเพื่อน เป็นต้น หรือมาจากสาเหตุการหลอก
ลวง ซึ่งปัจจุบันนี้มีผู้ขายสินค้าประเภทอาหาร ขนม หรือเครื่องดื่มบางราย
ใช้สิ่งเสพติดผสมลงในสินค้าที่ขาย เพื่อให้ผู้ซื้อสินค้าไปกินเกิดการติด อยาก
มาซื้อไปกินอีก ซึ่งในกรณีนี้               ผู้ซื้ออาหารนั้นมากินจะไม่รู้สึกว่า
ตนเองเกิดการติดสิ่งเสพติดขึ้นแล้ว รู้แต่เพียงว่าอยากกินอาหาร ขนม หรือ
เครื่องดื่มที่ซื้อจากร้านนั้นๆ กว่าจะทราบก็ต่อเมื่อตนเองรู้สึกผิดสังเกตต่อ
ความต้องการจะซื้ออาหารจากร้านนั้น          มากิน หรือต่อเมื่อมีอาการเสพติด
รุนแรง และมีสุขภาพเสื่อมลง หรือสาเหตุการเจ็บป่วย เช่น ได้รับบาดเจ็บ
รุนแรง วิตกกังวล เครียด และการซื้อยามากินเอง เป็นต้น
   ๘.นักเรียนอ่านบทความ “เยาวชนกับยาเสพติด

        เพื่อให้ประชาชน พ่อแม่ ผู้ปกครอง ตระหนักถึงพิษภัยและโทษของยาเสพติด
   และช่วยกันคุ้มครอง สร้างความรัก          ความอบอุ่นให้กับครอบครัวเพื่อเป็นการไม่
   ให้เยาวชนไทยติดยาเสพติด ปัจจุบันมีผู้ติดยาเสพติดเป็นจำานวนมาก โดยเฉพาะ
   กลุ่มเยาวชนจะติดยาเสพติดมากกว่ากลุ่มคนกลุ่มอื่น และที่น่าเป็นห่วง กำาลังแพร่
   ระบาดสู่เด็กนักเรียนวัย ๙ ขวบ ๑๐ ขวบ สาเหตุอาจเป็นเพราะถูกเพื่อนชักจูงให้ลอง
   เสพ อยากรู้ อยากลอง ถูกล่อลวง และสาเหตุสำาคัญอีกประการหนึ่ง คือ การขาด
   ความอบอุ่นในครอบครัว ปัญหาพ่อแม่หย่าร้างกัน ผูใหญ่ไม่ได้สนใจดูแลหรือเป็นที่
                                                       ้
   พึ่งของเด็กได้ เด็กเกิดความว้าเหว่ไม่รู้จะปรึกษาใคร เลยหันไปหายาเสพติด หรือ
   เป็นเป้าล่อให้กับผู้ไม่ปรารถนาดีอย่างพอดี
        ปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาที่เป็นภัยร้ายแรงต่อสุขภาพกายและสุขภาพจิต ส่ง
   ผลกระทบต่อสังคม เศรษฐกิจ บั่นทอนความเจริญของประเทศชาติ หากประเทศใดมี
   ประชาชนติดยาเสพติดจำานวนมาก ก็ไม่สามารถพัฒนาประเทศชาติให้เจริญรุ่งเรือง
   ได้ ยาเสพติดมีมากมายหลายชนิด ได้แก่ ฝิ่น เฮโรอีน ทินเนอร์ กัญชา ยาบ้า ยาอี
   สารระเหย กระท่อม และ              ยากระตุ้นประสาท เป็นต้น แต่ละชนิดก่อให้เกิด
   ผลร้ายแก่ร่างกายทั้งสิ้น ทำาให้สุขภาพทรุดโทรมอ่อนแอ ความจำาเสื่อม            เสีย
   บุคลิกภาพ และปัญหาสำาคัญทีตามมาอีกประการหนึ่งก็คือ ผูติดยาเสพติดชนิดฉีดเข้า
                                 ่                             ้
   เส้นมีโอกาสติดเชื้อไวรัสเอดส์และแพร่กระจายไปยังกลุ่มผูติดยาเสพติดด้วยกัน รวม
                                                             ้
   ไปถึงคนกลุ่มอื่นๆ ด้วย
        แม้รัฐบาลจะประกาศสงครามกับยาเสพติดก็ตาม ก็ไม่ได้หมายความว่า การ
   ป้องกัน การปราบปรามยาเสพติดจะเป็นหน้าที่ของรัฐบาลเท่านั้น การแก้ไขปัญหายา
   เสพติดเป็นหน้าที่ของทุกฝ่ายทีจะต้องร่วมมือกัน การปราบปรามเป็นการแก้ปัญหาที่
                                   ่
122

  ปลายเหตุ การป้องกันยังเป็นสิงที่สำาคัญ โดยการให้การศึกษาและความรู้เรื่องพิษภัย
                               ่
  และโทษของยาเสพติดอย่างต่อเนื่อง         แก่ประชาชน ครู พ่อแม่ ผูปกครอง เด็กและ
                                                                  ้
  เยาวชน โดยเฉพาะ พ่อแม่ ผู้ปกครอง จะต้องเอาใจใส่ดแลลูกหลาน ให้ความรัก
                                                          ู
  ความอบอุ่นแก่ครอบครัว เป็นที่พึ่งของเด็กได้ เมื่อเด็กมีปัญหาสามารถจะพูดคุย ช่วย
  กันแก้ปัญหาให้เด็ก ใช้เหตุผลกับเด็ก ไม่ใช้อารมณ์ เพราะการใช้อารมณ์อาจทำาให้
  เด็กเกิดความน้อยเนื้อตำ่าใจ กลุ้มใจและเตลิดออกจากบ้านไปพึ่งยาเสพติดและเสีย
  อนาคตได้ในที่สุด “เยาวชนคืออนาคตของชาติ อย่าให้ตกเป็นทาสของยาเสพติด”

    ๙.นักเรียนร้องเพลงเกี่ยวกับยาเสพติด เพื่อสร้างบรรยากาศในห้องเรียน
ให้สนุกสนานและได้รับความรู้ เช่น เพลง ๑๘ ฝน, เด็กเสเพล, เราและนาย,
จุดตำ่าสุด (ป้าง), คิดผิดใช่ไหม (โน้ต-ตูน), เพื่อนกัน (บางแก้ว), ครึ่งหนึ่งของ
ชีวิต (แอม) เป็นต้น และให้นักเรียนหาบทเพลงที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติดมา
คนละ ๑ เพลง (ไม่ซำ้ากัน) แล้วนำามาร้องหน้าชั้นเรียนและสรุปสาระสำาคัญ
ของเพลงที่ได้รับประโยชน์
    ๑๐.        นักเรียนทำาใบงานที่ ๑๐.๑, ๑๐.๒ และ ๑๐.๓
    ขั้น สรุป และประยุก ต์
    ๑๑.        ครูและนักเรียนสรุปโดยครูเปิดวีดิโอ “นำ้า ตาแม่” ให้นักเรียนดู
และฟัง เพื่อให้นักเรียนรู้จักคิดและวิเคราะห์ถึงผลของการติดยาเสพติด
    ๑๒.        ครูแนะนำาให้นกเรียนรูจกการสร้างภูมคมกันทีดในตัวเอง เพือ
                             ั         ้ ั        ิ ุ้    ่ ี          ่
ป้องกันการติดสารเสพติดทุกชนิด ซึงในโลกนี้ มีสิ่งที่งดงามสนุกสนานอีกมาก
                                        ่
ที่สามารถกระทำาได้ โดยไม่ก่อให้เกิดการบั่นทอนสุขภาพร่างกาย และจิตใจ
ทุกคน ก็ทราบดีอยู่แล้วถึงพิษภัยของยาเสพติด แล้วทำาไมเพื่อนรักของ
นักเรียนมาชวนนักเรียนเสพยาเสพติด เพื่อนหวังดี กับเราจริงหรือ เพื่อนมี
อะไรซ่อนเร้นอยู่ในใจหรือเปล่า เพื่อนเป็นตัวอย่างที่ดีที่นักเรียนควรทำาตาม
หรือไม่ เพื่อนอยู่ในวงจรอุบาทว์ทนกเรียนควรคิดช่วยเขา แทนทีเพือนจะมา
                                  ี่ ั                           ่ ่
ชวนเราเสพ แล้วฉุดนักเรียนเข้าไปอยูในวงจรอุบาทว์นนด้วย เป็นการถูกต้อง
                                           ่           ั้
หรือไม่ การเล่นกีฬา เล่นดนตรี ร้องรำาทำาเพลง เที่ยวเตร่เพื่อความสนุกสนาน
วาดรูป เล่นเกมต่างๆ ท่องเที่ยวไปในโลกของอินเทอร์เน็ตในคอมพิวเตอร์
และกิจกรรมอีกมากมายที่จะนำาความสุขมาสู่ตัวนักเรีนน นักเรียนต้องรักตัว
เอง ต้องไม่ทำาให้คุณพ่อคุณแม่หรือผู้ปกครองของนักเรียนเสียใจ โปรดเชื่อ
เถิดว่า เสพยาเสพติด ไม่นานเกิน ๑ ปี ร่างกายของนักเรียนจะตกอยู่ในสภาพ
ที่ยำ่าแย่ การบำาบัดรักษาให้เลิกยาเสพติดเป็นไปด้วย            ความยากลำาบาก
ถ้านักเรียนอยู่ในภาวะที่เศร้าโศกเสียใจและยังแก้ปัญหาในขณะนี้ไม่ได้ ยา
เสพติดไม่ใช่วิธีแก้ปัญหาของนักเรียนอย่างแน่นอน ขอให้คิดให้ดีและขอให้
แก้ปัญหาให้ได้
    ๑๓.        ครูแนะนำาให้นักเรียนคำานึงถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่า
ประโยชน์ส่วนตัว ได้แก่ การลดความเห็นแก่ตัว และเสียสละแรงกายและใจ
123

