SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
129


           การออกแบบหน่ว ยการเรีย นรู้ Backward
                         Design
          กลุ่ม สาระการเรีย นรู้ส ุข ศึก ษาและพลศึก ษา
วิช า สุข ศึก ษา ๕                               ชั้น
มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ ๕         เวลา ๒ ชั่ว โมง
หัว เรื่อ ง/Theme หน่ว ยการเรีย นรูท ี่ ๑๑
                                   ้         เฉีย ดเรื่อ งเสี่ย ง
๑. การกำา หนดเป้า หมายการเรีย นรู้
   ๑. พฤติกรรมเสี่ยงของวัยรุ่น
   ๒. ปัจจัยที่ก่อให้เกิดพฤติกรรมเสี่ยง
   ๓. การแข่งจักรยานยนต์บนท้องถนน
   ๔. การเข้าไปในแหล่งอบายมุขของวัยรุ่น
   ๕. ทักษะและวิธีป้องกันตนเองจากพฤติกรรม และสถานการณ์เสี่ยง
                          ภาพรวม (Big Idea)




๒.     มาตรฐานการเรีย นรู้ท เ ป็น เป้า หมาย
                             ี่
     มาตรฐาน พ ๕.๑    ป้องกันและหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงต่อ
              สุขภาพ อุบัติเหตุ การใช้ยา สารเสพติดและความรุนแรง
๓. ตัว ชี้ว ด : สิ่ง ที่ผ เ รีย นพึง รูแ ละปฏิบ ต ิไ ด้
            ั             ู้           ้        ั
   ๑. มีส่วนร่วมในการป้องกันความเสี่ยงต่อการใช้ยา การใช้สารเสพติด และ
ความรุนแรง เพื่อสุขภาพของตนเอง ครอบครัว และสังคม
   ๓. วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพหรือความรุนแรงของคนไทยและเสนอ
แนวทางป้องกัน
130

   ๔. วางแผน กำาหนดแนวทางลดอุบัติเหตุและสร้างเสริมความปลอดภัยใน
ชุมชน
   ๕. มีส่วนร่วมในการสร้างเสริมความปลอดภัยในชุมชน
   ๖. ใช้ทักษะการตัดสินใจแก้ปัญหาในสถานการณ์ที่เสี่ยงต่อสุขภาพและ
ความรุนแรง
๔. เป้า หมายการเรีย นรู้
   ๑. ความเข้า ใจที่ค งทน
      ๑) จัดกิจกรรมป้องกันความเสี่ยงต่อการใช้สารเสพติด และความรุนแรง
      ๒) วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลร้ายต่อสุขภาพของคนไทยและหาทางป้องกัน
ได้ถูกต้อง
      ๓) วางแผน กำาหนดแนวทางลดอุบัติเหตุ และสร้างเสริมความปลอดภัย
ในชุมชน รวมทั้งจัดกิจกรรม          การสร้างเสริมความปลอดภัยในชุมชน
      ๔) สร้างทักษะในการตัดสินใจแก้ปัญหาในสถานการณ์ที่เสี่ยงต่อ
สุขภาพ
   ๒. จิต พิส ัย
      ๑) ตระหนักถึงการจัดกิจกรรมป้องกันความเสี่ยงต่อการใช้สารเสพติด
และความรุนแรง
      ๒) รู้ปัจจัยที่มีผลร้ายต่อสุขภาพของคนไทยและหาทางป้องกันได้ถูก
ต้อง
      ๓) มีส่วนร่วมในวางแผน กำาหนดแนวทางลดอุบัติเหตุ และสร้างเสริม
ความปลอดภัยในชุมชน รวมทั้ง จัดกิจกรรมการสร้างเสริมความปลอดภัย
ในชุมชน
      ๔) มีทักษะในการตัดสินใจแก้ปัญหาในสถานการณ์ที่เสี่ยงต่อสุขภาพ
   ๓. สมรรถนะสำา คัญ ของผู้เ รีย น
      ๑) ความสามารถในการสื่อสาร
      ๒) ความสามารถในการคิด
      ๓) ความสามารถในการแก้ปัญหา
      ๔) ความสามารถในการใช้ทกษะชีวต ั     ิ
      ๕) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
   ๔. คุณ ลัก ษณะที่พ ึง ประสงค์
      ๑) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
      ๒) ซื่อสัตย์สุจริต
      ๓) มีวินัย
      ๔) ใฝ่เรียนรู้
      ๕) อยู่อย่างพอเพียง
      ๖) มุ่งมั่นในการทำางาน
      ๗)        รักความเป็นไทย
131

     ๘)มีจิตสาธารณะ
๕. ความรูแ ละทัก ษะเฉพาะวิช า
              ้
    ๑) อธิบายลักษณะพฤติกรรมเสี่ยงของวัยรุ่น
    ๒) ตระหนักถึงปัจจัยที่ก่อให้เกิดพฤติกรรมเสี่ยง
    ๓) ตระหนักถึงความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากการเข้าไปอยู่ในสถานการณ์
เสี่ยง
    ๔) นำา ความรู้ที่ ได้ ไปใช้ ป้ องกั นตนเองจากพฤติก รรมและสถานการณ์
เสี่ยงต่างๆ
๖. ทัก ษะคร่อ มวิช า
     ๑) ทักษะการฟัง การฟังครูอธิบาย และเพื่อน ๆ แสดงความคิดเห็นใน
     ชั้นเรียน
     ๒) ทักษะการอ่าน การอ่านเนื้อหาสาระหน่วยการเรียนรู้
     ๓) ทักษะการเขียน การเขียนรายงาน การทำาแบบฝึกหัด และการทำา
     รายงาน
     ๔) ทักษะการนำาเสนอ (การพูด) การนำาเสนอเนื้อหาของสารเสพติด
     ๕) ทักษะการทำางานกลุ่ม ระดมความคิดในการทำางานกลุ่ม
     ๖) การสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ การเขียนผังความคิด (Mind
     Mapping)
132


                  แผนการจัด การเรีย นรู้ท ี่ ๑๑
วิช า สุข ศึก ษา ๒
ชั้น มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ ๒
หน่ว ยการเรีย นรู้ท ี่ ๑๑ เรื่อ ง เฉีย ดเรื่อ งเสี่ย ง
                        เวลา ๒ ชั่ว โมง
๑. เป้า หมายการเรีย นรู้
   ๑. จัดกิจกรรมป้องกันความเสี่ยงต่อการใช้สารเสพติด และความรุนแรง
   ๒.วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลร้ายต่อสุขภาพของคนไทยและหาทางป้องกันได้
ถูกต้อง
   ๓.วางแผน กำาหนดแนวทางลดอุบัติเหตุ และสร้างเสริมความปลอดภัยใน
ชุมชน รวมทั้งจัดกิจกรรม              การสร้างเสริมความปลอดภัยในชุมชน
   ๔. สร้างทักษะในการตัดสินใจแก้ปัญหาในสถานการณ์ที่เสี่ยงต่อสุขภาพ
๒. สาระสำา คัญ
      วัยรุ่นเป็นช่วงที่เด็กกำาลังจะก้าวผ่านไปสู่วัยผู้ใหญ่ เป็นวัยที่เกิดความ
เปลี่ยนแปลงในตัวเองมาก ประกอบกับการกระตุ้นจากสภาพแวดล้อม
ภายนอก จึงทำาให้เด็กวัยนี้มีความอยากรู้ อยากลอง มีความคึกคะนอง และ
ความเชื่อมั่นในความคิดตัวเองค่อนข้างสูง ดังนั้น จึงเป็นวัยที่มักจะเกิด
พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพได้ง่าย รวมไปถึงสภาพสังคมปัจจุบัน ทำาให้วยรุน        ั ่
มักถูกชักจูงเข้าสูสถานการณ์เสียงรอบตัวได้ ดังนันหากนักเรียนรูเท่าทัน
                  ่               ่                 ้              ้
พฤติกรรมของตน รวมไปถึงความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากการมีพฤติกรรมและ
การเข้าไปอยู่ในสถานการณ์เสี่ยง จะทำาให้นักเรียนสามารถหลีกเลี่ยงผลเสีย
ที่อาจเกิดขึ้นตามมา รวมไปถึงสามารถรักษาสุขภาพและคุณภาพชีวิตให้ดีได้
๓. มาตรฐานและตัว ชีว ัด
                   ้
   มาตรฐาน พ ๕.๑      ป้องกันและหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงต่อ
            สุขภาพ อุบัติเหตุ การใช้ยา สารเสพติดและความรุนแรง
   ตัว ชี้ว ด : สิ่ง ที่ผ ู้เ รีย นพึง รู้แ ละปฏิบ ัต ไ ด้
            ั                                         ิ
   ๑. มีส่วนร่วมในการป้องกันความเสี่ยงต่อการใช้ยา การใช้สารเสพติด
และความรุนแรง เพื่อสุขภาพของตนเอง ครอบครัวและสังคม
   ๓. วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพหรือความรุนแรงของคนไทยและเสนอ
แนวทางป้องกัน
   ๔. วางแผน กำาหนดแนวทางลดอุบัติเหตุและสร้างเสริมความปลอดภัยใน
ชุมชน
   ๕. มีส่วนร่วมในการสร้างเสริมความปลอดภัยในชุมชน
133

  ๖. ใช้ทักษะการตัดสินใจแก้ปัญหาในสถานการณ์ที่เสี่ยงต่อสุขภาพและ
ความรุนแรง
134

๔. สาระการเรีย นรู้
   ๑. พฤติกรรมเสี่ยงของวัยรุ่น
   ๒. ปัจจัยที่ก่อให้เกิดพฤติกรรมเสี่ยง
   ๓. การแข่งจักรยานยนต์บนท้องถนน
   ๔. การเข้าไปในแหล่งอบายมุขของวัยรุ่น
   ๕. ทักษะและวิธีป้องกันตนเองจากพฤติกรรม และสถานการณ์เสี่ยง
๕.  กิจ กรรมฝึก ทัก ษะที่ค วรเพิ่ม ให้น ัก เรีย น
  K (Knowledge)             P (Practice)                 A (Attitude)
 ความรู้ ความเข้า ใจ       การฝึก ปฏิบ ต ิั          คุณ ลัก ษณะอัน พึง
                                                              ประสงค์
 ๑.อธิบายลักษณะ          ๑. จัดกิจกรรมป้องกัน       ๑. รักชาติ ศาสน์
   พฤติกรรมเสี่ยงของ        ความเสี่ยงต่อการ        กษัตริย์
   วัยรุ่น                  ใช้สารเสพติด และ        ๒.ซื่อสัตย์สุจริต
 ๒.ตระหนักถึงปัจจัยที่      ความรุนแรง              ๓.มีวินัย
   ก่อให้เกิดพฤติกรรม ๒. วิเคราะห์ปัจจัยที่มี       ๔.ใฝ่เรียนรู้
   เสี่ยง                   ผลร้ายต่อสุขภาพ         ๕.อยู่อย่างพอเพียง
 ๓.ตระหนักถึงความ           ของคนไทยและหา           ๖. มุ่งมั่นในการทำางาน
   เสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น     ทางป้องกันได้ถูก        ๗.              รักความ
   จากการเข้าไปอยู่ใน       ต้อง                    เป็นไทย
   สถานการณ์เสี่ยง       ๓. วางแผน กำาหนด           ๘.มีจิตสาธารณะ
 ๔.นำาความรู้ที่ได้ไปใช้    แนวทาง       ลด
   ป้องกันตนเองจาก          อุบัติเหตุ และสร้าง
   พฤติกรรมและ              เสริมความปลอดภัย
   สถานการณ์เสี่ยง          ในชุมชน รวมทังจัด
                                            ้
   ต่างๆ                    กิจกรรมการสร้าง
                            เสริม ความปลอดภัย
                            ในชุมชน
                         ๔. สร้างทักษะในการ
                            ตัดสินใจแก้ปัญหา
                            ในสถานการณ์ที่
                            เสี่ยงต่อสุขภาพ
๖.       การวัด และประเมิน ผล
     ๑. เครื่อ งมือ วัด และประเมิน ผล
        ๑) แบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน
        ๒) แบบฝึกหัด
        ๓) ใบงาน
        ๔) แบบประเมินพฤติกรรมการทำางานกลุ่ม
        ๕) แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
135