เพื่อทำาประโยชน์ให้แก่ส่วนรวม ช่วยกันดูแลรักษาทรัพย์สินที่เป็นสาธารณ
สมบัติ เช่น ตูโทรศัพท์สาธารณะ ห้องสมุดประจำาหมู่บ้าน เป็นต้น ช่วยกัน
                ้
อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เช่น ป่าไม้ แม่นำ้าลำาธาร เป็นต้น รวมทั้งช่วยกันตักเตือน
หรือห้ามปรามบุคคลไม่ให้ทำาลายสาธารณสมบัติ หรือสิ่งแวดล้อม
  ชัว โมงที่ ๓-๔
    ่
    ขัน นำา เข้า สู่บ ทเรีย น
       ้
    ๑๔ ครูและนักเรียนพูดถึงสารเสพติดมีพิษภัยทั้งต่อตัวบุคคลและในสังคม
ซึ่งจำาแนกได้ดังนี้
         ๑) ต่อผู้เสพ ทำาให้สุขภาพทรุดโทรมทั้งทางร่างกายและทางจิตใจ เกิด
โรคต่างๆ เช่น โรคตับ โรคหัวใจ โรคเอดส์ โรคหวัด โรคประสาท เป็นต้น
         ๒) ต่อครอบครัว ก่อให้เกิดความเดือดร้อน สูญเสียรายได้ เกิดความไม่
สงบสุขภายในครอบครัว
         ๓) ต่อสังคม ก่อให้เกิดปัญหาอาชญากรรม
         ๔) ต่อประเทศชาติ ทำาให้สูญเสียเศรษฐกิจจำานวนมหาศาล และบ่อน
ทำาลายความมั่นคงของประเทศชาติ
    ๑๕.         ครูและนักเรียนสนทนากันเรื่องหลักเศรษฐกิจพอเพียง และครู
อภิปรายถึงการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง ดังนี้
         ๑) พิจารณาจากความสามารถในการพึ่งตนเองเป็นหลัก ที่เน้นความ
สมดุลทั้ง ๓ คุณลักษณะ คือ พอประมาณ มีเหตุมีผล และมีภูมิคุ้มกัน มา
ประกอบการตัดสินใจในเรื่องต่างๆ เป็นขั้นเป็นตอน รอบคอบ ระมัดระวัง
พิจารณาถึงความพอดี พอเหมาะพอควร และพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงที่มี
องค์ประกอบครอบคลุมทั้ง ๕ ประการ คือ
            (๑) ด้านจิตใจ มีจิตใจเข้มแข็ง ฝึกตนเองได้ มีจิตสำานึกที่ดี เอื้ออาทร
ประนีประนอม และนึกถึงประโยชน์ส่วนรวมเป็นหลัก
            (๒) ด้านสังคม มีความช่วยเหลือเกื้อกูลกัน รู้รักสามัคคี สร้างความ
เข้มแข็งให้ครอบครัวและชุมชน รู้จักผนึกกำาลัง มีกระบวนการเรียนรู้ที่เกิด
จากรากฐานที่มั่นคงแข็งแรง
            (๓) ด้านเศรษฐกิจ ดำารงชีวิตอยู่อย่างพอดี พอมี พอกิน สมควรตาม
อัตภาพ และฐานะของตนประกอบอาชีพสุจริต (สัมมาอาชีวะ) ด้วยความขยัน
หมั่นเพียร อดทน ใช้ชีวิตเรียบง่ายโดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น มีรายได้
สมดุลกับรายจ่าย รู้จักการใช้จ่ายของตนเองและครอบครัวอย่างมีเหตุผลเท่า
ที่จำาเป็น ประหยัด รู้จัก การเก็บออมเงินและแบ่งปันผู้อื่น
            (๔) ด้านเทคโนโลยี รู้จักใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม สอดคล้องกับ
ความต้องการและภูมินิเวศ พัฒนาเทคโนโลยีจากภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ให้
เกิดประโยชน์ต่อตนเองและสังคม
124

          (๕) ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รู้จักใช้และจัดการ
อย่างฉลาดและรอบคอบ สามารถเลือกใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดความยั่งยืน
สูงสุด
       ๒) พิจารณาความรู้คู่คุณธรรม มีการศึกษาเรียนรู้และพัฒนาตนเอง
อย่างต่อเนื่อง (ทั้งภาคทฤษฎีและ      การปฏิบัติจริง) ในวิชาการต่างๆ ที่
เกี่ยวข้องกับการดำารงชีวิต ใช้สติปัญญาในการตัดสินใจต่างๆ อย่างรอบรู้
รอบคอบ และมีเหตุผลที่จะนำาความรู้ต่างๆ เหล่านั้นมาปรับใช้อย่างมีขั้นตอน
และระมัดระวังในการปฏิบัติ มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์
สุจริต มีความเพียร ความอดทน และใช้สติปัญญาอย่างชาญฉลาดในการ
ดำาเนินชีวิตในทางสายกลาง
      ขัน สอน
        ้
      ๑๖.             ครูผู้สอนใช้เทคนิคโดยการระดมความคิด (Brain Storming)
มีลักษณะพิเศษเป็นการอบรมแบบกระตุ้นให้ทุกคนได้ใช้สมอง ได้แสดงความ
คิดเห็นโดยมิต้องคำานึงถึงการเสนอของตนจะถูกต้องหรือใช้ได้หรือไม่ เมื่อ
สมาชิกทุกคนได้แสดงความคิดเห็นแล้ว จึงพิจารณาข้อเสนอแนะที่เหมาะสมที่
ส่วนใหญ่เห็นด้วย หัวข้อที่นำาเสนอได้แก่
            • โทษและพิษภัยของสารเสพติด
            • การป้องกันสารเสพติด
            • การบำาบัดรักษาและการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดสารเสพติด
            • บทบาทหน้าที่ที่พึงปฏิบัติต่อสังคม
      ๑๗.             นักเรียนทำาใบงานที่ ๑๐.๔, ๑๐.๕, ๑๐.๖ และ ๑๐.๗
      ขัน สรุป และประยุก ต์
          ้
      18.             ครูและนักเรียนสรุปโทษและพิษภัยของสารเสพติด การป้องกัน
สารเสพติด การบำาบัดรักษาและการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดสารเสพติด และ
บทบาทหน้าที่ที่พึงปฏิบัติต่อสังคม
      19.             ครูเน้นสอนให้นักเรียนมีวินัย เช่น ฝึกกาย วาจาและใจ ให้
ควบคุมพฤติกรรมของตนเองให้อยู่ในระเบียบแบบแผนที่ดีงาม เพื่อให้การ
ทำางานและอยู่ร่วมกันของกลุ่มในสังคมนั้นเป็นไปด้วยความเรียบร้อย
      20.             ครูปลูกฝังให้นักเรียนนำาคุณธรรมที่ทุกคนควรจะศึกษาและ
น้อมนำามาปฏิบัติ ๔ ประการ คือ
            ๑) รักษาความสัตย์ ความจริงใจต่อตัวเองที่จะประพฤติปฏิบัติแต่สิ่งที่
เป็นประโยชน์และเป็นธรรม
            ๒) รู้จักข่มใจตนเอง ฝึกใจตนเองให้ประพฤติปฏิบัติอยู่ในสัจจะความดี
นั้น
            ๓) ความอดทน อดกลั้น และอดออมที่จะไม่ประพฤติล่วงความสัตย์สุจริต
ไม่ว่าด้วยเหตุประการใด
            ๔) รูจกละวางความชัว ความทุจริตและสละประโยชน์สวนน้อยของตน
                  ้ ั               ่                             ่
เพือประโยชน์สวนรวม ถ้าแต่ละคน พยายามปลูกฝังและบำารุงให้เจริญ
    ่                   ่
125

งอกงามขึ้นโดยทั่วกันแล้ว จะช่วยให้ประเทศชาติบังเกิดความสุข ความ
ร่มเย็น และมีโอกาสที่จะปรับปรุงพัฒนาให้มั่นคง ก้าวหน้าต่อไปได้ดังประสงค์
   ๒๑.       นักเรียนทำาแบบทดสอบหลังเรียน
๙.สื่อ /แหล่ง การเรีย นรู้
  1. หนังสือเรียนรายวิชาพืนฐาน สุขศึกษา ๕ ชันมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ของบริษท
                             ้              ้                         ั
      สำานักพิมพ์เอมพันธ์ จำากัด
  2.หนังสือเสริมฝึกประสบการณ์ สุขศึกษา ๕ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ของ
      บริษัท สำานักพิมพ์เอมพันธ์ จำากัด
  3.วีดิทัศน์ แผ่นใส และรูปภาพประกอบ
  4.ข่าวสาร สื่อสิ่งพิมพ์
๑๐. การบูร ณาการ
   ๑. การบูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ได้แก่ ทักษะการเขียน
ทักษะการพูด ทักษะการฟัง และทักษะการอ่าน
   ๒. การบูรณาการกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
   ๓. คุณธรรม จริยธรรม และศีลธรรม
   ๔. หน้าที่พลเมืองดี




           แบบทดสอบก่อ นเรีย น /หลัง เรีย นหน่ว ยที่ ๑๐
คำา ชี้แ จง จงเขียนเครื่องหมาย  ทับข้อที่นักเรียนคิดว่าถูกต้องที่สุด
๑. ข้อใดกล่าวไม่ถ ูก ต้อ ง เกี่ยวกับคำาจำากัดความของสารเสพติด
        ก. สุขภาพร่างกายทรุดโทรมลง
        ข.เกิดอาการถอนยาเมื่อหยุดหรือเลิกใช้สารเหล่านั้น
        ค. สารที่เข้าสู่ร่างกายแล้วมีความต้องการเพิ่มขึ้นทั้งขนาดและปริมาณ
        ง. สารที่เข้าสู่ร่างกายด้วยวิธีการสูบและฉีดเท่านั้น แล้วก่อให้เกิดโทษ
แก่ร่างกาย
๒. สารเสพติดในข้อใดมีสรรพคุณทางการแพทย์สามารถรักษาโรคได้
        ก. มอร์ฟีน                            ข. กัญชา
        ค. ยาบ้า                              ง. กระท่อม
๓. ข้อใดกล่าวได้ถ ูก ต้อ งเกี่ยวกับผลเสียที่เกิดจากสารเสพติดที่มีผลต่อ
ครอบครัว
126

        ก. ไม่สามารถเรียนหรือทำางานได้ เพราะต้องใช้เวลาในการบำาบัด
        ข. เสียค่าใช้จ่ายเป็นจำานวนมาก ต้องนำารายจ่ายด้านอื่นๆ มาใช้ในการ
รักษา
       ค. ร่างกายและจิตใจเสื่อมโทรม
       ง. สูญเสียทรัพยากรมนุษย์ในการพัฒนาประเทศ
๔. ข้อใดกล่าวไม่ถ ูก ต้อ ง เกี่ยวกับปัจจัยและพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการติดสาร
เสพติด
       ก. ครูกุ๊กใช้ยาเสพติดประเภทที่ ๔ เพื่อบรรเทาอาการป่วยหลังผ่าตัด
กระดูก
       ข. ไอด้าใช้ยาบาร์บิทุเรตเพื่อระงับอาการวิกลจริต
       ค. ไอริณอยากรู้อยากเห็นเลยเข้าไปทดลองสารเสพติด
       ง. ครอบครัวของแดนเทพยากจนจึงได้หันเหจากนักแสดงมาเป็นผู้ค้า
สารเสพติด
๕. เพราะเหตุใดสารเสพติดจึงมีอันตรายมากโดยเฉพาะผู้เสพที่เป็นผู้หญิง
       ก. เพราะผู้หญิงมีจิตใจที่ไม่หนักแน่นจึงทำาให้เลิกสารเสพติดได้ยาก
       ข. เพราะร่างกายของผู้หญิงอ่อนแอกว่าผู้ชาย ทำาให้ร่างกาย
เสื่อมโทรมเร็วกว่าปกติ
       ค. เพราะผู้หญิงที่ใช้สารเสพติดเพื่อความบันเทิงจะมีผลทำาให้ตกเลือด
ในบริเวณช่องคลอด
       ง. เพราะการเสพสารเสพติดบางชนิดจะทำาให้คุมสติไม่อยู่ เสี่ยงต่อการ
มีเพศสัมพันธ์และโรคเอดส์
๖. เพราะเหตุใดผู้ติดสารเสพติดจึงมักก่ออาชญากรรม
       ก. ประชดตัวเอง                      ข. ถูกชักชวนจากคนอื่น
       ค. ต้องการเงินไปซื้อยา              ง. ไม่พอใจสิ่งแวดล้อมของตนเอง
๗. วันต่อต้านสารเสพติดของประเทศไทย ตรงกับวันที่เท่าใด
       ก. ๒๖ มิถุนายน ของทุกปี             ข. ๔ กันยายน ของทุกปี
       ค. ๒๐ พฤศจิกายน ของทุกปี            ง. ๑ ธันวาคม ของทุกปี