        ๖) แบบสังเกตสมรรถนะของผู้เรียน
        ๗)      แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
     ๒. วิธ ว ด ผล
            ี ั
        ๑) ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน
        ๒) ตรวจแบบฝึกหัด
        ๓) ตรวจใบงาน
        ๔) สังเกตพฤติกรรมการทำางานกลุ่ม
        ๕) สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
        ๖) สังเกตสมรรถนะของผู้เรียน
        ๗)      สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
     ๓. เกณฑ์ก ารวัด และประเมิน ผล
        ๑) สำาหรับชัวโมงแรกทีใช้แบบทดสอบก่อนเรียนไม่มเกณฑ์ผาน เก็บ
                     ่       ่                       ี      ่
คะแนนไว้เปรียบเทียบกับคะแนนที่ได้จากการทดสอบหลังเรียน
        ๒) การประเมินผลจากแบบฝึกหัด ต้องผ่านเกณฑ์การทดสอบเกินร้อยละ
๕๐
        ๓) การประเมินผลจากแบบตรวจใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน
เรื่องความรู้ความเข้าใจ การนำาไปใช้ทักษะ และจิตพิสัย ทุกช่องเกินร้อยละ
๕๐
        ๔) การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทำางานกลุม ต้องผ่าน
                                                         ่
เกณฑ์การประเมิน คือ เกินร้อยละ ๕๐
        ๕) การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล เกณฑ์ผ่านการ
ประเมิน ต้องไม่มีช่องปรับปรุง
        ๖) การประเมินผลการสังเกตสมรรถนะของผู้เรียน คะแนนขึ้นอยู่กับการ
ประเมินตามสภาพจริง
        ๗)      การประเมินผลการสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน
คะแนนขึ้นอยู่กับการประเมิน          ตามสภาพจริง
๗. หลัก ฐาน/ผลงาน
  ๑. ผลการทำาแบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน และแบบฝึกหัด
  ๒. ผลการทำาใบงาน
๘.      กิจ กรรมการเรีย นรู้
     ชัว โมงที่ ๑-๒
       ่
   ขัน นำา เข้า สู่บ ทเรีย น
     ้
   1. นักเรียนและครูสนทนากันถึงช่วงวัยรุ่นถือเป็นช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อที่เด็ก
ต้องก้าวจากความเป็นเด็กไปเป็นผู้ใหญ่ ดังนั้นหากเด็กไม่สามารถรับมือ
จัดการกับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นได้อย่างถูกต้อง จะส่งผลให้เด็ก
136

มีพฤติกรรมเสี่ยง หรือตกอยู่ในสถานการณ์เสี่ยงต่างๆได้ หากเด็กเลือกทาง
เดินที่ผิด อาจทำาให้เด็กมีวิถีการดำาเนินชีวิตในอนาคตที่ไม่เหมาะสมได้
   2. นักเรียนยกตัวอย่างพฤติกรรมเสี่ยงที่พบได้บ่อยในวัยรุ่น เช่น ทะเลาะ
วิวาท ไม่กินผัก การอดอาหาร              การมีเพศสัมพันธ์ขณะมึนเมา การสูบ
บุหรี่ ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ภาวะซึมเศร้า เป็นต้น
   3. นักเรียนทำาแบบทดสอบก่อนเรียน
    ขัน สอน
      ้
    4. ครูใช้เทคนิครูปแบบการเรียนแบบ LT (Learning Together) เรื่อง
พฤติกรรมเสี่ยงของวัยรุ่น ปัจจัยที่ก่อให้เกิดพฤติกรรมเสี่ยง และการแข่ง
จักรยานยนต์บนท้องถนน โดยใช้สื่อวีดิทัศน์ แผ่นใส และรูปภาพประกอบ
การเรียนการสอน เพื่อสื่อความหมายให้นักเรียนเข้าใจได้ง่ายขึ้น
    5. นักเรียนหาข่าวสารจากสื่อสิ่งพิมพ์เกี่ยวกับพฤติกรรมเสี่ยงของวัยรุ่นมา
คนละ ๑ ข่าว แล้วสรุปสาระสำาคัญของข่าว (ห้ามซำ้ากัน)
    6. ครูใช้เทคนิควิธีการสอนแบบร่วมมือ โดยใช้กระบวนการกลุ่มเน้นให้ผู้
เรียนมีส่วนร่วมในกระบวนการอย่างแท้จริง เน้นการแลกเปลี่ยนความรู้
ประสบการณ์ซึ่งกันและกันจนเกิดความคิดรวบยอด แล้วจัดกลุ่มผู้เรียนออก
เป็นกลุ่มละ ๔-๕ คน หัวข้อที่ศึกษา ได้แก่ พฤติกรรมเสี่ยงของวัยรุ่น ปัจจัยที่
ก่อให้เกิดพฤติกรรมเสี่ยง และการแข่งจักรยานยนต์บนท้องถนน
    7. ใช้กิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำาคัญ (CIPPA)
          C = Construction คือ การให้ผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยตนเอง โดย
กระบวนการแสวงหาข้อมูล ทำาความเข้าใจ คิดวิเคราะห์ ตีความ แปลความ
สร้างความหมาย วิเคราะห์ข้อมูล
          I = Interaction คือ การให้ผู้เรียนปฏิสัมพันธ์ต่อกัน เรียนรู้จากกัน
แลกเปลี่ยนข้อมูล ความคิด และประสบการณ์แก่กันและกัน
          P = Participation คือ การให้ผู้เรียนมีบทบาท/ส่วนร่วมในการเรียน
รู้มากที่สุด
          P = Process/Product คือ การให้ผู้เรียนได้รู้กระบวนการควบคู่ไป
กับผลงาน/ข้อความรู้ที่สรุปได้
          A = Application คือ การให้ผู้เรียนนำาความรู้ไปใช้ให้เป็นประโยชน์
ในชีวตประจำาวัน
        ิ
                 กิจ กรรมการเรีย นรู้                 C   I    P    P   A
๑. สนทนาทบทวนเรื่องสถานการณ์เสี่ยงเพื่อการเรียน
   รู้
๒. ร่วมกันสนทนาถึงคน สถาบัน วัฒนธรรมและองค์
   ความรู้ แล้วร่วมกันสรุป
๓. นำาเสนอตัวอย่างศูนย์แห่งการเรียนรู้หน้าชั้นเรียน
   และทำาป้ายนิเทศ
๔. ทุกกลุ่มออกไปสำารวจข้อมูลข้างต้นตามแหล่งการ
137

   เรียนรู้
๕. ทุกกลุ่มเสนอโครงงานเพื่อการเรียนรู้ในแนวคิด
   ของตนเอง
๖. ทุกกลุ่มดำาเนินงานตามโครงงานที่นำาเสนอ โดยใช้
   เวลาว่างจากการเรียนหรือวันหยุดในการดำาเนิน
   การ
๗.     เมือดำาเนินการตามโครงงานสำาเร็จเรียบร้อย
            ่
   แล้ว ทุกกลุ่มนำาเสนอผลการดำาเนินการหน้าชั้น
   เรียน และจัดทำารายงานผลการดำาเนินโครงงาน
๘.แต่ละคนเลือกนำาองค์ความรู้ที่ได้รับจากการศึกษาดู
   งานมาจัดทำารายงาน      คนละ ๑ เรื่อง
    8. ครูอธิบายการสร้างภูมิคุ้มกันในตัวเองที่ดีเรื่องการป้องกันตนเองใน
สถานการณ์เสี่ยง ซึงวัยรุ่นเป็นวัยที่เริ่มมีความรู้สึกทางเพศ มีความสนใจเพศ
                       ่
ตรงข้ามและแสดงออกทางเพศ ซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากทั้งภายในร่างกาย
ได้แก่ ฮอร์โมนเพศ และอิทธิพลภายนอกหรือสภาพแวดล้อม ได้แก่ เพื่อน
ครอบครัว สังคมและวัฒนธรรม ซึ่งสังคม                 ที่เปลี่ยนไปได้ชักนำาให้วัย
รุ่นมีพฤติกรรมทางเพศที่ไม่เหมาะสม และทำาให้เกิดปัญหาต่างๆ ได้แก่ โรค
ติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เช่น โรคเอดส์ กามโรค โรคตับอักเสบจากไวรัสชนิดบี
และซี เป็นต้น การตั้งครรภ์ที่ไม่ตั้งใจเกิดปัญหากับครอบครัวที่ไม่ยอมรับหาก
วัยรุ่นมีเพศสัมพันธ์โดยเฉพาะวัยรุ่นหญิง ดังนั้น วัยรุ่นจึงควรเรียนรู้ถึงปัจจัย
และสถานการณ์เสี่ยงต่อการมีเพศสัมพันธ์ เพื่อหลีกเลี่ยงจากปัจจัยดังกล่าว
    9. ครูอธิบายอุบัติเหตุเป็นสาเหตุที่ทำาให้เกิดการบาดเจ็บหรือสูญเสียชีวิต
และทรัพย์สินได้ในพริบตาเดียว            ซึ่งสามารถป้องกันได้ ถ้านักเรียนคิดถึง
ความปลอดภัยเสมอ เหมือนคำาว่า “คิดถึงความปลอดภัยไว้ก่อน”
    10.         ครูนำาตัวอย่างคำาพิพากษา เพือเตือนเด็กแว๊นซ์และกองเชียร์ใน
                                             ่
การแข่งรถทังหลาย เนื่องจากปัจจุบันนี้มีบรรดาเด็กแว๊นซ์ และกองเชียร์
              ้
จำานวนมากแข่งขันรถยนต์ หรือมอเตอร์ไซค์บนถนนโดยไม่เกรงกลัวอันตราย
ก่อความเดือดร้อนรำาคาญใจแก่ผู้ใช้รถใช้ถนนอื่นๆ ให้จำาไว้ว่ามีมาตรการ
บังคับใช้กฎหมายที่รุนแรง โดยไม่มีการรอลงอาญา ซึ่งบรรดากองเชียร์ต่างๆ
ก็มีความผิดฐานเป็นผู้สนับสนุนการกระทำาความผิดด้วย ดังคำาพิพากษาดังนี้
โดยจำาเลยที่ ๑, ๒, ๓, ๔, ๖ และ ๗ ได้บังอาจแข่งรถบนถนนสาธารณะที่
ถนนพระราม ๖ จากแยกโรงกรองนำ้า มุ่งหน้าขึ้นทางด่วนพระราม ๖ โดยใช้
ระยะทางในการแข่งรถประมาณ ๘๐๐ เมตร โดยไม่ได้รับอนุญาตเป็นหนังสือ
จากเจ้าพนักงานจราจร และจำาเลยที่ ๕, ๘-๑๔๐ ได้บงอาจเป็นผูสนับสนุนการ
                                                         ั        ้
แข่งรถจักรยานยนต์ของจำาเลยกลุมแรก โดยนังซ้อนท้าย รถจักรยานยนต์ตาม
                                    ่           ่
หลังกลุ่มที่แข่งรถ และคอยปิดกั้นถนนไม่ให้รถอื่นแล่นผ่านไปผ่านมาโดย
สะดวก ทั้งนี้เพื่อความสะดวกในการแข่งรถจักรยานยนต์และการเชียร์จำาเลย
ในการแข่งรถ โดยจำาเลยไม่ได้รับอนุญาตในการแข่งจากเจ้าพนักงานจราจร
138