๘.ข้อใดเป็นการคิดที่เสี่ยงต่อภาวะการติดสารเสพติด
      ก. อยากรู้อยากลองเป็นผู้กล้า      ข. ไม่ทดลองของมึนเมาทุกชนิด
      ค. ไม่คบเพื่อนแปลกหน้าที่ไม่ดี    ง. มองเห็นคุณค่าในตนเองว่ามีดี
เสมอ
      ใช้ส ถานการณ์ต ่อ ไปนี้ ตอบคำา ถามข้อ ๙.–๑๐.
      ครอบครัวของพีระย้ายไปอยู่ในแถบชานเมืองได้ ๓ อาทิตย์ เขาได้รู้จัก
  กับฤทธิพงศ์ เพื่อนวัยเดียวกันและ ได้กลายเป็นเพื่อนเล่นและเพื่อนสนิทกัน
  วันหนึ่งพีระได้รู้ในภายหลังว่าฤทธิพงศ์เคยติดสารเสพติดมาก่อน
127

 ๙. การกระทำาใดของพีระไม่ถ ูก ต้อ ง และไม่ส มควรต่อฤทธิพงศ์
         ก. เลิกคบ เพราะเคยติดสารเสพติดมาก่อน
         ข. ยังสนิทและเป็นเพื่อนเล่นกับฤทธิพงศ์เหมือนเดิม
         ค. แนะนำากิจกรรมยามว่างและมีประโยชน์ให้แก่ฤทธิพงศ์
         ง. ให้กำาลังใจและเข้าใจฤทธิพงศ์ เพราะเขาอาจเป็นเหยื่อของสังคม
๑๐. หากนักเรียนเป็นผู้ปกครองของพีระ คำาพูดใดของผู้ปกครองเหมาะสม
    ที่สุดในการให้กำาลังใจต่อผู้ที่กลับใจ     เลิกสารเสพติด
         ก. แม่ว่าลูกตัดสินเองดีกว่านะ ว่าจะคบต่อไปหรือเปล่า
         ข. แม่ขอออกคำาสั่งกับลูกเลยนะ ว่าต้องเลิกยุ่งกับเขาเดี๋ยวนี้
         ค. แม่ว่าห่างจากเขาเถอะลูก เขาอาจกลับไปติดใหม่ก็ได้
         ง. ไม่เป็นไรหรอกลูก มันคืออดีต ปัจจุบันเขาเป็นคนดีหรือเปล่าล่ะ
๑๑. เหตุการณ์ใดต่อไปนี้ ไม่จ ด เป็นผลร้ายของสารเสพติดที่ส่งผลกระทบต่อ
                                      ั
 ตัวเรา
         ก. จับนักร้องคาเฟ่พร้อมสารเสพติด
         ข. พบสารเสพติดรูปแบบใหม่หลอกลวงเยาวชน
         ค. ตำารวจจับคนขับรถรับส่งนักเรียนเสพยาบ้า
         ง. จับรุ่นพี่ที่รับน้องด้วยการให้ทดลองสารเสพติด
๑๒. ข้อใดไม่ใ ช่โทษที่เกิดจากการเสพสารเสพติด
         ก. โดนคนเสพยารีดไถเงิน               ข. ขาดบุคลากรในการพัฒนา
 ประเทศ
         ค. มีอาชญากรรมเพิ่มขึ้น              ง. พิการและอัมพาต
๑๓.       ข้อใดเป็นสาเหตุที่สำาคัญของสิ่งแวดล้อมทางสังคมที่ทำาให้เกิดการใช้
 ยาและสารเสพติด
         ก. ชอบทดลองสิ่งแปลกใหม่              ข. การถูกบุคคลอื่นชักชวน
         ค. มีความเชื่อในการใช้ยาในทางที่ผิด ง.         ใกล้ชิดกับแหล่งที่มีการ
 ค้าสารเสพติด
๑๔. ข้อใดคือการป้องกันตนเองจากสารเสพติดที่สำาคัญทีส ุด       ่
         ก. ไม่หลงคำาชวนเชื่อ                 ข. ไม่ทานยาโดยไม่ปรึกษาแพทย์
         ค. ไม่ทดลองเสพยาทุกชนิด              ง. ทำากิจกรรมตามเพื่อน
๑๕. บุคคลในข้อใดต่อไปนี้ ทีต้องช่วยกันป้องกันสารเสพติด
                                    ่
         ก. พ่อแม่พี่น้อง                     ข. เพื่อน ครูอาจารย์
         ค. ตัวเราเอง                         ง. ถูกทุกข้อ
๑๖. ข้อใดไม่ใ ช่การป้องกันสารเสพติดที่ถูกต้อง
         ก. การดูแลร่างกายไม่ให้เจ็บป่วย และมองโลกในแง่ดี
         ข. ทำางานอดิเรกต่างๆ เช่น สะสมสิ่งของ ดูภาพยนตร์
         ค. คอยดำาเนินชีวิตและใช้กิจวัตรประจำาวันอยู่กับเพื่อน
         ง. ปฏิบัติตามกฎระเบียบของครอบครัวและสังคมอย่างเคร่งครัด
128

๑๗. แนวทางในการป้องกันสารเสพติดในข้อใดที่จะช่วยเสริมสร้างให้คนใน
    ชุมชนได้รับรู้และตระหนักถึงอันตรายเกี่ยวกับสารเสพติด
         ก. วิชุดา กินยาภายใต้การดูแลของแพทย์และเภสัชกร
         ข. เอกชัย ชวนเพื่อนในห้องมาร่วมเดินรณรงค์เพื่อให้เข้าใจถึง
 อันตรายของสารเสพติด
         ค. อรพินไม่หลงคำาเชิญชวนให้ทดลองยาทุกชนิด
         ง. พุธิพร ยึดมั่นในหลักศาสนา
๑๘. ข้อใดต่อไปนี้เป็นวิธีการป้องกันสารเสพติดโดยให้กฎหมายเข้ามามีส่วน
 ร่วม
         ก. ให้กำาลังใจและหาวิธีแก้ไขผู้ที่ติดสารเสพติด
         ข. จัดการประชุมเพื่อปราบปรามหมู่บ้านที่เป็นแหล่งผลิตสารเสพติด
         ค. ปฏิบัติตามบทบาทของตนเองให้ดีที่สุด
         ง. บอกบุคคลในครอบครัวให้ตระหนักถึงอันตรายของสารเสพติด
๑๙. การศึกษาสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันการระบาดของสาร
 เสพติด ยกเว้น ในข้อใด
         ก. จัดการศึกษาแบบบูรณาการในทุกรายวิชาเพื่อให้รู้ถึงผลกระทบของ
 สารเสพติด
         ข. จัดหน่วยงานในโรงเรียนเพื่อสอดส่องดูแลนักเรียนที่ใช้สารเสพติด
         ค. จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรเพื่อป้องกันการเสี่ยงต่อการติดสารเสพติด
 ของเด็กวัยรุ่น
         ง. ใช้กฎหมายเพื่อลงโทษสถานหนักกับนักเรียนที่ติดสารเสพติด
๒๐.“มาตรการแทรกแซง หรือสอดแทรก เป็นการจัดกิจกรรมที่ดำาเนินการกับผู้
    ที่เริ่มมีปัญหาการใช้สารเสพติด เช่น เริ่มทดลองใช้สารเสพติด” จัดว่า
    เป็นการใช้มาตรการใดมาร่วมแก้ไขปัญหาสารเสพติด
        ก. มาตรการทางสังคม                    ข. มาตรการทางกฎหมาย
        ค. มาตรการทางการศึกษา                 ง. มาตรการทางสิ่งแวดล้อม
            เฉลยแบบทดสอบก่อ นเรีย น /หลัง เรีย นหน่ว ยที่ ๑๐
 ๑.       ๒.     ๓.     ๔.     ๕.       ๖.     ๗.      ๘.     ๙.     ๑๐.
  ง.      ก.     ข.      ก.     ง.      ค.     ก.      ก.     ก.      ง.
 ๑๑.     ๑๒.    ๑๓.     ๑๔.    ๑๕.     ๑๖.    ๑๗.     ๑๘.    ๑๙.     ๒๐.
  ก.      ง.     ง.      ค.     ง.      ค.     ข.      ข.     ง.      ก.
                         บัน ทึก หลัง การสอน
 ๑. ผลการสอน
    …………………………….
 …………………………………………………………………………….
 ……….
    …………………………….
 …………………………………………………………………………….
 ……….
129

   …………………………….
…………………………………………………………………………….
……….
   …………………………….
…………………………………………………………………………….
……….
   …………………………….
…………………………………………………………………………….
……….
   …………………………….
…………………………………………………………………………….
……….
๒. ปัญ หา/อุป สรรค
   …………………………….
…………………………………………………………………………….
……….
   …………………………….
…………………………………………………………………………….
……….
   …………………………….
…………………………………………………………………………….
……….
   …………………………….
…………………………………………………………………………….
……….
   …………………………….
…………………………………………………………………………….
……….
   …………………………….
…………………………………………………………………………….
……….
๓. ข้อ เสนอแนะ/แนวทางแก้ไ ข
   …………………………….
…………………………………………………………………………….
……….
   …………………………….
…………………………………………………………………………….
……….
   …………………………….
…………………………………………………………………………….
……….
   …………………………….
…………………………………………………………………………….
……….
   …………………………….
…………………………………………………………………………….
……….
   …………………………….
…………………………………………………………………………….
……….
130

                  ลงชื่อ...............................................ครูผู้สอน
                                                   (..............................
                                              ................)
                   วันที่.......เดือน..........................พ.ศ. ............
๔. ข้อ เสนอแนะของหัว หน้า สถานศึก ษาหรือ ผู้ท ี่ไ ด้ร ับ มอบหมาย
   …………………………….
…………………………………………………………………………….
……….
   …………………………….
…………………………………………………………………………….
……….
   …………………………….
…………………………………………………………………………….
……….
   …………………………….
…………………………………………………………………………….
……….
   …………………………….
…………………………………………………………………………….
……….
   …………………………….
…………………………………………………………………………….
……….

                      ลงชื่อ...............................................................
                                                               (...........................
                                                  ..................................)