เจ้าหน้าที่ตำารวจสามารถจับกุมจำาเลยทั้ง ๑๔๐ คน ได้พร้อมรถจักรยานยนต์ที่
ใช้ในการกระทำาความผิด ในชั้นสอบสวนจำาเลยให้การรับสารภาพ ขอให้
ลงโทษตาม พรบ.การจราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ มาตรา ๑๓๔ , ๑๖๐ ทวิ
และ พรบ.การจราจรทางบก พ.ศ.๒๕๓๕ มาตรา ๑๖, ๓๑ ประกอบประมวล
กฎหมายอาญา มาตรา ๓๓, ๘๓
     11.      นักเรียนปฏิบตกจกรรม ดังนี้
                          ั ิ ิ
       ๑) แบ่งนักเรียนออกเป็น ๔ กลุ่ม โดยให้แต่ละกลุ่มระดมความคิด สร้าง
สถานการณ์จำาลองที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น แล้วจัดเตรียมการ
แสดงบทบาทสมมติในสถานการณ์ดังกล่าวประมาณกลุ่มละ ๑๐–๑๕ นาที
โดยมีหัวข้อดังต่อไปนี้
          • พฤติกรรมการใช้สารเสพติด
          • พฤติกรรมการเข้าไปอยู่ในแหล่งอบายมุข
          • พฤติกรรมการแข่งจักรยานยนต์
          • พฤติกรรมการทะเลาะวิวาท
       ๒) นักเรียนออกแบบโปสเตอร์รณรงค์เกี่ยวกับพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
       ๓) นักเรียนหาข่าวสารจากในหนังสือพิมพ์ วารสาร นิตยสารที่มีหัวข้อ
เกี่ยวกับพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น พร้อมทั้งวิเคราะห์สาเหตุ ผลกระทบที่เกิดขึ้น
และเสนอแนวทางในการป้องกันแก้ไข
       ๔) นักเรียนออกแบบสำารวจพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น พร้อมทั้งสำารวจใน
ชุมชนของนักเรียนในประเด็นเกี่ยวกับแหล่งอบายมุข ปัจจัยเสี่ยง
สถานการณ์เสี่ยงในชุมชนที่ทำาให้เกิดพฤติกรรมเสี่ยงของวัยรุ่น
    12 นักเรียนทำาใบงานที่ ๑๑.๑ และ ๑๑.๒
    ขัน สรุป และประยุก ต์
       ้
    13.         นักเรียนและครูร่วมกันสรุปพฤติกรรมเสี่ยงของวัยรุ่น ปัจจัยที่ก่อ
ให้เกิดพฤติกรรมเสี่ยง และการแข่งจักรยานยนต์บนท้องถนน โดยการถาม
และตอบตามรูปภาพและวีดิทัศน์
    14.         ครูเน้นให้นักเรียนมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ได้แก่ การเอาใจ
ใส่ ตั้งใจ และมุ่งมั่นปฏิบัติหน้าที่ตามบทบาทของตนอย่างเต็มความสามารถ
ทั้งนี้เพื่อให้งานบรรลุผลตามเป้าหมายตรงตามระยะเวลาที่กำาหนด และ
มีความอดทน ได้แก่ การมีจิตใจหนักแน่น เยือกเย็น ไม่หุนหันพลันแล่น
สามารถควบคุมอารมณ์ และพฤติกรรมให้เป็นปกติ เมื่อต้องเผชิญกับปัญหา
หรือสิ่งที่ไม่พึงพอใจ
    15.         นักเรียนทำาแบบฝึกหัดท้ายหน่วยการเรียนรู้

  ชัว โมงที่ ๓-๔
    ่
139

    ขัน นำา เข้า สู่บ ทเรีย น
      ้
    16.         ครูพูดคุยกับนักเรียนโดยกล่าวถึงในปัจจุบันแหล่งอบายมุขไม่ได้
อยู่ไกลตัวเด็กวัยรุ่น และไม่ได้มีเพียงแค่ผับหรือบาร์เท่านั้นที่ขายเครื่องดื่ม
แอลกอฮอล์ ในร้านเหล้าปั่น ร้านคาราโอเกะ แม้แต่ร้านขายของชำา ก็มีเครื่อง
ดื่ม      มึนเมาจำาหน่ายเช่นกัน จากการสำารวจของทีมสำารวจสภาพแวดล้อม
รอบสถานศึกษาทีมอมเมา ยัวยุเด็กนักเรียนเยาวชนในรัศมี ๕๐๐ เมตรใน
                     ่        ่
โรงเรียน ๕๐ แห่ง เขต กทม.
    17.         อิทธิพลของเพื่อน เพื่อนเป็นคนสำาคัญของเราก็จริงอยู่ แต่ถ้า
เพื่อนมีอิทธิพลต่อเราในทางที่ไม่ดี พาไป         เสียผู้เสียคน ในฐานะที่เราเป็น
เพื่อนก็ต้องให้สติด้วยการตักเตือน และปฏิเสธไม่ทำาตามและชักจูงให้เขาได้
ใช้ชีวต ที่ถูกต้องและดีงาม แต่ถ้าหากเป็นเรื่องที่ยุ่งยากเกินไป ก็คงต้องเลิก
        ิ
คบเสียดีกว่า ถือคติที่ว่า “มีเพื่อนดีเพียงหนึ่ง      ถึงจะต้องดีกว่าเพื่อนร้อย
เพื่อนเลว”
    ขัน สอน
      ้
    18.         ครูอธิบายการเข้าไปในแหล่งอบายมุขของวัยรุ่น ทักษะและวิธี
ป้องกันตนเองจากพฤติกรรม และสถานการณ์เสี่ยงโดยใช้สื่อวีดิทัศน์ แผ่นใส
และรูปภาพประกอบ
    19.         ครูใช้เทคนิคการสอนโดยการสัมมนา (Seminar) เป็นการ
ประชุมเพื่อร่วมการศึกษาและค้นคว้าเรื่องใด เรื่องหนึ่งที่ได้เตรียมการไว้
ล่วงหน้า ภายใต้การแนะนำาของผู้เชี่ยวชาญ โดยเชิญผู้เกี่ยวข้องจากหลาย
ฝ่ายมาร่วมกันแสดงความคิดเห็น และสรุปผลการสัมมนา เพื่อเป็นแนวทางใน
การปฏิบัติต่อไป
    20.         นักเรียนและครูจัดทำาโครงการโดยเชิญวิทยากรที่มีความรู้ความ
สามารถเพื่อบรรยายเนื้อหาเกี่ยวกับเรื่อง การเข้าไปในแหล่งอบายมุขของวัย
รุ่น ทักษะและวิธีป้องกันตนเองจากพฤติกรรม และสถานการณ์เสี่ยง โดยครู
และนักเรียนช่วยกันคิดหาหัวข้อสัมมนา
    21.         ครูนำาหลักธรรมและข้อปฏิบัติตามพุทธวิธีมาสอนนักเรียน ลำาดับ
แรก โดยไม่ข้องแวะอบายมุข ๖ ไม่เสพของมึนเมา ไม่เที่ยวเตร่ตามสถานที่ไม่
ควร ไม่หมกมุ่นในสิ่งบันเทิงเริงรมย์ ไม่เล่นการพนัน ไม่คบคนชั่วเป็นมิตร
และไม่เกียจคร้าน และต้องรู้จักการครองเรือน เช่น รู้หลักครองเรือน ให้ทาน
= ให้เป็นการสงเคราะห์ ลดความตระหนี่ ถือศีล = ทำาให้กาย วาจาใจ
บริสุทธิ์ และปฏิบัติ = เป็นเครื่องเจริญสติปัญญา และสุดท้ายคือ การจัดระบบ
เศรษฐกิจในครัวเรือนตามพุทธวิธี ได้แก่
        ส่วนที่ ๑      เลี้ยงครอบครัวให้เป็นสุข ไม่อดอยาก
        ส่วนที่ ๒, ๓ ใช้เป็นเครื่องมือประกอบอาชีพธุรกิจ
        ส่วนที่ ๔ สำารองไว้ใช้ยามอันตราย
140

  22.    นักเรียนทำากิจกรรมใบงานที่ ๑๑.๓ และ ๑๑.๔ และแนะนำา
    สถานบำาบัดยาเสพติด
    ขัน สรุป
      ้
    23.         นักเรียนและครูร่วมกันสรุปวิธีการบำาบัดรักษา ปัจจัยช่วยเหลือ
ฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติด และแหล่งช่วยเหลือและฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติด โดยการ
ถาม-ตอบ และให้ทำาแบบทดสอบหลังเรียน
    24.         ครูเน้นให้นักเรียนรู้จักการประหยัดและอดออม ได้แก่ การรู้จัก
ใช้จ่ายตามความจำาเป็นอย่างคุ้มค่า และเกิดประโยชน์สูงสุด ไม่ฟุ้งเฟ้อ
ฟุ่มเฟือย รู้จักเก็บออมเอาไว้ใช้เมื่อยามจำาเป็น ใช้ชีวตให้เหมาะสมกับฐานะ
                                                      ิ
ความเป็นอยู่ของตน และเป็นคนมีนำ้าใจเป็นนักกีฬา ได้แก่ การมีจิตใจเปิด
เผย รู้จักรู้แพ้รู้ชนะ และให้อภัยกันและกัน ทำางาน        ในลักษณะช่วยเหลือ
เกื้อกูลกัน ไม่แข่งขันหรือแก่งแย่งชิงดีกัน
    25.         ครูเพิ่มเติมว่าปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไม่ใช่เรื่องยากเลย
เพียงรู้หลักคิดง่ายไม่กี่ข้อแล้วนำาไปปฏิบัติ ก็เรียกว่าได้ยึดหลักเศรษฐกิจ
พอเพียงตามแนวทางของพระเจ้าอยู่หัวแล้ว เริ่มด้วยวิธีง่ายๆ ดังนี้
         ๑) ให้รู้จักคำาว่า “พอประมาณ” ความพอดี ไม่น้อยเกินไป ไม่มากเกิน
ไป โดยไม่เบียดเบียนตนเอง และผู้อื่น เช่น ซื้อโทรศัพท์มือถือ ๑ เครื่องก็
พอแล้ว
         ๒) มีเหตุผล ตัดสินใจอย่างมีเหตุผล คำานึงถึงผลที่จะเกิดขึ้นจากการก
ระทำา เช่น ไม่เที่ยวเตร่เดี๋ยวเงินหมด ไม่ตั้งใจเรียนหนังสือเดี๋ยวสอบตก
         ๓) มีภูมิคุ้มกัน เตรียมพร้อมรับผลกระทบโดยคำานึงถึงความเป็นไปได้
ของสถานการณ์ในอนาคต เช่น ช่วงนี้ฝนตกบ่อย ต้องเตรียมเสื้อฝน
เศรษฐกิจไม่ดี ต้องรู้จักประหยัด อดออม ไข้หวัดสายพันธุ์ใหม่กำาลังระบาด
ต้องรู้จักดูแลสุขภาพ แต่มีเงื่อนไขว่าความรู้ คือ รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง
คุณธรรม คือ ซื่อสัตย์สุจริต ขยันอดทน แบ่งปัน “เพียงแค่นี้ก็..พอเพียงแล้ว”
141

๙.สื่อ /แหล่ง การเรีย นรู้
  1. หนังสือเรียนรายวิชาพืนฐาน สุขศึกษา ๕ ชันมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ของบริษท
                             ้              ้                         ั
      สำานักพิมพ์เอมพันธ์ จำากัด
  2. หนังสือเสริมฝึกประสบการณ์ สุขศึกษา ๕ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ของ
      บริษัท สำานักพิมพ์เอมพันธ์ จำากัด
  3. วีดิทัศน์ แผ่นใส และรูปภาพประกอบ
  4. ข่าวสาร สื่อสิ่งพิมพ์
๑๐. การบูร ณาการ
   ๑. การบูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ได้แก่ ทักษะการเขียน
ทักษะการพูด ทักษะการฟัง และทักษะการอ่าน
   ๒. การบูรณาการกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
   ๓. คุณธรรม จริยธรรม และศีลธรรม
   ๔. หน้าที่พลเมืองดี
142

            แบบทดสอบก่อ นเรีย น /หลัง เรีย นหน่ว ยที่ ๑๑
คำา ชี้แ จง จงเขียนเครื่องหมาย  ทับข้อที่นักเรียนคิดว่าถูกต้องที่สุด
๑. ข้อใดไม่ใ ช่พฤติกรรมเสี่ยงของวัยรุ่น
       ก. การมีเพศสัมพันธ์                              ข. การปล้นชิงทรัพย์
       ค. การทะเลาะวิวาท                                ง. การฆ่าตัวตาย
๒.ปัจ จัย ใดที่เ ป็น ปั จ จั ย สำา คั ญ ที่ นำา ไปสู่ พ ฤติ ก รรมการแข่ ง รถจั ก รยานยนต์
ของวัยรุ่น
       ก. การขาดความรู้                                 ข. สื่อมวลชน
       ค. ความคึกคะนอง                                  ง. ปัญหาครอบครัว
๓. สื่อออนไลน์เป็นปัจจัยที่ส่งผลทำา ให้เกิดพฤติกรรมเสี่ยงของวัยรุ่น ยก เว้น
พฤติกรรมใด
       ก. ค่านิยมเรื่องฟรีเซ็กซ์
       ข. การใช้สารเสพติด
       ค. การใช้ความรุนแรง
       ง. การแข่งรถจักรยานยนต์
๔. ข้อใดเป็นผลกระทบที่เกิดจากการเข้าไปร่วมการแข่งขันจักรยานยนต์บน
ท้องถนนของวัยรุ่นมากที่ส ุด
       ก. ค่าใช้จ่าย                                    ข. บาดเจ็บ พิการ
       ค. ใช้สารเสพติด                                  ง. มีเพศสัมพันธ์
๕. ข้อใดเป็นแหล่งอบายมุขของวัยรุ่นที่นิยมเข้าไปใช้บริการน้อ ยที่ส ุด
       ก. ร้านเกมอินเทอร์เน็ต                           ข. แหล่งการพนัน
       ค. อาบ อบ นวด                                    ง. ผับหรือบาร์
๖. นักเรียนยกพวกตีกันจัดว่าเป็นการใช้ความรุนแรงหรือไม่ เพราะเหตุใด
       ก. เป็น เพราะมีการทำาร้ายร่างกายกัน
       ข. เป็น เพราะทำาให้สังคมเดือดร้อน
       ค. ไม่เป็น เพราะเป็นการกระทำาของคนหมู่มาก
       ง. ไม่เป็น เพราะเป็นเรื่องธรรมดาของวัยรุ่นสมัยนี้
๗.เหตุการณ์ใดต่อไปนี้ไ ม่ใ ช่ความรุนแรงที่เกิดขึ้นในช่วงวัยรุ่น
       ก. การหย่าร้าง
       ข. การทะเลาะวิวาท
       ค. การถูกล่วงเกินทางเพศ
       ง. การใช้ภาษาพูดที่หยาบคาย


๘. บุคคลใดเสี่ยงต่อการใช้สารเสพติดมากที่ส ด
                                          ุ
143

       ก. อั้มขาดทักษะในการปฏิเสธ
       ข. เอิร์ธอยู่ในกลุ่มเพื่อนที่สูบบุหรี่
       ค. เอสเครียดจากการเรียน
       ง. วินเป็นบุคคลที่มีความอยากรู้อยากลอง
๙. แนวทางป้องกันมิให้ตนเองใช้สารเสพติดวิธีใดได้ผลดีท ส ุด
                                                        ี่
       ก. มีทักษะในการดำาเนินชีวิต
       ข. มีทักษะปฏิเสธ
       ค. ไม่ยุ่งเกี่ยวกับสารเสพติดเลย
       ง. รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
๑๐. การปฏิบัติของบุคคลใดไม่ใ ช่การป้องกันไม่ให้เกิดความรุนแรง
       ก. ต้นเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอลในงานกีฬาสีของโรงเรียน
       ข. เทนรวมกลุ่มกับเพื่อนไปเที่ยวสถานบันเทิง
       ค. แป๋มแจ้งให้ครูทราบเมื่อพบเหตุการณ์ที่จะเป็นปัญหาความรุนแรงใน
โรงเรียน
       ง. ดาวไปเข้าค่ายอบรมจริยธรรม

          เฉลยแบบทดสอบก่อ นเรีย น /หลัง เรีย นหน่ว ยที่ ๑๑
 ๑.     ๒.     ๓.      ๔.     ๕.         ๖.   ๗.   ๘.      ๙.    ๑๐.
 ข.     ค.     ง.      ข.     ค.         ก.   ก.   ง.      ค.    ข.




                         บัน ทึก หลัง การสอน
๑. ผลการสอน
   …………………………….
…………………………………………………………………………….
……….
144

   …………………………….
…………………………………………………………………………….
……….
   …………………………….
…………………………………………………………………………….
……….
   …………………………….
…………………………………………………………………………….
……….
   …………………………….
…………………………………………………………………………….
……….
   …………………………….
…………………………………………………………………………….
……….
๒. ปัญ หา/อุป สรรค
   …………………………….
…………………………………………………………………………….
……….
   …………………………….
…………………………………………………………………………….
……….
   …………………………….
…………………………………………………………………………….
……….
   …………………………….
…………………………………………………………………………….
……….
   …………………………….
…………………………………………………………………………….
……….
   …………………………….
…………………………………………………………………………….
……….
๓. ข้อ เสนอแนะ/แนวทางแก้ไ ข
   …………………………….
…………………………………………………………………………….
……….
   …………………………….
…………………………………………………………………………….
……….
   …………………………….
…………………………………………………………………………….
……….
   …………………………….
…………………………………………………………………………….
……….
   …………………………….
…………………………………………………………………………….
……….
145

 …………………………….
…………………………………………………………………………….
……….

                  ลงชื่อ...............................................ครูผู้สอน
                                                   (..............................
                                              ................)
                   วันที่.......เดือน..........................พ.ศ. ............
๔. ข้อ เสนอแนะของหัว หน้า สถานศึก ษาหรือ ผู้ท ี่ไ ด้ร ับ มอบหมาย
   …………………………….
…………………………………………………………………………….
……….
   …………………………….
…………………………………………………………………………….
……….
   …………………………….
…………………………………………………………………………….
……….
   …………………………….
…………………………………………………………………………….
……….
   …………………………….
…………………………………………………………………………….
……….
   …………………………….
…………………………………………………………………………….
……….

                      ลงชื่อ...............................................................
                                                               (...........................
                                                  ..................................)

More Related Content

What's hot

ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
หน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้หน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้nitirot
 
หนังสือสอบเพื่อนครู
หนังสือสอบเพื่อนครูหนังสือสอบเพื่อนครู
หนังสือสอบเพื่อนครูWatcharapon Donpakdee
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Nat Thida
 

What's hot (6)

ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...
 
หน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้หน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้
 
หนังสือสอบเพื่อนครู
หนังสือสอบเพื่อนครูหนังสือสอบเพื่อนครู
หนังสือสอบเพื่อนครู
 
09chap7
09chap709chap7
09chap7
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
งานนำเสนอ Sar
งานนำเสนอ Sarงานนำเสนอ Sar
งานนำเสนอ Sar
 

Similar to แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์

1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.11.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1Kruthai Kidsdee
 
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.44.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4Kruthai Kidsdee
 
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6Kruthai Kidsdee
 
แผนการเรียนรู้เกษตร5
แผนการเรียนรู้เกษตร5แผนการเรียนรู้เกษตร5
แผนการเรียนรู้เกษตร5juckit009
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10supap6259
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตรPat1803
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2supap6259
 
แผนสุขศึกษาม 6 10
แผนสุขศึกษาม 6 10แผนสุขศึกษาม 6 10
แผนสุขศึกษาม 6 10Kruthai Kidsdee
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9supap6259
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ05102500
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ05102500
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7supap6259
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพUmmara Kijruangsri
 
การเขียนข้อสอบและจัดทำคลังข้อสอบ
การเขียนข้อสอบและจัดทำคลังข้อสอบการเขียนข้อสอบและจัดทำคลังข้อสอบ
การเขียนข้อสอบและจัดทำคลังข้อสอบSriprapai Inchaithep
 
แผนการเรียนรู้งานช่าง 2
แผนการเรียนรู้งานช่าง 2แผนการเรียนรู้งานช่าง 2
แผนการเรียนรู้งานช่าง 2Utsani Yotwilai
 
แผนการเรียนรู้เกษตร2
แผนการเรียนรู้เกษตร2แผนการเรียนรู้เกษตร2
แผนการเรียนรู้เกษตร2juckit009
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2korakate
 
มาตรฐานสพฐ 15 ข้อ
มาตรฐานสพฐ 15 ข้อมาตรฐานสพฐ 15 ข้อ
มาตรฐานสพฐ 15 ข้อanuban bandek
 
หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5
หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5
หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5wichsitb
 

Similar to แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์ (20)

1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.11.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
 
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.44.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
 
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6
 
แผนการเรียนรู้เกษตร5
แผนการเรียนรู้เกษตร5แผนการเรียนรู้เกษตร5
แผนการเรียนรู้เกษตร5
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตร
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
 
แผนสุขศึกษาม 6 10
แผนสุขศึกษาม 6 10แผนสุขศึกษาม 6 10
แผนสุขศึกษาม 6 10
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพ
 