More Related Content

What's hot

โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมwangasom
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยNU
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1พัน พัน
 
หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีsukanya5729
 
ใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการtassanee chaicharoen
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapkrupornpana55
 
รายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 ok
รายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 okรายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 ok
รายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 okDhanee Chant
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...พิทักษ์ ทวี
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านthkitiya
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stadnangnut
 
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6sapatchanook
 
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4preecha2001
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัยKruBeeKa
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมdnavaroj
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในamixdouble
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 

What's hot (20)

โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
 
หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏี
 
ใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการ
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind map
 
รายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 ok
รายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 okรายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 ok
รายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 ok
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stad
 
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
 
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกใน
 
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
แนวข้อสอบ  100  ข้อแนวข้อสอบ  100  ข้อ
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 

Viewers also liked

3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.33.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3Kruthai Kidsdee
 
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์Kruthai Kidsdee
 
ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ม.2เส้นแดง
ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ม.2เส้นแดงตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ม.2เส้นแดง
ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ม.2เส้นแดงKruthai Kidsdee
 
แผนสุขศึกษาม 6 10
แผนสุขศึกษาม 6 10แผนสุขศึกษาม 6 10
แผนสุขศึกษาม 6 10Kruthai Kidsdee
 
แผนการเรียนรู้ที่ 1 ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ
แผนการเรียนรู้ที่ 1 ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อแผนการเรียนรู้ที่ 1 ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ
แผนการเรียนรู้ที่ 1 ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อtassanee chaicharoen
 
White classroom project 2012
White classroom project 2012White classroom project 2012
White classroom project 2012Kruthai Kidsdee
 
5.หลักสูตรพลศึกษา
5.หลักสูตรพลศึกษา5.หลักสูตรพลศึกษา
5.หลักสูตรพลศึกษาnang_phy29
 

Viewers also liked (10)

3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.33.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
 
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
 
ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ม.2เส้นแดง
ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ม.2เส้นแดงตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ม.2เส้นแดง
ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ม.2เส้นแดง
 
แผนสุขศึกษาม 6 10
แผนสุขศึกษาม 6 10แผนสุขศึกษาม 6 10
แผนสุขศึกษาม 6 10
 
แผนการเรียนรู้ที่ 1 ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ
แผนการเรียนรู้ที่ 1 ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อแผนการเรียนรู้ที่ 1 ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ
แผนการเรียนรู้ที่ 1 ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ
 
White classroom project 2012
White classroom project 2012White classroom project 2012
White classroom project 2012
 
White classroom project
White classroom projectWhite classroom project
White classroom project
 
North star
North starNorth star
North star
 
5.หลักสูตรพลศึกษา
5.หลักสูตรพลศึกษา5.หลักสูตรพลศึกษา
5.หลักสูตรพลศึกษา
 
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
 

Similar to แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์

แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์Kruthai Kidsdee
 
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.44.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4Kruthai Kidsdee
 
3.แผนสุขศึกษาหลีกเลี่ยงความรุนแรงม. 3
3.แผนสุขศึกษาหลีกเลี่ยงความรุนแรงม. 33.แผนสุขศึกษาหลีกเลี่ยงความรุนแรงม. 3
3.แผนสุขศึกษาหลีกเลี่ยงความรุนแรงม. 3Kruthai Kidsdee
 
โครงสร้างและแผนแอมพัน์ม5อย่าไปหาสารเสพติด
โครงสร้างและแผนแอมพัน์ม5อย่าไปหาสารเสพติดโครงสร้างและแผนแอมพัน์ม5อย่าไปหาสารเสพติด
โครงสร้างและแผนแอมพัน์ม5อย่าไปหาสารเสพติดKruthai Kidsdee
 
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6Kruthai Kidsdee
 
Ice research 30 08-2012 (absolutely2012)
Ice research 30 08-2012 (absolutely2012)Ice research 30 08-2012 (absolutely2012)
Ice research 30 08-2012 (absolutely2012)Kruthai Kidsdee
 
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5Kruthai Kidsdee
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9supap6259
 
Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01korakate
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2korakate
 
ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1Nooa Love
 
ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1Nooa Love
 
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงาน
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงานแบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงาน
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงานFiction Lee'jslism
 
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงาน
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงานแบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงาน
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงานFiction Lee'jslism
 
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษาSambushi Kritsada
 
งาน is เรื่องปัญหายาเสพติด
งาน is เรื่องปัญหายาเสพติดงาน is เรื่องปัญหายาเสพติด
งาน is เรื่องปัญหายาเสพติดIce Ice
 
ธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด
ธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติดธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด
ธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติดpluakdeang Hospital
 
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56ร้าน เคโอ สเต็กและกาแฟสด
 
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3tassanee chaicharoen
 

Similar to แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์ (20)

แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์
 
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.44.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
 
3.แผนสุขศึกษาหลีกเลี่ยงความรุนแรงม. 3
3.แผนสุขศึกษาหลีกเลี่ยงความรุนแรงม. 33.แผนสุขศึกษาหลีกเลี่ยงความรุนแรงม. 3
3.แผนสุขศึกษาหลีกเลี่ยงความรุนแรงม. 3
 
โครงสร้างและแผนแอมพัน์ม5อย่าไปหาสารเสพติด
โครงสร้างและแผนแอมพัน์ม5อย่าไปหาสารเสพติดโครงสร้างและแผนแอมพัน์ม5อย่าไปหาสารเสพติด
โครงสร้างและแผนแอมพัน์ม5อย่าไปหาสารเสพติด
 
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6
 
Ice research 30 08-2012 (absolutely2012)
Ice research 30 08-2012 (absolutely2012)Ice research 30 08-2012 (absolutely2012)
Ice research 30 08-2012 (absolutely2012)
 
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
 
Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
 
ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1
 
ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1ความปลอดภัยในชีวิต 1
ความปลอดภัยในชีวิต 1
 
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงาน
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงานแบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงาน
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงาน
 
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงาน
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงานแบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงาน
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงาน
 
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
 
งาน is เรื่องปัญหายาเสพติด
งาน is เรื่องปัญหายาเสพติดงาน is เรื่องปัญหายาเสพติด
งาน is เรื่องปัญหายาเสพติด
 
Thank
ThankThank
Thank
 
ธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด
ธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติดธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด
ธนะรัชต์ นามผลดี การสรรหาคัดกรองผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด
 
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
 
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
 

More from Kruthai Kidsdee

คู่มืออบรม Google sites
คู่มืออบรม  Google sitesคู่มืออบรม  Google sites
คู่มืออบรม Google sitesKruthai Kidsdee
 
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google doc
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google docคู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google doc
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google docKruthai Kidsdee
 
คู่มือการใช้งาน Google plus
คู่มือการใช้งาน Google plusคู่มือการใช้งาน Google plus
คู่มือการใช้งาน Google plusKruthai Kidsdee
 
คู่มือการใช้งาน Google drive
คู่มือการใช้งาน Google driveคู่มือการใช้งาน Google drive
คู่มือการใช้งาน Google driveKruthai Kidsdee
 
คู่มือการใช้งาน Google
คู่มือการใช้งาน  Googleคู่มือการใช้งาน  Google
คู่มือการใช้งาน GoogleKruthai Kidsdee
 
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sites
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sitesการสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sites
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sitesKruthai Kidsdee
 
การใช้งาน Google docs
การใช้งาน Google docsการใช้งาน Google docs
การใช้งาน Google docsKruthai Kidsdee
 
Final traininggoogleapps presentation2
Final traininggoogleapps presentation2Final traininggoogleapps presentation2
Final traininggoogleapps presentation2Kruthai Kidsdee
 
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.3230 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32Kruthai Kidsdee
 
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝัน
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝันแนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝัน
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝันKruthai Kidsdee
 
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015Kruthai Kidsdee
 
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015Kruthai Kidsdee
 
แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์ ทำไวนิล091
แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์  ทำไวนิล091แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์  ทำไวนิล091
แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์ ทำไวนิล091Kruthai Kidsdee
 
น้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าน้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าKruthai Kidsdee
 
น้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าน้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าKruthai Kidsdee
 

More from Kruthai Kidsdee (20)

Google apps content_1
Google apps content_1Google apps content_1
Google apps content_1
 
Google drive
Google driveGoogle drive
Google drive
 
Google docs 11
Google docs 11Google docs 11
Google docs 11
 
Google form 11
Google form 11Google form 11
Google form 11
 
คู่มืออบรม Google sites
คู่มืออบรม  Google sitesคู่มืออบรม  Google sites
คู่มืออบรม Google sites
 
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google doc
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google docคู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google doc
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google doc
 
คู่มือการใช้งาน Google plus
คู่มือการใช้งาน Google plusคู่มือการใช้งาน Google plus
คู่มือการใช้งาน Google plus
 
คู่มือการใช้งาน Google drive
คู่มือการใช้งาน Google driveคู่มือการใช้งาน Google drive
คู่มือการใช้งาน Google drive
 
คู่มือการใช้งาน Google
คู่มือการใช้งาน  Googleคู่มือการใช้งาน  Google
คู่มือการใช้งาน Google
 
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sites
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sitesการสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sites
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sites
 
การใช้งาน Google docs
การใช้งาน Google docsการใช้งาน Google docs
การใช้งาน Google docs
 
Google appsall
Google appsallGoogle appsall
Google appsall
 
Final traininggoogleapps presentation2
Final traininggoogleapps presentation2Final traininggoogleapps presentation2
Final traininggoogleapps presentation2
 
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.3230 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
 
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝัน
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝันแนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝัน
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝัน
 
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
 
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
 
แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์ ทำไวนิล091
แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์  ทำไวนิล091แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์  ทำไวนิล091
แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์ ทำไวนิล091
 
น้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าน้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้า
 
น้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าน้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้า
 

แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์

  • 1. 114 การออกแบบหน่ว ยการเรีย นรู้ Backward Design กลุ่ม สาระการเรีย นรู้ส ุข ศึก ษาและพลศึก ษา วิช า สุข ศึก ษา ๕ ชั้น มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ ๕ เวลา ๔ ชั่ว โมง หัว เรื่อ ง/Theme หน่ว ยการเรีย นรูท ี่ ๑๐ อย่า ไปหาสารเสพติด ้ ๑. การกำา หนดเป้า หมายการเรีย นรู้ ๑. สภาพปัญหาการแพร่ระบาดของสารเสพติด ๒. ความหมายและการจำาแนกประเภทของสารเสพติด ๓. ชนิดของสารเสพติดให้โทษที่แพร่ระบาดในปัจจุบัน ๔. วิธีสังเกตอาการของผู้ใช้สารเสพติด ๕. สาเหตุของการติดสารเสพติดให้โทษ ๖. โทษและพิษภัยของสารเสพติด ๗.การป้องกันสารเสพติด ๘. การบำาบัดรักษาและการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดสารเสพติด ๙. บทบาทหน้าที่ที่พึงปฏิบัติต่อสังคม ภาพรวม (Big Idea) ๒. มาตรฐานการเรีย นรู้ท เ ป็น เป้า หมาย ี่ มาตรฐาน พ ๕.๑ ป้องกันและหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงต่อ สุขภาพ อุบัติเหตุ การใช้ยา สารเสพติด และความรุนแรง ๓. ตัว ชี้ว ด : สิ่ง ที่ผ เ รีย นพึง รูแ ละปฏิบ ต ิไ ด้ ั ู้ ้ ั ๑. มีส่วนร่วมในการป้องกันความเสี่ยงต่อการใช้ยา การใช้สารเสพติด และความรุนแรง เพื่อสุขภาพของตนเอง ครอบครัว และสังคม
  • 2. 115 ๒. วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดจากการครอบครอง การใช้ และการจำาหน่าย สารเสพติด ๔. เป้า หมายการเรีย นรู้ ๑. ความเข้า ใจที่ค งทน ๑) จัดกิจกรรมป้องกันความเสี่ยงต่อการใช้สารเสพติด และความรุนแรง ๒) วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดจากการครอบครอง การใช้ และการ จำาหน่ายสารเสพติด (ตนเอง ครอบครัว เศรษฐกิจ สังคม) รวมทังให้ความรู้ ้ เรืองโทษทางกฎหมายทีเกิดจากการครอบครอง การใช้ และการจำาหน่ายสาร ่ ่ เสพติด แก่ชุมชน ครอบครัว และสังคมส่วนรวม ฯลฯ ๒. จิต พิส ัย ๑) ตระหนักถึงการจัดกิจกรรมป้องกันความเสี่ยงต่อการใช้สารเสพติด และความรุนแรง ๒) ตระหนักถึงผลกระทบที่เกิดจากการครอบครอง การใช้ และการ จำาหน่ายสารเสพติด (ตนเอง ครอบครัว เศรษฐกิจ สังคม) รวมทั้งให้ความรู้ เรื่องโทษทางกฎหมายที่เกิดจากการครอบครอง การใช้ และการจำาหน่าย สารเสพติดแก่ชุมชน ครอบครัว และสังคมส่วนรวม ฯลฯ ๓. สมรรถนะสำา คัญ ของผู้เ รีย น ๑) ความสามารถในการสื่อสาร ๒) ความสามารถในการคิด ๓) ความสามารถในการแก้ปัญหา ๔) ความสามารถในการใช้ทกษะชีวต ั ิ ๕) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ๔. คุณ ลัก ษณะที่พ ึง ประสงค์ ๑) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๒) ซื่อสัตย์สุจริต ๓) มีวินัย ๔) ใฝ่เรียนรู้ ๕) อยู่อย่างพอเพียง ๖) มุ่งมั่นในการทำางาน ๗) รักความเป็นไทย ๘)มีจิตสาธารณะ ๕. ความรูแ ละทัก ษะเฉพาะวิช า ้ ๑) อธิบายชนิดและลักษณะของสารเสพติดให้โทษที่แพร่ระบาดใน ประเทศไทย
  • 3. 116 ๒) อธิบายอาการของผู้ใช้สารเสพติด ตลอดจนการป้องกัน บำาบัด รักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้เคยติด สารเสพติด ๓) อธิบายโทษและพิษภัยของสารเสพติดตลอดจนวิเคราะห์ผลกระทบที่ เกิดจากปัญหาสารเสพติด ๔) ปฏิบติตนเพื่อหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงต่อการใช้สารเสพติดทุกชนิด ั ๕) อธิบายวิธีดำาเนินการและบทบาทหน้าที่ที่พึงรับผิดชอบต่อปัญหาสาร เสพติดในชุมชน ๖. ทัก ษะคร่อ มวิช า 1) ทักษะการฟัง การฟังครูอธิบาย และเพื่อน ๆ แสดงความคิดเห็นใน ชั้นเรียน 2) ทักษะการอ่าน การอ่านเนื้อหาสาระหน่วยการเรียนรู้ 3) ทักษะการเขียน การเขียนรายงาน การทำาแบบฝึกหัด และการทำา รายงาน 4) ทักษะการนำาเสนอ (การพูด) การนำาเสนอเนื้อหาสาระหน่วยการ เรียนรู้ 5) ทักษะการทำางานกลุ่ม ระดมความคิดในการทำางานกลุ่ม 6) การสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ การเขียนผังความคิด (Mind Mapping) แผนการจัด การเรีย นรู้ท ี่ ๑๐
  • 4. 117 วิช า สุข ศึก ษา ๕ ชั้น มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ ๕ หน่ว ยการเรีย นรู้ท ี่ ๑๐ เรื่อ ง อย่า ไปหาสารเสพติด เวลา ๔ ชั่ว โมง ๑. เป้า หมายการเรีย นรู้ ๑. จัดกิจกรรมป้องกันความเสี่ยงต่อการใช้สารเสพติด และความรุนแรง ๒. วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดจากการครอบครอง การใช้ และการจำาหน่าย สารเสพติด (ตนเอง ครอบครัว เศรษฐกิจ สังคม) รวมทั้งให้ความรู้เรื่องโทษ ทางกฎหมายที่เกิดจากการครอบครอง การใช้ และการจำาหน่าย สาร เสพติดแก่ชุมชน ครอบครัว และสังคมส่วนรวม ฯลฯ ๒. สาระสำา คัญ สารเสพติดแต่ละชนิดต่างออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทในลักษณะแตก ต่างกัน แต่ก็ล้วนเป็นอันตรายทำาให้สุขภาพร่างกายทรุดโทรมลง และหาก มิได้รับการบำาบัด รักษา ฟื้นฟูสภาพอย่างจริงจังหรือทันท่วงทีก็จะเป็น อันตรายถึงชีวิตได้ ดังนั้นเยาวชนทุกคนจึงต้องมีความรู้ ความเข้าใจพอที่จะ สามารถป้องกันตนเองให้ห่างไกลจากสารเสพติด และหลีกเลียงพฤติกรรม ่ เสียงต่อการใช้สารเสพติดทุกชนิดได้ ตลอดทังตระหนักถึงการมีสวนร่วมในการ ่ ้ ่ รณรงค์ปองกัน แก้ไขปัญหาการแพร่ระบาดของสารเสพติดในชุมชนด้วย ้ ๓. มาตรฐานและตัว ชีว ัด ้ มาตรฐาน พ ๕.๑ ป้องกันและหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงต่อ สุขภาพ อุบัติเหตุ การใช้ยา สารเสพติด และความรุนแรง ตัว ชี้ว ด : สิ่ง ที่ผ ู้เ รีย นพึง รู้แ ละปฏิบ ัต ไ ด้ ั ิ ๑. มีส่วนร่วมในการป้องกันความเสี่ยงต่อการใช้ยา การใช้สารเสพติด และความรุนแรง เพื่อสุขภาพของตนเอง ครอบครัว และสังคม ๒. วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดจากการครอบครอง การใช้ และการจำาหน่าย สารเสพติด ๔. สาระการเรีย นรู้ ๑. สภาพปัญหาการแพร่ระบาดของสารเสพติด ๒. ความหมายและการจำาแนกประเภทของสารเสพติด ๓. ชนิดของสารเสพติดให้โทษที่แพร่ระบาดในปัจจุบัน ๔. วิธีสังเกตอาการของผู้ใช้สารเสพติด ๕. สาเหตุของการติดสารเสพติดให้โทษ ๖. โทษและพิษภัยของสารเสพติด ๗. การป้องกันสารเสพติด
  • 5. 118 ๘. การบำาบัดรักษาและการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดสารเสพติด ๙. บทบาทหน้าที่ที่พึงปฏิบัติต่อสังคม ๕. กิจ กรรมฝึก ทัก ษะที่ค วรเพิ่ม ให้น ัก เรีย น K (Knowledge) P (Practice) A (Attitude) ความรู้ ความเข้า ใจ การฝึก ปฏิบ ต ิั คุณ ลัก ษณะอัน พึง ประสงค์ ๑. อธิบายชนิดและ ๑. จัดกิจกรรมป้องกัน ๑. รักชาติ ศาสน์ ลักษณะของสารเสพ ความเสี่ยงต่อการใช้ กษัตริย์ ติดให้โทษที่แพร่ สารเสพติด และ ๒. ซื่อสัตย์สุจริต ระบาดใน ความรุนแรง ๓. มีวินัย ประเทศไทย ๒.วิเคราะห์ผลกระทบที่ ๔. ใฝ่เรียนรู้ ๒. อธิบายอาการของผู้ เกิดจากการครอบ ๕. อยู่อย่างพอเพียง ใช้สารเสพติด ตลอด ครอง การใช้และ ๖. มุ่งมั่นในการทำางาน จนการป้องกัน บำาบัด การจำาหน่ายสาร ๗. รักความ รักษาและฟื้นฟู เสพติด (ตนเอง เป็นไทย สมรรถภาพ ผู้ ครอบครัว เศรษฐกิจ ๘. มีจิตสาธารณะ เคยติดสารเสพติด สังคม) รวมทั้งให้ ๓. อธิบายโทษและพิษ ความรู้เรื่องโทษทาง ภัยของ สารเสพติด กฎหมายที่เกิดจาก ตลอดจนวิเคราะห์ การครอบครอง การ ผลกระทบทีเกิดจาก ่ ใช้และ การจำาหน่าย ปัญหา สารเสพติด สารเสพติด แก่ ๔. ปฏิบัติตนเพื่อหลีก ชุมชน ครอบครัว เลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยง และสังคมส่วนรวม ต่อการใช้ สาร ฯลฯ เสพติดทุกชนิด ๕. อธิบายวิธีดำาเนินการ และบทบาทหน้าที่ที่ พึงรับผิดชอบต่อ ปัญหาสารเสพติดใน ชุมชน ๖. การวัด และประเมิน ผล ๑. เครื่อ งมือ วัด และประเมิน ผล ๑) แบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน ๒) แบบฝึกหัด