การเขียนข้อสอบและจัดทำคลังข้อสอบ
การเขียนข้อสอบและจัดทำคลังข้อสอบการเขียนข้อสอบและจัดทำคลังข้อสอบ
การเขียนข้อสอบและจัดทำคลังข้อสอบ
 
บทบาทบริหารกิจการนักเรียน
บทบาทบริหารกิจการนักเรียนบทบาทบริหารกิจการนักเรียน
บทบาทบริหารกิจการนักเรียน
 
แผนการเรียนรู้งานช่าง 2
แผนการเรียนรู้งานช่าง 2แผนการเรียนรู้งานช่าง 2
แผนการเรียนรู้งานช่าง 2
 
แผนการเรียนรู้เกษตร2
แผนการเรียนรู้เกษตร2แผนการเรียนรู้เกษตร2
แผนการเรียนรู้เกษตร2
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
 
มาตรฐานสพฐ 15 ข้อ
มาตรฐานสพฐ 15 ข้อมาตรฐานสพฐ 15 ข้อ
มาตรฐานสพฐ 15 ข้อ
 
หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5
หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5
หลักสูตรมาตรฐานสากลสุขศึกษาและพลศึกษา ม. 5
 

More from Kruthai Kidsdee

คู่มืออบรม Google sites
คู่มืออบรม  Google sitesคู่มืออบรม  Google sites
คู่มืออบรม Google sitesKruthai Kidsdee
 
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google doc
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google docคู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google doc
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google docKruthai Kidsdee
 
คู่มือการใช้งาน Google plus
คู่มือการใช้งาน Google plusคู่มือการใช้งาน Google plus
คู่มือการใช้งาน Google plusKruthai Kidsdee
 
คู่มือการใช้งาน Google drive
คู่มือการใช้งาน Google driveคู่มือการใช้งาน Google drive
คู่มือการใช้งาน Google driveKruthai Kidsdee
 
คู่มือการใช้งาน Google
คู่มือการใช้งาน  Googleคู่มือการใช้งาน  Google
คู่มือการใช้งาน GoogleKruthai Kidsdee
 
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sites
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sitesการสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sites
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sitesKruthai Kidsdee
 
การใช้งาน Google docs
การใช้งาน Google docsการใช้งาน Google docs
การใช้งาน Google docsKruthai Kidsdee
 
Final traininggoogleapps presentation2
Final traininggoogleapps presentation2Final traininggoogleapps presentation2
Final traininggoogleapps presentation2Kruthai Kidsdee
 
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.3230 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32Kruthai Kidsdee
 
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝัน
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝันแนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝัน
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝันKruthai Kidsdee
 
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015Kruthai Kidsdee
 
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015Kruthai Kidsdee
 
แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์ ทำไวนิล091
แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์  ทำไวนิล091แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์  ทำไวนิล091
แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์ ทำไวนิล091Kruthai Kidsdee
 
น้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าน้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าKruthai Kidsdee
 
น้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าน้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าKruthai Kidsdee
 

More from Kruthai Kidsdee (20)

Google apps content_1
Google apps content_1Google apps content_1
Google apps content_1
 
Google drive
Google driveGoogle drive
Google drive
 
Google docs 11
Google docs 11Google docs 11
Google docs 11
 
Google form 11
Google form 11Google form 11
Google form 11
 
คู่มืออบรม Google sites
คู่มืออบรม  Google sitesคู่มืออบรม  Google sites
คู่มืออบรม Google sites
 
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google doc
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google docคู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google doc
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google doc
 
คู่มือการใช้งาน Google plus
คู่มือการใช้งาน Google plusคู่มือการใช้งาน Google plus
คู่มือการใช้งาน Google plus
 
คู่มือการใช้งาน Google drive
คู่มือการใช้งาน Google driveคู่มือการใช้งาน Google drive
คู่มือการใช้งาน Google drive
 
คู่มือการใช้งาน Google
คู่มือการใช้งาน  Googleคู่มือการใช้งาน  Google
คู่มือการใช้งาน Google
 
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sites
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sitesการสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sites
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sites
 
การใช้งาน Google docs
การใช้งาน Google docsการใช้งาน Google docs
การใช้งาน Google docs
 
Google appsall
Google appsallGoogle appsall
Google appsall
 
Final traininggoogleapps presentation2
Final traininggoogleapps presentation2Final traininggoogleapps presentation2
Final traininggoogleapps presentation2
 
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.3230 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
 
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝัน
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝันแนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝัน
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝัน
 
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
 
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
 
แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์ ทำไวนิล091
แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์  ทำไวนิล091แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์  ทำไวนิล091
แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์ ทำไวนิล091
 
น้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าน้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้า
 
น้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าน้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้า
 

แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์

  • 1. 129 การออกแบบหน่ว ยการเรีย นรู้ Backward Design กลุ่ม สาระการเรีย นรู้ส ุข ศึก ษาและพลศึก ษา วิช า สุข ศึก ษา ๕ ชั้น มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ ๕ เวลา ๒ ชั่ว โมง หัว เรื่อ ง/Theme หน่ว ยการเรีย นรูท ี่ ๑๑ ้ เฉีย ดเรื่อ งเสี่ย ง ๑. การกำา หนดเป้า หมายการเรีย นรู้ ๑. พฤติกรรมเสี่ยงของวัยรุ่น ๒. ปัจจัยที่ก่อให้เกิดพฤติกรรมเสี่ยง ๓. การแข่งจักรยานยนต์บนท้องถนน ๔. การเข้าไปในแหล่งอบายมุขของวัยรุ่น ๕. ทักษะและวิธีป้องกันตนเองจากพฤติกรรม และสถานการณ์เสี่ยง ภาพรวม (Big Idea) ๒. มาตรฐานการเรีย นรู้ท เ ป็น เป้า หมาย ี่ มาตรฐาน พ ๕.๑ ป้องกันและหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงต่อ สุขภาพ อุบัติเหตุ การใช้ยา สารเสพติดและความรุนแรง ๓. ตัว ชี้ว ด : สิ่ง ที่ผ เ รีย นพึง รูแ ละปฏิบ ต ิไ ด้ ั ู้ ้ ั ๑. มีส่วนร่วมในการป้องกันความเสี่ยงต่อการใช้ยา การใช้สารเสพติด และ ความรุนแรง เพื่อสุขภาพของตนเอง ครอบครัว และสังคม ๓. วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพหรือความรุนแรงของคนไทยและเสนอ แนวทางป้องกัน
  • 2. 130 ๔. วางแผน กำาหนดแนวทางลดอุบัติเหตุและสร้างเสริมความปลอดภัยใน ชุมชน ๕. มีส่วนร่วมในการสร้างเสริมความปลอดภัยในชุมชน ๖. ใช้ทักษะการตัดสินใจแก้ปัญหาในสถานการณ์ที่เสี่ยงต่อสุขภาพและ ความรุนแรง ๔. เป้า หมายการเรีย นรู้ ๑. ความเข้า ใจที่ค งทน ๑) จัดกิจกรรมป้องกันความเสี่ยงต่อการใช้สารเสพติด และความรุนแรง ๒) วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลร้ายต่อสุขภาพของคนไทยและหาทางป้องกัน ได้ถูกต้อง ๓) วางแผน กำาหนดแนวทางลดอุบัติเหตุ และสร้างเสริมความปลอดภัย ในชุมชน รวมทั้งจัดกิจกรรม การสร้างเสริมความปลอดภัยในชุมชน ๔) สร้างทักษะในการตัดสินใจแก้ปัญหาในสถานการณ์ที่เสี่ยงต่อ สุขภาพ ๒. จิต พิส ัย ๑) ตระหนักถึงการจัดกิจกรรมป้องกันความเสี่ยงต่อการใช้สารเสพติด และความรุนแรง ๒) รู้ปัจจัยที่มีผลร้ายต่อสุขภาพของคนไทยและหาทางป้องกันได้ถูก ต้อง ๓) มีส่วนร่วมในวางแผน กำาหนดแนวทางลดอุบัติเหตุ และสร้างเสริม ความปลอดภัยในชุมชน รวมทั้ง จัดกิจกรรมการสร้างเสริมความปลอดภัย ในชุมชน ๔) มีทักษะในการตัดสินใจแก้ปัญหาในสถานการณ์ที่เสี่ยงต่อสุขภาพ ๓. สมรรถนะสำา คัญ ของผู้เ รีย น ๑) ความสามารถในการสื่อสาร ๒) ความสามารถในการคิด ๓) ความสามารถในการแก้ปัญหา ๔) ความสามารถในการใช้ทกษะชีวต ั ิ ๕) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ๔. คุณ ลัก ษณะที่พ ึง ประสงค์ ๑) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๒) ซื่อสัตย์สุจริต ๓) มีวินัย ๔) ใฝ่เรียนรู้ ๕) อยู่อย่างพอเพียง ๖) มุ่งมั่นในการทำางาน ๗) รักความเป็นไทย
  • 3. 131 ๘)มีจิตสาธารณะ ๕. ความรูแ ละทัก ษะเฉพาะวิช า ้ ๑) อธิบายลักษณะพฤติกรรมเสี่ยงของวัยรุ่น ๒) ตระหนักถึงปัจจัยที่ก่อให้เกิดพฤติกรรมเสี่ยง ๓) ตระหนักถึงความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากการเข้าไปอยู่ในสถานการณ์ เสี่ยง ๔) นำา ความรู้ที่ ได้ ไปใช้ ป้ องกั นตนเองจากพฤติก รรมและสถานการณ์ เสี่ยงต่างๆ ๖. ทัก ษะคร่อ มวิช า ๑) ทักษะการฟัง การฟังครูอธิบาย และเพื่อน ๆ แสดงความคิดเห็นใน ชั้นเรียน ๒) ทักษะการอ่าน การอ่านเนื้อหาสาระหน่วยการเรียนรู้ ๓) ทักษะการเขียน การเขียนรายงาน การทำาแบบฝึกหัด และการทำา รายงาน ๔) ทักษะการนำาเสนอ (การพูด) การนำาเสนอเนื้อหาของสารเสพติด ๕) ทักษะการทำางานกลุ่ม ระดมความคิดในการทำางานกลุ่ม ๖) การสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ การเขียนผังความคิด (Mind Mapping)
  • 4. 132 แผนการจัด การเรีย นรู้ท ี่ ๑๑ วิช า สุข ศึก ษา ๒ ชั้น มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ ๒ หน่ว ยการเรีย นรู้ท ี่ ๑๑ เรื่อ ง เฉีย ดเรื่อ งเสี่ย ง เวลา ๒ ชั่ว โมง ๑. เป้า หมายการเรีย นรู้ ๑. จัดกิจกรรมป้องกันความเสี่ยงต่อการใช้สารเสพติด และความรุนแรง ๒.วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลร้ายต่อสุขภาพของคนไทยและหาทางป้องกันได้ ถูกต้อง ๓.วางแผน กำาหนดแนวทางลดอุบัติเหตุ และสร้างเสริมความปลอดภัยใน ชุมชน รวมทั้งจัดกิจกรรม การสร้างเสริมความปลอดภัยในชุมชน ๔. สร้างทักษะในการตัดสินใจแก้ปัญหาในสถานการณ์ที่เสี่ยงต่อสุขภาพ ๒. สาระสำา คัญ วัยรุ่นเป็นช่วงที่เด็กกำาลังจะก้าวผ่านไปสู่วัยผู้ใหญ่ เป็นวัยที่เกิดความ เปลี่ยนแปลงในตัวเองมาก ประกอบกับการกระตุ้นจากสภาพแวดล้อม ภายนอก จึงทำาให้เด็กวัยนี้มีความอยากรู้ อยากลอง มีความคึกคะนอง และ ความเชื่อมั่นในความคิดตัวเองค่อนข้างสูง ดังนั้น จึงเป็นวัยที่มักจะเกิด พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพได้ง่าย รวมไปถึงสภาพสังคมปัจจุบัน ทำาให้วยรุน ั ่ มักถูกชักจูงเข้าสูสถานการณ์เสียงรอบตัวได้ ดังนันหากนักเรียนรูเท่าทัน ่ ่ ้ ้ พฤติกรรมของตน รวมไปถึงความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากการมีพฤติกรรมและ การเข้าไปอยู่ในสถานการณ์เสี่ยง จะทำาให้นักเรียนสามารถหลีกเลี่ยงผลเสีย ที่อาจเกิดขึ้นตามมา รวมไปถึงสามารถรักษาสุขภาพและคุณภาพชีวิตให้ดีได้ ๓. มาตรฐานและตัว ชีว ัด ้ มาตรฐาน พ ๕.๑ ป้องกันและหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงต่อ สุขภาพ อุบัติเหตุ การใช้ยา สารเสพติดและความรุนแรง ตัว ชี้ว ด : สิ่ง ที่ผ ู้เ รีย นพึง รู้แ ละปฏิบ ัต ไ ด้ ั ิ ๑. มีส่วนร่วมในการป้องกันความเสี่ยงต่อการใช้ยา การใช้สารเสพติด และความรุนแรง เพื่อสุขภาพของตนเอง ครอบครัวและสังคม ๓. วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพหรือความรุนแรงของคนไทยและเสนอ แนวทางป้องกัน ๔. วางแผน กำาหนดแนวทางลดอุบัติเหตุและสร้างเสริมความปลอดภัยใน ชุมชน ๕. มีส่วนร่วมในการสร้างเสริมความปลอดภัยในชุมชน
  • 5. 133 ๖. ใช้ทักษะการตัดสินใจแก้ปัญหาในสถานการณ์ที่เสี่ยงต่อสุขภาพและ ความรุนแรง
  • 6. 134 ๔. สาระการเรีย นรู้ ๑. พฤติกรรมเสี่ยงของวัยรุ่น ๒. ปัจจัยที่ก่อให้เกิดพฤติกรรมเสี่ยง ๓. การแข่งจักรยานยนต์บนท้องถนน ๔. การเข้าไปในแหล่งอบายมุขของวัยรุ่น ๕. ทักษะและวิธีป้องกันตนเองจากพฤติกรรม และสถานการณ์เสี่ยง ๕. กิจ กรรมฝึก ทัก ษะที่ค วรเพิ่ม ให้น ัก เรีย น K (Knowledge) P (Practice) A (Attitude) ความรู้ ความเข้า ใจ การฝึก ปฏิบ ต ิั คุณ ลัก ษณะอัน พึง ประสงค์ ๑.อธิบายลักษณะ ๑. จัดกิจกรรมป้องกัน ๑. รักชาติ ศาสน์ พฤติกรรมเสี่ยงของ ความเสี่ยงต่อการ กษัตริย์ วัยรุ่น ใช้สารเสพติด และ ๒.ซื่อสัตย์สุจริต ๒.ตระหนักถึงปัจจัยที่ ความรุนแรง ๓.มีวินัย ก่อให้เกิดพฤติกรรม ๒. วิเคราะห์ปัจจัยที่มี ๔.ใฝ่เรียนรู้ เสี่ยง ผลร้ายต่อสุขภาพ ๕.อยู่อย่างพอเพียง ๓.ตระหนักถึงความ ของคนไทยและหา ๖. มุ่งมั่นในการทำางาน เสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น ทางป้องกันได้ถูก ๗. รักความ จากการเข้าไปอยู่ใน ต้อง เป็นไทย สถานการณ์เสี่ยง ๓. วางแผน กำาหนด ๘.มีจิตสาธารณะ ๔.นำาความรู้ที่ได้ไปใช้ แนวทาง ลด ป้องกันตนเองจาก อุบัติเหตุ และสร้าง พฤติกรรมและ เสริมความปลอดภัย สถานการณ์เสี่ยง ในชุมชน รวมทังจัด ้ ต่างๆ กิจกรรมการสร้าง เสริม ความปลอดภัย ในชุมชน ๔. สร้างทักษะในการ ตัดสินใจแก้ปัญหา ในสถานการณ์ที่ เสี่ยงต่อสุขภาพ ๖. การวัด และประเมิน ผล ๑. เครื่อ งมือ วัด และประเมิน ผล ๑) แบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน ๒) แบบฝึกหัด ๓) ใบงาน ๔) แบบประเมินพฤติกรรมการทำางานกลุ่ม ๕) แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
  • 7. 135 ๖) แบบสังเกตสมรรถนะของผู้เรียน ๗) แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๒. วิธ ว ด ผล ี ั ๑) ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน ๒) ตรวจแบบฝึกหัด ๓) ตรวจใบงาน ๔) สังเกตพฤติกรรมการทำางานกลุ่ม ๕) สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ๖) สังเกตสมรรถนะของผู้เรียน ๗) สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๓. เกณฑ์ก ารวัด และประเมิน ผล ๑) สำาหรับชัวโมงแรกทีใช้แบบทดสอบก่อนเรียนไม่มเกณฑ์ผาน เก็บ ่ ่ ี ่ คะแนนไว้เปรียบเทียบกับคะแนนที่ได้จากการทดสอบหลังเรียน ๒) การประเมินผลจากแบบฝึกหัด ต้องผ่านเกณฑ์การทดสอบเกินร้อยละ ๕๐ ๓) การประเมินผลจากแบบตรวจใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน เรื่องความรู้ความเข้าใจ การนำาไปใช้ทักษะ และจิตพิสัย ทุกช่องเกินร้อยละ ๕๐ ๔) การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทำางานกลุม ต้องผ่าน ่ เกณฑ์การประเมิน คือ เกินร้อยละ ๕๐ ๕) การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล เกณฑ์ผ่านการ ประเมิน ต้องไม่มีช่องปรับปรุง ๖) การประเมินผลการสังเกตสมรรถนะของผู้เรียน คะแนนขึ้นอยู่กับการ ประเมินตามสภาพจริง ๗) การประเมินผลการสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน คะแนนขึ้นอยู่กับการประเมิน ตามสภาพจริง ๗. หลัก ฐาน/ผลงาน ๑. ผลการทำาแบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน และแบบฝึกหัด ๒. ผลการทำาใบงาน ๘. กิจ กรรมการเรีย นรู้ ชัว โมงที่ ๑-๒ ่ ขัน นำา เข้า สู่บ ทเรีย น ้ 1. นักเรียนและครูสนทนากันถึงช่วงวัยรุ่นถือเป็นช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อที่เด็ก ต้องก้าวจากความเป็นเด็กไปเป็นผู้ใหญ่ ดังนั้นหากเด็กไม่สามารถรับมือ จัดการกับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นได้อย่างถูกต้อง จะส่งผลให้เด็ก