  • 6. 119 ๓) ใบงาน ๔) แบบประเมินพฤติกรรมการทำางานกลุ่ม ๕) แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ๖) แบบสังเกตสมรรถนะของผู้เรียน ๗) แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๒. วิธ ว ด ผล ี ั ๑) ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน ๒) ตรวจแบบฝึกหัด ๓) ตรวจใบงาน ๔) สังเกตพฤติกรรมการทำางานกลุ่ม ๕) สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ๖) สังเกตสมรรถนะของผู้เรียน ๗) สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๓. เกณฑ์ก ารวัด และประเมิน ผล ๑) สำาหรับชัวโมงแรกทีใช้แบบทดสอบก่อนเรียนไม่มเกณฑ์ผาน เก็บ ่ ่ ี ่ คะแนนไว้เปรียบเทียบกับคะแนนที่ได้จากการทดสอบหลังเรียน ๒) การประเมินผลจากแบบฝึกหัด ต้องผ่านเกณฑ์การทดสอบเกินร้อยละ ๕๐ ๓) การประเมินผลจากแบบตรวจใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน เรื่องความรู้ความเข้าใจ การนำาไปใช้ทักษะ และจิตพิสัย ทุกช่องเกินร้อยละ ๕๐ ๔) การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทำางานกลุม ต้องผ่าน ่ เกณฑ์การประเมิน คือ เกินร้อยละ ๕๐ ๕) การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล เกณฑ์ผ่านการ ประเมิน ต้องไม่มีช่องปรับปรุง ๖) การประเมินผลการสังเกตสมรรถนะของผู้เรียน คะแนนขึ้นอยู่กับการ ประเมินตามสภาพจริง ๗) การประเมินผลการสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน คะแนนขึ้นอยู่กับการประเมิน ตามสภาพจริง ๗. หลัก ฐาน/ผลงาน ๑. ผลการทำาแบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน และแบบฝึกหัด ๒. ผลการทำาใบงาน ๘. กิจ กรรมการเรีย นรู้ ชัว โมงที่ ๑-๒ ่ ขัน นำา เข้า สู่บ ทเรีย น ้
  • 7. 120 ๑. ครูและนักเรียนสนทนากันเรื่องวันต่อต้านยาเสพติดโลก ซึ่งตรงกับวันที่ ๒๖ มิถุนายน ของทุกปี ถือเป็น วันต่อต้านยาเสพติดโลก เนื่องจากปัญหา สารเสพติดเป็นปัญหาสำาคัญทีทกประเทศทัวโลกประสบอยูรวมถึงประเทศไทย ่ ุ ่ ่ ในอดีตจะพบว่าการแพร่ระบาดนั้นจะอยู่ที่ประชาชนผู้ใช้แรงงานและกลุ่ม เยาวชน ชุมชนแออัด ผู้ด้อยโอกาสทางเศรษฐกิจ ๒. นักเรียนยกตัวอย่างประเภทยาเสพติดซึ่งแบ่งออกเป็น ๔ ประเภท ได้แก่ ๑) กดประสาท ได้แก่ ฝิ่น มอร์ฟีน เฮโรอีน ยานอนหลับ ยาระงับ ประสาท ยากล่อมประสาท ฯลฯ ๒) กระตุ้นประสาท ได้แก่ ยาบ้า ยาอี กระท่อม โคเคน ๓) หลอนประสาท ได้แก่ แอลเอสดี และ เห็ดขี้ควาย ๔) ออกฤทธิ์ผสมผสาน คือ ทั้งกระตุ้น กดและหลอนประสาทร่วมกัน ได้แก่ ผู้เสพติดมักมีอาการหวาดระแวง ความคิดสับสนเห็นภาพลวงตา หูแว่ว 3. นักเรียนทำาแบบทดสอบก่อนเรียน ในหนังสือเสริมฝึกประสบการณ์ สุขศึกษา ๕ ขัน สอน ้ 4. ครูใช้รูปแบบการเรียนแบบ TAI (Team Assisted Individualization) เพื่อเน้นการเรียนของแต่ละบุคคลเนื่องจากมีความ สัมพันธ์กับชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนโดยทั่วไป ดังนี้ ๑) สภาพปัญหาการแพร่ระบาดของสารเสพติด ๒) ความหมายและการจำาแนกประเภทของสารเสพติด ๓) ชนิดของสารเสพติดให้โทษที่แพร่ระบาดในปัจจุบัน ๔) วิธีสังเกตอาการของผู้ใช้สารเสพติด ๕) สาเหตุของการติดสารเสพติดให้โทษ ๕. นอกจากนี้ครูยังใช้เทคนิคการสอนแบบการประชุมแบบซินดิเคต (Syndicate) โดยกำาหนดหัวข้อดังนี้ ๑) สภาพปัญหาการแพร่ระบาดของสารเสพติด ๒) ความหมายและการจำาแนกประเภทของสารเสพติด
  • 8. 121 ๓) ชนิดของสารเสพติดให้โทษที่แพร่ระบาดในปัจจุบัน ๔) วิธีสังเกตอาการของผู้ใช้สารเสพติด ๕) สาเหตุของการติดสารเสพติดให้โทษ ๖. ครูเปิดวีดิทัศน์ให้นักเรียนชมเพื่อให้นักเรียนได้ตระหนักถึงพิษร้ายแรง ของยาเสพติดที่เป็นอันตรายต่อชีวิต เพื่อให้นักเรียนหลีกเลี่ยงได้อย่างรู้เท่า ทัน และยังเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวเองได้ตามแนวคิดของเศรษฐกิจ พอเพียง ๗. ครูอธิบายสาเหตุที่เกิดจากความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ เช่น อยากลอง ความ คึกคะนอง หรือการชักชวนของเพื่อน เป็นต้น หรือมาจากสาเหตุการหลอก ลวง ซึ่งปัจจุบันนี้มีผู้ขายสินค้าประเภทอาหาร ขนม หรือเครื่องดื่มบางราย ใช้สิ่งเสพติดผสมลงในสินค้าที่ขาย เพื่อให้ผู้ซื้อสินค้าไปกินเกิดการติด อยาก มาซื้อไปกินอีก ซึ่งในกรณีนี้ ผู้ซื้ออาหารนั้นมากินจะไม่รู้สึกว่า ตนเองเกิดการติดสิ่งเสพติดขึ้นแล้ว รู้แต่เพียงว่าอยากกินอาหาร ขนม หรือ เครื่องดื่มที่ซื้อจากร้านนั้นๆ กว่าจะทราบก็ต่อเมื่อตนเองรู้สึกผิดสังเกตต่อ ความต้องการจะซื้ออาหารจากร้านนั้น มากิน หรือต่อเมื่อมีอาการเสพติด รุนแรง และมีสุขภาพเสื่อมลง หรือสาเหตุการเจ็บป่วย เช่น ได้รับบาดเจ็บ รุนแรง วิตกกังวล เครียด และการซื้อยามากินเอง เป็นต้น ๘.นักเรียนอ่านบทความ “เยาวชนกับยาเสพติด เพื่อให้ประชาชน พ่อแม่ ผู้ปกครอง ตระหนักถึงพิษภัยและโทษของยาเสพติด และช่วยกันคุ้มครอง สร้างความรัก ความอบอุ่นให้กับครอบครัวเพื่อเป็นการไม่ ให้เยาวชนไทยติดยาเสพติด ปัจจุบันมีผู้ติดยาเสพติดเป็นจำานวนมาก โดยเฉพาะ กลุ่มเยาวชนจะติดยาเสพติดมากกว่ากลุ่มคนกลุ่มอื่น และที่น่าเป็นห่วง กำาลังแพร่ ระบาดสู่เด็กนักเรียนวัย ๙ ขวบ ๑๐ ขวบ สาเหตุอาจเป็นเพราะถูกเพื่อนชักจูงให้ลอง เสพ อยากรู้ อยากลอง ถูกล่อลวง และสาเหตุสำาคัญอีกประการหนึ่ง คือ การขาด ความอบอุ่นในครอบครัว ปัญหาพ่อแม่หย่าร้างกัน ผูใหญ่ไม่ได้สนใจดูแลหรือเป็นที่ ้ พึ่งของเด็กได้ เด็กเกิดความว้าเหว่ไม่รู้จะปรึกษาใคร เลยหันไปหายาเสพติด หรือ เป็นเป้าล่อให้กับผู้ไม่ปรารถนาดีอย่างพอดี ปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาที่เป็นภัยร้ายแรงต่อสุขภาพกายและสุขภาพจิต ส่ง ผลกระทบต่อสังคม เศรษฐกิจ บั่นทอนความเจริญของประเทศชาติ หากประเทศใดมี ประชาชนติดยาเสพติดจำานวนมาก ก็ไม่สามารถพัฒนาประเทศชาติให้เจริญรุ่งเรือง ได้ ยาเสพติดมีมากมายหลายชนิด ได้แก่ ฝิ่น เฮโรอีน ทินเนอร์ กัญชา ยาบ้า ยาอี สารระเหย กระท่อม และ ยากระตุ้นประสาท เป็นต้น แต่ละชนิดก่อให้เกิด ผลร้ายแก่ร่างกายทั้งสิ้น ทำาให้สุขภาพทรุดโทรมอ่อนแอ ความจำาเสื่อม เสีย บุคลิกภาพ และปัญหาสำาคัญทีตามมาอีกประการหนึ่งก็คือ ผูติดยาเสพติดชนิดฉีดเข้า ่ ้ เส้นมีโอกาสติดเชื้อไวรัสเอดส์และแพร่กระจายไปยังกลุ่มผูติดยาเสพติดด้วยกัน รวม ้ ไปถึงคนกลุ่มอื่นๆ ด้วย แม้รัฐบาลจะประกาศสงครามกับยาเสพติดก็ตาม ก็ไม่ได้หมายความว่า การ ป้องกัน การปราบปรามยาเสพติดจะเป็นหน้าที่ของรัฐบาลเท่านั้น การแก้ไขปัญหายา เสพติดเป็นหน้าที่ของทุกฝ่ายทีจะต้องร่วมมือกัน การปราบปรามเป็นการแก้ปัญหาที่ ่
  • 9. 122 ปลายเหตุ การป้องกันยังเป็นสิงที่สำาคัญ โดยการให้การศึกษาและความรู้เรื่องพิษภัย ่ และโทษของยาเสพติดอย่างต่อเนื่อง แก่ประชาชน ครู พ่อแม่ ผูปกครอง เด็กและ ้ เยาวชน โดยเฉพาะ พ่อแม่ ผู้ปกครอง จะต้องเอาใจใส่ดแลลูกหลาน ให้ความรัก ู ความอบอุ่นแก่ครอบครัว เป็นที่พึ่งของเด็กได้ เมื่อเด็กมีปัญหาสามารถจะพูดคุย ช่วย กันแก้ปัญหาให้เด็ก ใช้เหตุผลกับเด็ก ไม่ใช้อารมณ์ เพราะการใช้อารมณ์อาจทำาให้ เด็กเกิดความน้อยเนื้อตำ่าใจ กลุ้มใจและเตลิดออกจากบ้านไปพึ่งยาเสพติดและเสีย อนาคตได้ในที่สุด “เยาวชนคืออนาคตของชาติ อย่าให้ตกเป็นทาสของยาเสพติด” ๙.นักเรียนร้องเพลงเกี่ยวกับยาเสพติด เพื่อสร้างบรรยากาศในห้องเรียน ให้สนุกสนานและได้รับความรู้ เช่น เพลง ๑๘ ฝน, เด็กเสเพล, เราและนาย, จุดตำ่าสุด (ป้าง), คิดผิดใช่ไหม (โน้ต-ตูน), เพื่อนกัน (บางแก้ว), ครึ่งหนึ่งของ ชีวิต (แอม) เป็นต้น และให้นักเรียนหาบทเพลงที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติดมา คนละ ๑ เพลง (ไม่ซำ้ากัน) แล้วนำามาร้องหน้าชั้นเรียนและสรุปสาระสำาคัญ ของเพลงที่ได้รับประโยชน์ ๑๐. นักเรียนทำาใบงานที่ ๑๐.๑, ๑๐.๒ และ ๑๐.