  • 8. 136 มีพฤติกรรมเสี่ยง หรือตกอยู่ในสถานการณ์เสี่ยงต่างๆได้ หากเด็กเลือกทาง เดินที่ผิด อาจทำาให้เด็กมีวิถีการดำาเนินชีวิตในอนาคตที่ไม่เหมาะสมได้ 2. นักเรียนยกตัวอย่างพฤติกรรมเสี่ยงที่พบได้บ่อยในวัยรุ่น เช่น ทะเลาะ วิวาท ไม่กินผัก การอดอาหาร การมีเพศสัมพันธ์ขณะมึนเมา การสูบ บุหรี่ ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ภาวะซึมเศร้า เป็นต้น 3. นักเรียนทำาแบบทดสอบก่อนเรียน ขัน สอน ้ 4. ครูใช้เทคนิครูปแบบการเรียนแบบ LT (Learning Together) เรื่อง พฤติกรรมเสี่ยงของวัยรุ่น ปัจจัยที่ก่อให้เกิดพฤติกรรมเสี่ยง และการแข่ง จักรยานยนต์บนท้องถนน โดยใช้สื่อวีดิทัศน์ แผ่นใส และรูปภาพประกอบ การเรียนการสอน เพื่อสื่อความหมายให้นักเรียนเข้าใจได้ง่ายขึ้น 5. นักเรียนหาข่าวสารจากสื่อสิ่งพิมพ์เกี่ยวกับพฤติกรรมเสี่ยงของวัยรุ่นมา คนละ ๑ ข่าว แล้วสรุปสาระสำาคัญของข่าว (ห้ามซำ้ากัน) 6. ครูใช้เทคนิควิธีการสอนแบบร่วมมือ โดยใช้กระบวนการกลุ่มเน้นให้ผู้ เรียนมีส่วนร่วมในกระบวนการอย่างแท้จริง เน้นการแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ซึ่งกันและกันจนเกิดความคิดรวบยอด แล้วจัดกลุ่มผู้เรียนออก เป็นกลุ่มละ ๔-๕ คน หัวข้อที่ศึกษา ได้แก่ พฤติกรรมเสี่ยงของวัยรุ่น ปัจจัยที่ ก่อให้เกิดพฤติกรรมเสี่ยง และการแข่งจักรยานยนต์บนท้องถนน 7. ใช้กิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำาคัญ (CIPPA) C = Construction คือ การให้ผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยตนเอง โดย กระบวนการแสวงหาข้อมูล ทำาความเข้าใจ คิดวิเคราะห์ ตีความ แปลความ สร้างความหมาย วิเคราะห์ข้อมูล I = Interaction คือ การให้ผู้เรียนปฏิสัมพันธ์ต่อกัน เรียนรู้จากกัน แลกเปลี่ยนข้อมูล ความคิด และประสบการณ์แก่กันและกัน P = Participation คือ การให้ผู้เรียนมีบทบาท/ส่วนร่วมในการเรียน รู้มากที่สุด P = Process/Product คือ การให้ผู้เรียนได้รู้กระบวนการควบคู่ไป กับผลงาน/ข้อความรู้ที่สรุปได้ A = Application คือ การให้ผู้เรียนนำาความรู้ไปใช้ให้เป็นประโยชน์ ในชีวตประจำาวัน ิ กิจ กรรมการเรีย นรู้ C I P P A ๑. สนทนาทบทวนเรื่องสถานการณ์เสี่ยงเพื่อการเรียน รู้ ๒. ร่วมกันสนทนาถึงคน สถาบัน วัฒนธรรมและองค์ ความรู้ แล้วร่วมกันสรุป ๓. นำาเสนอตัวอย่างศูนย์แห่งการเรียนรู้หน้าชั้นเรียน และทำาป้ายนิเทศ ๔. ทุกกลุ่มออกไปสำารวจข้อมูลข้างต้นตามแหล่งการ
  • 9. 137 เรียนรู้ ๕. ทุกกลุ่มเสนอโครงงานเพื่อการเรียนรู้ในแนวคิด ของตนเอง ๖. ทุกกลุ่มดำาเนินงานตามโครงงานที่นำาเสนอ โดยใช้ เวลาว่างจากการเรียนหรือวันหยุดในการดำาเนิน การ ๗. เมือดำาเนินการตามโครงงานสำาเร็จเรียบร้อย ่ แล้ว ทุกกลุ่มนำาเสนอผลการดำาเนินการหน้าชั้น เรียน และจัดทำารายงานผลการดำาเนินโครงงาน ๘.แต่ละคนเลือกนำาองค์ความรู้ที่ได้รับจากการศึกษาดู งานมาจัดทำารายงาน คนละ ๑ เรื่อง 8. ครูอธิบายการสร้างภูมิคุ้มกันในตัวเองที่ดีเรื่องการป้องกันตนเองใน สถานการณ์เสี่ยง ซึงวัยรุ่นเป็นวัยที่เริ่มมีความรู้สึกทางเพศ มีความสนใจเพศ ่ ตรงข้ามและแสดงออกทางเพศ ซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากทั้งภายในร่างกาย ได้แก่ ฮอร์โมนเพศ และอิทธิพลภายนอกหรือสภาพแวดล้อม ได้แก่ เพื่อน ครอบครัว สังคมและวัฒนธรรม ซึ่งสังคม ที่เปลี่ยนไปได้ชักนำาให้วัย รุ่นมีพฤติกรรมทางเพศที่ไม่เหมาะสม และทำาให้เกิดปัญหาต่างๆ ได้แก่ โรค ติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เช่น โรคเอดส์ กามโรค โรคตับอักเสบจากไวรัสชนิดบี และซี เป็นต้น การตั้งครรภ์ที่ไม่ตั้งใจเกิดปัญหากับครอบครัวที่ไม่ยอมรับหาก วัยรุ่นมีเพศสัมพันธ์โดยเฉพาะวัยรุ่นหญิง ดังนั้น วัยรุ่นจึงควรเรียนรู้ถึงปัจจัย และสถานการณ์เสี่ยงต่อการมีเพศสัมพันธ์ เพื่อหลีกเลี่ยงจากปัจจัยดังกล่าว 9. ครูอธิบายอุบัติเหตุเป็นสาเหตุที่ทำาให้เกิดการบาดเจ็บหรือสูญเสียชีวิต และทรัพย์สินได้ในพริบตาเดียว ซึ่งสามารถป้องกันได้ ถ้านักเรียนคิดถึง ความปลอดภัยเสมอ เหมือนคำาว่า “คิดถึงความปลอดภัยไว้ก่อน” 10. ครูนำาตัวอย่างคำาพิพากษา เพือเตือนเด็กแว๊นซ์และกองเชียร์ใน ่ การแข่งรถทังหลาย เนื่องจากปัจจุบันนี้มีบรรดาเด็กแว๊นซ์ และกองเชียร์ ้ จำานวนมากแข่งขันรถยนต์ หรือมอเตอร์ไซค์บนถนนโดยไม่เกรงกลัวอันตราย ก่อความเดือดร้อนรำาคาญใจแก่ผู้ใช้รถใช้ถนนอื่นๆ ให้จำาไว้ว่ามีมาตรการ บังคับใช้กฎหมายที่รุนแรง โดยไม่มีการรอลงอาญา ซึ่งบรรดากองเชียร์ต่างๆ ก็มีความผิดฐานเป็นผู้สนับสนุนการกระทำาความผิดด้วย ดังคำาพิพากษาดังนี้ โดยจำาเลยที่ ๑, ๒, ๓, ๔, ๖ และ ๗ ได้บังอาจแข่งรถบนถนนสาธารณะที่ ถนนพระราม ๖ จากแยกโรงกรองนำ้า มุ่งหน้าขึ้นทางด่วนพระราม ๖ โดยใช้ ระยะทางในการแข่งรถประมาณ ๘๐๐ เมตร โดยไม่ได้รับอนุญาตเป็นหนังสือ จากเจ้าพนักงานจราจร และจำาเลยที่ ๕, ๘-๑๔๐ ได้บงอาจเป็นผูสนับสนุนการ ั ้ แข่งรถจักรยานยนต์ของจำาเลยกลุมแรก โดยนังซ้อนท้าย รถจักรยานยนต์ตาม ่ ่ หลังกลุ่มที่แข่งรถ และคอยปิดกั้นถนนไม่ให้รถอื่นแล่นผ่านไปผ่านมาโดย สะดวก ทั้งนี้เพื่อความสะดวกในการแข่งรถจักรยานยนต์และการเชียร์จำาเลย ในการแข่งรถ โดยจำาเลยไม่ได้รับอนุญาตในการแข่งจากเจ้าพนักงานจราจร
  • 10. 138 เจ้าหน้าที่ตำารวจสามารถจับกุมจำาเลยทั้ง ๑๔๐ คน ได้พร้อมรถจักรยานยนต์ที่ ใช้ในการกระทำาความผิด ในชั้นสอบสวนจำาเลยให้การรับสารภาพ ขอให้ ลงโทษตาม พรบ.การจราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ มาตรา ๑๓๔ , ๑๖๐ ทวิ และ พรบ.การจราจรทางบก พ.ศ.๒๕๓๕ มาตรา ๑๖, ๓๑ ประกอบประมวล กฎหมายอาญา มาตรา ๓๓, ๘๓ 11. นักเรียนปฏิบตกจกรรม ดังนี้ ั ิ ิ ๑) แบ่งนักเรียนออกเป็น ๔ กลุ่ม โดยให้แต่ละกลุ่มระดมความคิด สร้าง สถานการณ์จำาลองที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น แล้วจัดเตรียมการ แสดงบทบาทสมมติในสถานการณ์ดังกล่าวประมาณกลุ่มละ ๑๐–๑๕ นาที โดยมีหัวข้อดังต่อไปนี้ • พฤติกรรมการใช้สารเสพติด • พฤติกรรมการเข้าไปอยู่ในแหล่งอบายมุข • พฤติกรรมการแข่งจักรยานยนต์ • พฤติกรรมการทะเลาะวิวาท ๒) นักเรียนออกแบบโปสเตอร์รณรงค์เกี่ยวกับพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น ๓) นักเรียนหาข่าวสารจากในหนังสือพิมพ์ วารสาร นิตยสารที่มีหัวข้อ เกี่ยวกับพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น พร้อมทั้งวิเคราะห์สาเหตุ ผลกระทบที่เกิดขึ้น และเสนอแนวทางในการป้องกันแก้ไข ๔) นักเรียนออกแบบสำารวจพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น พร้อมทั้งสำารวจใน ชุมชนของนักเรียนในประเด็นเกี่ยวกับแหล่งอบายมุข ปัจจัยเสี่ยง สถานการณ์เสี่ยงในชุมชนที่ทำาให้เกิดพฤติกรรมเสี่ยงของวัยรุ่น 12 นักเรียนทำาใบงานที่ ๑๑.๑ และ ๑๑.๒ ขัน สรุป และประยุก ต์ ้ 13. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปพฤติกรรมเสี่ยงของวัยรุ่น ปัจจัยที่ก่อ ให้เกิดพฤติกรรมเสี่ยง และการแข่งจักรยานยนต์บนท้องถนน โดยการถาม และตอบตามรูปภาพและวีดิทัศน์ 14. ครูเน้นให้นักเรียนมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ได้แก่ การเอาใจ ใส่ ตั้งใจ และมุ่งมั่นปฏิบัติหน้าที่ตามบทบาทของตนอย่างเต็มความสามารถ ทั้งนี้เพื่อให้งานบรรลุผลตามเป้าหมายตรงตามระยะเวลาที่กำาหนด และ มีความอดทน ได้แก่ การมีจิตใจหนักแน่น เยือกเย็น ไม่หุนหันพลันแล่น สามารถควบคุมอารมณ์ และพฤติกรรมให้เป็นปกติ เมื่อต้องเผชิญกับปัญหา หรือสิ่งที่ไม่พึงพอใจ 15. นักเรียนทำาแบบฝึกหัดท้ายหน่วยการเรียนรู้ ชัว โมงที่ ๓-๔ ่
  • 11. 139 ขัน นำา เข้า สู่บ ทเรีย น ้ 16. ครูพูดคุยกับนักเรียนโดยกล่าวถึงในปัจจุบันแหล่งอบายมุขไม่ได้ อยู่ไกลตัวเด็กวัยรุ่น และไม่ได้มีเพียงแค่ผับหรือบาร์เท่านั้นที่ขายเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ ในร้านเหล้าปั่น ร้านคาราโอเกะ แม้แต่ร้านขายของชำา ก็มีเครื่อง ดื่ม มึนเมาจำาหน่ายเช่นกัน จากการสำารวจของทีมสำารวจสภาพแวดล้อม รอบสถานศึกษาทีมอมเมา ยัวยุเด็กนักเรียนเยาวชนในรัศมี ๕๐๐ เมตรใน ่ ่ โรงเรียน ๕๐ แห่ง เขต กทม. 17. อิทธิพลของเพื่อน เพื่อนเป็นคนสำาคัญของเราก็จริงอยู่ แต่ถ้า เพื่อนมีอิทธิพลต่อเราในทางที่ไม่ดี พาไป เสียผู้เสียคน ในฐานะที่เราเป็น เพื่อนก็ต้องให้สติด้วยการตักเตือน และปฏิเสธไม่ทำาตามและชักจูงให้เขาได้ ใช้ชีวต ที่ถูกต้องและดีงาม แต่ถ้าหากเป็นเรื่องที่ยุ่งยากเกินไป ก็คงต้องเลิก ิ คบเสียดีกว่า ถือคติที่ว่า “มีเพื่อนดีเพียงหนึ่ง ถึงจะต้องดีกว่าเพื่อนร้อย เพื่อนเลว” ขัน สอน ้ 18. ครูอธิบายการเข้าไปในแหล่งอบายมุขของวัยรุ่น ทักษะและวิธี ป้องกันตนเองจากพฤติกรรม และสถานการณ์เสี่ยงโดยใช้สื่อวีดิทัศน์ แผ่นใส และรูปภาพประกอบ 19. ครูใช้เทคนิคการสอนโดยการสัมมนา (Seminar) เป็นการ ประชุมเพื่อร่วมการศึกษาและค้นคว้าเรื่องใด เรื่องหนึ่งที่ได้เตรียมการไว้ ล่วงหน้า ภายใต้การแนะนำาของผู้เชี่ยวชาญ โดยเชิญผู้เกี่ยวข้องจากหลาย ฝ่ายมาร่วมกันแสดงความคิดเห็น และสรุปผลการสัมมนา เพื่อเป็นแนวทางใน การปฏิบัติต่อไป 20. นักเรียนและครูจัดทำาโครงการโดยเชิญวิทยากรที่มีความรู้ความ สามารถเพื่อบรรยายเนื้อหาเกี่ยวกับเรื่อง การเข้าไปในแหล่งอบายมุขของวัย รุ่น ทักษะและวิธีป้องกันตนเองจากพฤติกรรม และสถานการณ์เสี่ยง โดยครู และนักเรียนช่วยกันคิดหาหัวข้อสัมมนา 21. ครูนำาหลักธรรมและข้อปฏิบัติตามพุทธวิธีมาสอนนักเรียน ลำาดับ แรก โดยไม่ข้องแวะอบายมุข ๖ ไม่เสพของมึนเมา ไม่เที่ยวเตร่ตามสถานที่ไม่ ควร ไม่หมกมุ่นในสิ่งบันเทิงเริงรมย์ ไม่เล่นการพนัน ไม่คบคนชั่วเป็นมิตร และไม่เกียจคร้าน และต้องรู้จักการครองเรือน เช่น รู้หลักครองเรือน ให้ทาน = ให้เป็นการสงเคราะห์ ลดความตระหนี่ ถือศีล = ทำาให้กาย วาจาใจ บริสุทธิ์ และปฏิบัติ = เป็นเครื่องเจริญสติปัญญา และสุดท้ายคือ การจัดระบบ เศรษฐกิจในครัวเรือนตามพุทธวิธี ได้แก่ ส่วนที่ ๑ เลี้ยงครอบครัวให้เป็นสุข ไม่อดอยาก ส่วนที่ ๒, ๓ ใช้เป็นเครื่องมือประกอบอาชีพธุรกิจ ส่วนที่ ๔ สำารองไว้ใช้ยามอันตราย
  • 12. 140 22. นักเรียนทำากิจกรรมใบงานที่ ๑๑.๓ และ ๑๑.๔ และแนะนำา สถานบำาบัดยาเสพติด ขัน สรุป ้ 23. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปวิธีการบำาบัดรักษา ปัจจัยช่วยเหลือ ฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติด และแหล่งช่วยเหลือและฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติด โดยการ ถาม-ตอบ และให้ทำาแบบทดสอบหลังเรียน 24. ครูเน้นให้นักเรียนรู้จักการประหยัดและอดออม ได้แก่ การรู้จัก ใช้จ่ายตามความจำาเป็นอย่างคุ้มค่า และเกิดประโยชน์สูงสุด ไม่ฟุ้งเฟ้อ ฟุ่มเฟือย รู้จักเก็บออมเอาไว้ใช้เมื่อยามจำาเป็น ใช้ชีวตให้เหมาะสมกับฐานะ ิ ความเป็นอยู่ของตน และเป็นคนมีนำ้าใจเป็นนักกีฬา ได้แก่ การมีจิตใจเปิด เผย รู้จักรู้แพ้รู้ชนะ และให้อภัยกันและกัน ทำางาน ในลักษณะช่วยเหลือ เกื้อกูลกัน ไม่แข่งขันหรือแก่งแย่งชิงดีกัน 25. ครูเพิ่มเติมว่าปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไม่ใช่เรื่องยากเลย เพียงรู้หลักคิดง่ายไม่กี่ข้อแล้วนำาไปปฏิบัติ ก็เรียกว่าได้ยึดหลักเศรษฐกิจ พอเพียงตามแนวทางของพระเจ้าอยู่หัวแล้ว เริ่มด้วยวิธีง่ายๆ ดังนี้ ๑) ให้รู้จักคำาว่า “พอประมาณ” ความพอดี ไม่น้อยเกินไป ไม่มากเกิน ไป โดยไม่เบียดเบียนตนเอง และผู้อื่น เช่น ซื้อโทรศัพท์มือถือ ๑ เครื่องก็ พอแล้ว ๒) มีเหตุผล ตัดสินใจอย่างมีเหตุผล คำานึงถึงผลที่จะเกิดขึ้นจากการก ระทำา เช่น ไม่เที่ยวเตร่เดี๋ยวเงินหมด ไม่ตั้งใจเรียนหนังสือเดี๋ยวสอบตก ๓) มีภูมิคุ้มกัน เตรียมพร้อมรับผลกระทบโดยคำานึงถึงความเป็นไปได้ ของสถานการณ์ในอนาคต เช่น ช่วงนี้ฝนตกบ่อย ต้องเตรียมเสื้อฝน เศรษฐกิจไม่ดี ต้องรู้จักประหยัด อดออม ไข้หวัดสายพันธุ์ใหม่กำาลังระบาด ต้องรู้จักดูแลสุขภาพ แต่มีเงื่อนไขว่าความรู้ คือ รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง คุณธรรม คือ ซื่อสัตย์สุจริต ขยันอดทน แบ่งปัน “เพียงแค่นี้ก็..พอเพียงแล้ว”
  • 13. 141 ๙.สื่อ /แหล่ง การเรีย นรู้ 1. หนังสือเรียนรายวิชาพืนฐาน สุขศึกษา ๕ ชันมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ของบริษท ้ ้ ั สำานักพิมพ์เอมพันธ์ จำากัด 2. หนังสือเสริมฝึกประสบการณ์ สุขศึกษา ๕ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ของ บริษัท สำานักพิมพ์เอมพันธ์ จำากัด 3. วีดิทัศน์ แผ่นใส และรูปภาพประกอบ 4. ข่าวสาร สื่อสิ่งพิมพ์ ๑๐. การบูร ณาการ ๑. การบูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ได้แก่ ทักษะการเขียน ทักษะการพูด ทักษะการฟัง และทักษะการอ่าน ๒. การบูรณาการกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๓. คุณธรรม จริยธรรม และศีลธรรม ๔. หน้าที่พลเมืองดี
  • 14. 142 แบบทดสอบก่อ นเรีย น /หลัง เรีย นหน่ว ยที่ ๑๑ คำา ชี้แ จง จงเขียนเครื่องหมาย  ทับข้อที่นักเรียนคิดว่าถูกต้องที่สุด ๑. ข้อใดไม่ใ ช่พฤติกรรมเสี่ยงของวัยรุ่น ก. การมีเพศสัมพันธ์ ข. การปล้นชิงทรัพย์ ค. การทะเลาะวิวาท ง. การฆ่าตัวตาย ๒.ปัจ จัย ใดที่เ ป็น ปั จ จั ย สำา คั ญ ที่ นำา ไปสู่ พ ฤติ ก รรมการแข่ ง รถจั ก รยานยนต์ ของวัยรุ่น ก. การขาดความรู้ ข. สื่อมวลชน ค. ความคึกคะนอง ง. ปัญหาครอบครัว ๓. สื่อออนไลน์เป็นปัจจัยที่ส่งผลทำา ให้เกิดพฤติกรรมเสี่ยงของวัยรุ่น ยก เว้น พฤติกรรมใด ก. ค่านิยมเรื่องฟรีเซ็กซ์ ข. การใช้สารเสพติด ค. การใช้ความรุนแรง ง. การแข่งรถจักรยานยนต์ ๔. ข้อใดเป็นผลกระทบที่เกิดจากการเข้าไปร่วมการแข่งขันจักรยานยนต์บน ท้องถนนของวัยรุ่นมากที่ส ุด ก. ค่าใช้จ่าย ข. บาดเจ็บ พิการ ค. ใช้สารเสพติด ง. มีเพศสัมพันธ์ ๕. ข้อใดเป็นแหล่งอบายมุขของวัยรุ่นที่นิยมเข้าไปใช้บริการน้อ ยที่ส ุด ก. ร้านเกมอินเทอร์เน็ต ข. แหล่งการพนัน ค. อาบ อบ นวด ง. ผับหรือบาร์ ๖. นักเรียนยกพวกตีกันจัดว่าเป็นการใช้ความรุนแรงหรือไม่ เพราะเหตุใด ก. เป็น เพราะมีการทำาร้ายร่างกายกัน ข. เป็น เพราะทำาให้สังคมเดือดร้อน ค. ไม่เป็น เพราะเป็นการกระทำาของคนหมู่มาก ง. ไม่เป็น เพราะเป็นเรื่องธรรมดาของวัยรุ่นสมัยนี้ ๗.เหตุการณ์ใดต่อไปนี้ไ ม่ใ ช่ความรุนแรงที่เกิดขึ้นในช่วงวัยรุ่น ก. การหย่าร้าง ข. การทะเลาะวิวาท ค. การถูกล่วงเกินทางเพศ ง. การใช้ภาษาพูดที่หยาบคาย ๘. บุคคลใดเสี่ยงต่อการใช้สารเสพติดมากที่ส ด ุ
  • 15. 143 ก. อั้มขาดทักษะในการปฏิเสธ ข. เอิร์ธอยู่ในกลุ่มเพื่อนที่สูบบุหรี่ ค. เอสเครียดจากการเรียน ง. วินเป็นบุคคลที่มีความอยากรู้อยากลอง ๙. แนวทางป้องกันมิให้ตนเองใช้สารเสพติดวิธีใดได้ผลดีท ส ุด ี่ ก. มีทักษะในการดำาเนินชีวิต ข. มีทักษะปฏิเสธ ค. ไม่ยุ่งเกี่ยวกับสารเสพติดเลย ง. รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ๑๐. การปฏิบัติของบุคคลใดไม่ใ ช่การป้องกันไม่ให้เกิดความรุนแรง ก. ต้นเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอลในงานกีฬาสีของโรงเรียน ข. เทนรวมกลุ่มกับเพื่อนไปเที่ยวสถานบันเทิง ค. แป๋มแจ้งให้ครูทราบเมื่อพบเหตุการณ์ที่จะเป็นปัญหาความรุนแรงใน โรงเรียน ง. ดาวไปเข้าค่ายอบรมจริยธรรม เฉลยแบบทดสอบก่อ นเรีย น /หลัง เรีย นหน่ว ยที่ ๑๑ ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐. ข. ค. ง. ข. ค. ก. ก. ง. ค. ข. บัน ทึก หลัง การสอน ๑. ผลการสอน ……………………………. ……………………………………………………………………………. ……….
  • 16. 144 ……………………………. ……………………………………………………………………………. ………. ……………………………. ……………………………………………………………………………. ………. ……………………………. ……………………………………………………………………………. ………. ……………………………. ……………………………………………………………………………. ………. ……………………………. ……………………………………………………………………………. ………. ๒. ปัญ หา/อุป สรรค ……………………………. ……………………………………………………………………………. ………. ……………………………. ……………………………………………………………………………. ………. ……………………………. ……………………………………………………………………………. ………. ……………………………. ……………………………………………………………………………. ………. ……………………………. ……………………………………………………………………………. ………. ……………………………. ……………………………………………………………………………. ………. ๓. ข้อ เสนอแนะ/แนวทางแก้ไ ข ……………………………. ……………………………………………………………………………. ………. ……………………………. ……………………………………………………………………………. ………. ……………………………. ……………………………………………………………………………. ………. ……………………………. ……………………………………………………………………………. ………. ……………………………. ……………………………………………………………………………. ……….
  • 17. 145 ……………………………. ……………………………………………………………………………. ………. ลงชื่อ...............................................ครูผู้สอน (.............................. ................) วันที่.......เดือน..........................พ.ศ. ............ ๔. ข้อ เสนอแนะของหัว หน้า สถานศึก ษาหรือ ผู้ท ี่ไ ด้ร ับ มอบหมาย ……………………………. ……………………………………………………………………………. ………. ……………………………. ……………………………………………………………………………. ………. ……………………………. ……………………………………………………………………………. ………. ……………………………. ……………………………………………………………………………. ………. ……………………………. ……………………………………………………………………………. ………. ……………………………. ……………………………………………………………………………. ………. ลงชื่อ............................................................... (........................... ..................................)