๓ ขั้น สรุป และประยุก ต์ ๑๑. ครูและนักเรียนสรุปโดยครูเปิดวีดิโอ “นำ้า ตาแม่” ให้นักเรียนดู และฟัง เพื่อให้นักเรียนรู้จักคิดและวิเคราะห์ถึงผลของการติดยาเสพติด ๑๒. ครูแนะนำาให้นกเรียนรูจกการสร้างภูมคมกันทีดในตัวเอง เพือ ั ้ ั ิ ุ้ ่ ี ่ ป้องกันการติดสารเสพติดทุกชนิด ซึงในโลกนี้ มีสิ่งที่งดงามสนุกสนานอีกมาก ่ ที่สามารถกระทำาได้ โดยไม่ก่อให้เกิดการบั่นทอนสุขภาพร่างกาย และจิตใจ ทุกคน ก็ทราบดีอยู่แล้วถึงพิษภัยของยาเสพติด แล้วทำาไมเพื่อนรักของ นักเรียนมาชวนนักเรียนเสพยาเสพติด เพื่อนหวังดี กับเราจริงหรือ เพื่อนมี อะไรซ่อนเร้นอยู่ในใจหรือเปล่า เพื่อนเป็นตัวอย่างที่ดีที่นักเรียนควรทำาตาม หรือไม่ เพื่อนอยู่ในวงจรอุบาทว์ทนกเรียนควรคิดช่วยเขา แทนทีเพือนจะมา ี่ ั ่ ่ ชวนเราเสพ แล้วฉุดนักเรียนเข้าไปอยูในวงจรอุบาทว์นนด้วย เป็นการถูกต้อง ่ ั้ หรือไม่ การเล่นกีฬา เล่นดนตรี ร้องรำาทำาเพลง เที่ยวเตร่เพื่อความสนุกสนาน วาดรูป เล่นเกมต่างๆ ท่องเที่ยวไปในโลกของอินเทอร์เน็ตในคอมพิวเตอร์ และกิจกรรมอีกมากมายที่จะนำาความสุขมาสู่ตัวนักเรีนน นักเรียนต้องรักตัว เอง ต้องไม่ทำาให้คุณพ่อคุณแม่หรือผู้ปกครองของนักเรียนเสียใจ โปรดเชื่อ เถิดว่า เสพยาเสพติด ไม่นานเกิน ๑ ปี ร่างกายของนักเรียนจะตกอยู่ในสภาพ ที่ยำ่าแย่ การบำาบัดรักษาให้เลิกยาเสพติดเป็นไปด้วย ความยากลำาบาก ถ้านักเรียนอยู่ในภาวะที่เศร้าโศกเสียใจและยังแก้ปัญหาในขณะนี้ไม่ได้ ยา เสพติดไม่ใช่วิธีแก้ปัญหาของนักเรียนอย่างแน่นอน ขอให้คิดให้ดีและขอให้ แก้ปัญหาให้ได้ ๑๓. ครูแนะนำาให้นักเรียนคำานึงถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่า ประโยชน์ส่วนตัว ได้แก่ การลดความเห็นแก่ตัว และเสียสละแรงกายและใจ
  • 10. 123 เพื่อทำาประโยชน์ให้แก่ส่วนรวม ช่วยกันดูแลรักษาทรัพย์สินที่เป็นสาธารณ สมบัติ เช่น ตูโทรศัพท์สาธารณะ ห้องสมุดประจำาหมู่บ้าน เป็นต้น ช่วยกัน ้ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เช่น ป่าไม้ แม่นำ้าลำาธาร เป็นต้น รวมทั้งช่วยกันตักเตือน หรือห้ามปรามบุคคลไม่ให้ทำาลายสาธารณสมบัติ หรือสิ่งแวดล้อม ชัว โมงที่ ๓-๔ ่ ขัน นำา เข้า สู่บ ทเรีย น ้ ๑๔ ครูและนักเรียนพูดถึงสารเสพติดมีพิษภัยทั้งต่อตัวบุคคลและในสังคม ซึ่งจำาแนกได้ดังนี้ ๑) ต่อผู้เสพ ทำาให้สุขภาพทรุดโทรมทั้งทางร่างกายและทางจิตใจ เกิด โรคต่างๆ เช่น โรคตับ โรคหัวใจ โรคเอดส์ โรคหวัด โรคประสาท เป็นต้น ๒) ต่อครอบครัว ก่อให้เกิดความเดือดร้อน สูญเสียรายได้ เกิดความไม่ สงบสุขภายในครอบครัว ๓) ต่อสังคม ก่อให้เกิดปัญหาอาชญากรรม ๔) ต่อประเทศชาติ ทำาให้สูญเสียเศรษฐกิจจำานวนมหาศาล และบ่อน ทำาลายความมั่นคงของประเทศชาติ ๑๕. ครูและนักเรียนสนทนากันเรื่องหลักเศรษฐกิจพอเพียง และครู อภิปรายถึงการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง ดังนี้ ๑) พิจารณาจากความสามารถในการพึ่งตนเองเป็นหลัก ที่เน้นความ สมดุลทั้ง ๓ คุณลักษณะ คือ พอประมาณ มีเหตุมีผล และมีภูมิคุ้มกัน มา ประกอบการตัดสินใจในเรื่องต่างๆ เป็นขั้นเป็นตอน รอบคอบ ระมัดระวัง พิจารณาถึงความพอดี พอเหมาะพอควร และพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงที่มี องค์ประกอบครอบคลุมทั้ง ๕ ประการ คือ (๑) ด้านจิตใจ มีจิตใจเข้มแข็ง ฝึกตนเองได้ มีจิตสำานึกที่ดี เอื้ออาทร ประนีประนอม และนึกถึงประโยชน์ส่วนรวมเป็นหลัก (๒) ด้านสังคม มีความช่วยเหลือเกื้อกูลกัน รู้รักสามัคคี สร้างความ เข้มแข็งให้ครอบครัวและชุมชน รู้จักผนึกกำาลัง มีกระบวนการเรียนรู้ที่เกิด จากรากฐานที่มั่นคงแข็งแรง (๓) ด้านเศรษฐกิจ ดำารงชีวิตอยู่อย่างพอดี พอมี พอกิน สมควรตาม อัตภาพ และฐานะของตนประกอบอาชีพสุจริต (สัมมาอาชีวะ) ด้วยความขยัน หมั่นเพียร อดทน ใช้ชีวิตเรียบง่ายโดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น มีรายได้ สมดุลกับรายจ่าย รู้จักการใช้จ่ายของตนเองและครอบครัวอย่างมีเหตุผลเท่า ที่จำาเป็น ประหยัด รู้จัก การเก็บออมเงินและแบ่งปันผู้อื่น (๔) ด้านเทคโนโลยี รู้จักใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม สอดคล้องกับ ความต้องการและภูมินิเวศ พัฒนาเทคโนโลยีจากภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ให้ เกิดประโยชน์ต่อตนเองและสังคม
  • 11. 124 (๕) ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รู้จักใช้และจัดการ อย่างฉลาดและรอบคอบ สามารถเลือกใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดความยั่งยืน สูงสุด ๒) พิจารณาความรู้คู่คุณธรรม มีการศึกษาเรียนรู้และพัฒนาตนเอง อย่างต่อเนื่อง (ทั้งภาคทฤษฎีและ การปฏิบัติจริง) ในวิชาการต่างๆ ที่ เกี่ยวข้องกับการดำารงชีวิต ใช้สติปัญญาในการตัดสินใจต่างๆ อย่างรอบรู้ รอบคอบ และมีเหตุผลที่จะนำาความรู้ต่างๆ เหล่านั้นมาปรับใช้อย่างมีขั้นตอน และระมัดระวังในการปฏิบัติ มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์ สุจริต มีความเพียร ความอดทน และใช้สติปัญญาอย่างชาญฉลาดในการ ดำาเนินชีวิตในทางสายกลาง ขัน สอน ้ ๑๖. ครูผู้สอนใช้เทคนิคโดยการระดมความคิด (Brain Storming) มีลักษณะพิเศษเป็นการอบรมแบบกระตุ้นให้ทุกคนได้ใช้สมอง ได้แสดงความ คิดเห็นโดยมิต้องคำานึงถึงการเสนอของตนจะถูกต้องหรือใช้ได้หรือไม่ เมื่อ สมาชิกทุกคนได้แสดงความคิดเห็นแล้ว จึงพิจารณาข้อเสนอแนะที่เหมาะสมที่ ส่วนใหญ่เห็นด้วย หัวข้อที่นำาเสนอได้แก่ • โทษและพิษภัยของสารเสพติด • การป้องกันสารเสพติด • การบำาบัดรักษาและการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดสารเสพติด • บทบาทหน้าที่ที่พึงปฏิบัติต่อสังคม ๑๗. นักเรียนทำาใบงานที่ ๑๐.๔, ๑๐.๕, ๑๐.๖ และ ๑๐.๗ ขัน สรุป และประยุก ต์ ้ 18. ครูและนักเรียนสรุปโทษและพิษภัยของสารเสพติด การป้องกัน สารเสพติด การบำาบัดรักษาและการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดสารเสพติด และ บทบาทหน้าที่ที่พึงปฏิบัติต่อสังคม 19. ครูเน้นสอนให้นักเรียนมีวินัย เช่น ฝึกกาย วาจาและใจ ให้ ควบคุมพฤติกรรมของตนเองให้อยู่ในระเบียบแบบแผนที่ดีงาม เพื่อให้การ ทำางานและอยู่ร่วมกันของกลุ่มในสังคมนั้นเป็นไปด้วยความเรียบร้อย 20. ครูปลูกฝังให้นักเรียนนำาคุณธรรมที่ทุกคนควรจะศึกษาและ น้อมนำามาปฏิบัติ ๔ ประการ คือ ๑) รักษาความสัตย์ ความจริงใจต่อตัวเองที่จะประพฤติปฏิบัติแต่สิ่งที่ เป็นประโยชน์และเป็นธรรม ๒) รู้จักข่มใจตนเอง ฝึกใจตนเองให้ประพฤติปฏิบัติอยู่ในสัจจะความดี นั้น ๓) ความอดทน อดกลั้น และอดออมที่จะไม่ประพฤติล่วงความสัตย์สุจริต ไม่ว่าด้วยเหตุประการใด ๔) รูจกละวางความชัว ความทุจริตและสละประโยชน์สวนน้อยของตน ้ ั ่ ่ เพือประโยชน์สวนรวม ถ้าแต่ละคน พยายามปลูกฝังและบำารุงให้เจริญ ่ ่
  • 12. 125 งอกงามขึ้นโดยทั่วกันแล้ว จะช่วยให้ประเทศชาติบังเกิดความสุข ความ ร่มเย็น และมีโอกาสที่จะปรับปรุงพัฒนาให้มั่นคง ก้าวหน้าต่อไปได้ดังประสงค์ ๒๑. นักเรียนทำาแบบทดสอบหลังเรียน ๙.สื่อ /แหล่ง การเรีย นรู้ 1. หนังสือเรียนรายวิชาพืนฐาน สุขศึกษา ๕ ชันมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ของบริษท ้ ้ ั สำานักพิมพ์เอมพันธ์ จำากัด 2.หนังสือเสริมฝึกประสบการณ์ สุขศึกษา ๕ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ของ บริษัท สำานักพิมพ์เอมพันธ์ จำากัด 3.วีดิทัศน์ แผ่นใส และรูปภาพประกอบ 4.ข่าวสาร สื่อสิ่งพิมพ์ ๑๐. การบูร ณาการ ๑. การบูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ได้แก่ ทักษะการเขียน ทักษะการพูด ทักษะการฟัง และทักษะการอ่าน ๒. การบูรณาการกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๓. คุณธรรม จริยธรรม และศีลธรรม ๔. หน้าที่พลเมืองดี แบบทดสอบก่อ นเรีย น /หลัง เรีย นหน่ว ยที่ ๑๐ คำา ชี้แ จง จงเขียนเครื่องหมาย  ทับข้อที่นักเรียนคิดว่าถูกต้องที่สุด ๑. ข้อใดกล่าวไม่ถ ูก ต้อ ง เกี่ยวกับคำาจำากัดความของสารเสพติด ก. สุขภาพร่างกายทรุดโทรมลง ข.เกิดอาการถอนยาเมื่อหยุดหรือเลิกใช้สารเหล่านั้น ค. สารที่เข้าสู่ร่างกายแล้วมีความต้องการเพิ่มขึ้นทั้งขนาดและปริมาณ ง. สารที่เข้าสู่ร่างกายด้วยวิธีการสูบและฉีดเท่านั้น แล้วก่อให้เกิดโทษ แก่ร่างกาย ๒. สารเสพติดในข้อใดมีสรรพคุณทางการแพทย์สามารถรักษาโรคได้ ก. มอร์ฟีน ข. กัญชา ค. ยาบ้า ง. กระท่อม ๓. ข้อใดกล่าวได้ถ ูก ต้อ งเกี่ยวกับผลเสียที่เกิดจากสารเสพติดที่มีผลต่อ ครอบครัว
  • 13. 126 ก. ไม่สามารถเรียนหรือทำางานได้ เพราะต้องใช้เวลาในการบำาบัด ข. เสียค่าใช้จ่ายเป็นจำานวนมาก ต้องนำารายจ่ายด้านอื่นๆ มาใช้ในการ รักษา ค. ร่างกายและจิตใจเสื่อมโทรม ง. สูญเสียทรัพยากรมนุษย์ในการพัฒนาประเทศ ๔. ข้อใดกล่าวไม่ถ ูก ต้อ ง เกี่ยวกับปัจจัยและพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการติดสาร เสพติด ก. ครูกุ๊กใช้ยาเสพติดประเภทที่ ๔ เพื่อบรรเทาอาการป่วยหลังผ่าตัด กระดูก ข. ไอด้าใช้ยาบาร์บิทุเรตเพื่อระงับอาการวิกลจริต ค. ไอริณอยากรู้อยากเห็นเลยเข้าไปทดลองสารเสพติด ง. ครอบครัวของแดนเทพยากจนจึงได้หันเหจากนักแสดงมาเป็นผู้ค้า สารเสพติด ๕. เพราะเหตุใดสารเสพติดจึงมีอันตรายมากโดยเฉพาะผู้เสพที่เป็นผู้หญิง ก. เพราะผู้หญิงมีจิตใจที่ไม่หนักแน่นจึงทำาให้เลิกสารเสพติดได้ยาก ข. เพราะร่างกายของผู้หญิงอ่อนแอกว่าผู้ชาย ทำาให้ร่างกาย เสื่อมโทรมเร็วกว่าปกติ ค. เพราะผู้หญิงที่ใช้สารเสพติดเพื่อความบันเทิงจะมีผลทำาให้ตกเลือด ในบริเวณช่องคลอด ง. เพราะการเสพสารเสพติดบางชนิดจะทำาให้คุมสติไม่อยู่ เสี่ยงต่อการ มีเพศสัมพันธ์และโรคเอดส์ ๖. เพราะเหตุใดผู้ติดสารเสพติดจึงมักก่ออาชญากรรม ก. ประชดตัวเอง ข. ถูกชักชวนจากคนอื่น ค. ต้องการเงินไปซื้อยา ง. ไม่พอใจสิ่งแวดล้อมของตนเอง ๗. วันต่อต้านสารเสพติดของประเทศไทย ตรงกับวันที่เท่าใด ก. ๒๖ มิถุนายน ของทุกปี ข. ๔ กันยายน ของทุกปี ค. ๒๐ พฤศจิกายน ของทุกปี ง. ๑ ธันวาคม ของทุกปี ๘.ข้อใดเป็นการคิดที่เสี่ยงต่อภาวะการติดสารเสพติด ก. อยากรู้อยากลองเป็นผู้กล้า ข. ไม่ทดลองของมึนเมาทุกชนิด ค. ไม่คบเพื่อนแปลกหน้าที่ไม่ดี ง. มองเห็นคุณค่าในตนเองว่ามีดี เสมอ ใช้ส ถานการณ์ต ่อ ไปนี้ ตอบคำา ถามข้อ ๙.–๑๐. ครอบครัวของพีระย้ายไปอยู่ในแถบชานเมืองได้ ๓ อาทิตย์ เขาได้รู้จัก กับฤทธิพงศ์ เพื่อนวัยเดียวกันและ ได้กลายเป็นเพื่อนเล่นและเพื่อนสนิทกัน วันหนึ่งพีระได้รู้ในภายหลังว่าฤทธิพงศ์เคยติดสารเสพติดมาก่อน
  • 14. 127 ๙. การกระทำาใดของพีระไม่ถ ูก ต้อ ง และไม่ส มควรต่อฤทธิพงศ์ ก. เลิกคบ เพราะเคยติดสารเสพติดมาก่อน ข. ยังสนิทและเป็นเพื่อนเล่นกับฤทธิพงศ์เหมือนเดิม ค. แนะนำากิจกรรมยามว่างและมีประโยชน์ให้แก่ฤทธิพงศ์ ง. ให้กำาลังใจและเข้าใจฤทธิพงศ์ เพราะเขาอาจเป็นเหยื่อของสังคม ๑๐. หากนักเรียนเป็นผู้ปกครองของพีระ คำาพูดใดของผู้ปกครองเหมาะสม ที่สุดในการให้กำาลังใจต่อผู้ที่กลับใจ เลิกสารเสพติด ก. แม่ว่าลูกตัดสินเองดีกว่านะ ว่าจะคบต่อไปหรือเปล่า ข. แม่ขอออกคำาสั่งกับลูกเลยนะ ว่าต้องเลิกยุ่งกับเขาเดี๋ยวนี้ ค. แม่ว่าห่างจากเขาเถอะลูก เขาอาจกลับไปติดใหม่ก็ได้ ง. ไม่เป็นไรหรอกลูก มันคืออดีต ปัจจุบันเขาเป็นคนดีหรือเปล่าล่ะ ๑๑. เหตุการณ์ใดต่อไปนี้ ไม่จ ด เป็นผลร้ายของสารเสพติดที่ส่งผลกระทบต่อ ั ตัวเรา ก. จับนักร้องคาเฟ่พร้อมสารเสพติด ข. พบสารเสพติดรูปแบบใหม่หลอกลวงเยาวชน ค. ตำารวจจับคนขับรถรับส่งนักเรียนเสพยาบ้า ง. จับรุ่นพี่ที่รับน้องด้วยการให้ทดลองสารเสพติด ๑๒. ข้อใดไม่ใ ช่โทษที่เกิดจากการเสพสารเสพติด ก. โดนคนเสพยารีดไถเงิน ข. ขาดบุคลากรในการพัฒนา ประเทศ ค. มีอาชญากรรมเพิ่มขึ้น ง. พิการและอัมพาต ๑๓. ข้อใดเป็นสาเหตุที่สำาคัญของสิ่งแวดล้อมทางสังคมที่ทำาให้เกิดการใช้ ยาและสารเสพติด ก. ชอบทดลองสิ่งแปลกใหม่ ข. การถูกบุคคลอื่นชักชวน ค. มีความเชื่อในการใช้ยาในทางที่ผิด ง. ใกล้ชิดกับแหล่งที่มีการ ค้าสารเสพติด ๑๔. ข้อใดคือการป้องกันตนเองจากสารเสพติดที่สำาคัญทีส ุด ่ ก. ไม่หลงคำาชวนเชื่อ ข. ไม่ทานยาโดยไม่ปรึกษาแพทย์ ค. ไม่ทดลองเสพยาทุกชนิด ง. ทำากิจกรรมตามเพื่อน ๑๕. บุคคลในข้อใดต่อไปนี้ ทีต้องช่วยกันป้องกันสารเสพติด ่ ก. พ่อแม่พี่น้อง ข. เพื่อน ครูอาจารย์ ค. ตัวเราเอง ง. ถูกทุกข้อ ๑๖. ข้อใดไม่ใ ช่การป้องกันสารเสพติดที่ถูกต้อง ก. การดูแลร่างกายไม่ให้เจ็บป่วย และมองโลกในแง่ดี ข. ทำางานอดิเรกต่างๆ เช่น สะสมสิ่งของ ดูภาพยนตร์ ค. คอยดำาเนินชีวิตและใช้กิจวัตรประจำาวันอยู่กับเพื่อน ง. ปฏิบัติตามกฎระเบียบของครอบครัวและสังคมอย่างเคร่งครัด
  • 15. 128 ๑๗. แนวทางในการป้องกันสารเสพติดในข้อใดที่จะช่วยเสริมสร้างให้คนใน ชุมชนได้รับรู้และตระหนักถึงอันตรายเกี่ยวกับสารเสพติด ก. วิชุดา กินยาภายใต้การดูแลของแพทย์และเภสัชกร ข. เอกชัย ชวนเพื่อนในห้องมาร่วมเดินรณรงค์เพื่อให้เข้าใจถึง อันตรายของสารเสพติด ค. อรพินไม่หลงคำาเชิญชวนให้ทดลองยาทุกชนิด ง. พุธิพร ยึดมั่นในหลักศาสนา ๑๘. ข้อใดต่อไปนี้เป็นวิธีการป้องกันสารเสพติดโดยให้กฎหมายเข้ามามีส่วน ร่วม ก. ให้กำาลังใจและหาวิธีแก้ไขผู้ที่ติดสารเสพติด ข. จัดการประชุมเพื่อปราบปรามหมู่บ้านที่เป็นแหล่งผลิตสารเสพติด ค. ปฏิบัติตามบทบาทของตนเองให้ดีที่สุด ง. บอกบุคคลในครอบครัวให้ตระหนักถึงอันตรายของสารเสพติด ๑๙. การศึกษาสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันการระบาดของสาร เสพติด ยกเว้น ในข้อใด ก. จัดการศึกษาแบบบูรณาการในทุกรายวิชาเพื่อให้รู้ถึงผลกระทบของ สารเสพติด ข. จัดหน่วยงานในโรงเรียนเพื่อสอดส่องดูแลนักเรียนที่ใช้สารเสพติด ค. จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรเพื่อป้องกันการเสี่ยงต่อการติดสารเสพติด ของเด็กวัยรุ่น ง. ใช้กฎหมายเพื่อลงโทษสถานหนักกับนักเรียนที่ติดสารเสพติด ๒๐.“มาตรการแทรกแซง หรือสอดแทรก เป็นการจัดกิจกรรมที่ดำาเนินการกับผู้ ที่เริ่มมีปัญหาการใช้สารเสพติด เช่น เริ่มทดลองใช้สารเสพติด” จัดว่า เป็นการใช้มาตรการใดมาร่วมแก้ไขปัญหาสารเสพติด ก. มาตรการทางสังคม ข. มาตรการทางกฎหมาย ค. มาตรการทางการศึกษา ง. มาตรการทางสิ่งแวดล้อม เฉลยแบบทดสอบก่อ นเรีย น /หลัง เรีย นหน่ว ยที่ ๑๐ ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐. ง. ก. ข. ก. ง. ค. ก. ก. ก. ง. ๑๑. ๑๒. ๑๓. ๑๔. ๑๕. ๑๖. ๑๗. ๑๘. ๑๙. ๒๐. ก. ง. ง. ค. ง. ค. ข. ข. ง. ก. บัน ทึก หลัง การสอน ๑. ผลการสอน ……………………………. ……………………………………………………………………………. ………. ……………………………. ……………………………………………………………………………. ……….
  • 16. 129 ……………………………. ……………………………………………………………………………. ………. ……………………………. ……………………………………………………………………………. ………. ……………………………. ……………………………………………………………………………. ………. ……………………………. ……………………………………………………………………………. ………. ๒. ปัญ หา/อุป สรรค ……………………………. ……………………………………………………………………………. ………. ……………………………. ……………………………………………………………………………. ………. ……………………………. ……………………………………………………………………………. ………. ……………………………. ……………………………………………………………………………. ………. ……………………………. ……………………………………………………………………………. ………. ……………………………. ……………………………………………………………………………. ………. ๓. ข้อ เสนอแนะ/แนวทางแก้ไ ข ……………………………. ……………………………………………………………………………. ………. ……………………………. ……………………………………………………………………………. ………. ……………………………. ……………………………………………………………………………. ………. ……………………………. ……………………………………………………………………………. ………. ……………………………. ……………………………………………………………………………. ………. ……………………………. ……………………………………………………………………………. ……….
  • 17. 130 ลงชื่อ...............................................ครูผู้สอน (.............................. ................) วันที่.......เดือน..........................พ.ศ. ............ ๔. ข้อ เสนอแนะของหัว หน้า สถานศึก ษาหรือ ผู้ท ี่ไ ด้ร ับ มอบหมาย ……………………………. ……………………………………………………………………………. ………. ……………………………. ……………………………………………………………………………. ………. ……………………………. ……………………………………………………………………………. ………. ……………………………. ……………………………………………………………………………. ………. ……………………………. ……………………………………………………………………………. ………. ……………………………. ……………………………………………………………………………. ………. ลงชื่อ............................................................... (........................... ..................................)