SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
Download to read offline
หน่ วยการเรียนรู้ ที
           การหลีกเลียงพฤติกรรมเสี ยงและสถานการณ์ เสี ยงต่ ออันตราย
  รายวิชา สุ ขศึกษา                               กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุ ขศึกษาและพลศึกษา
  ชันมัธยมศึกษาปี ที                                                       เวลาเรียน ชัวโมง

1.มาตรฐานการเรียนรู้ /ตัวชีวัด
     พ . ม. /         อธิ บายวิธีการหลีกเลียงพฤติกรรมสี ยงและสถานการณ์เสี ยง
         ม. /         ใช้ทกษะชีวตในการป้ องกันตนเองและหลีกเลียงสถานการณ์คบขัน
                           ั      ิ                                          ั
                      ทีอาจนําไปสู่ อนตราย
                                     ั

2.สาระสํ าคัญ/ความคิดรวบยอด
      พฤติกรรมเสี ยงและสถานการณ์เสี ยงส่ งผลให้เกิดอันตรายต่อชีวิตและทรัพย์สิน เราจึงควรศึกษาวิธี
หลีกเลียงและใช้ทกษะในการป้ องกันตนเองทีเหมาะสมกับสถานการณ์ทีเกิดขึน
                ั

3.สาระการเรียนรู้
       .    สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง
            1) การหลีกเลียงพฤติกรรมเสี ยงและสถานการณ์เสี ยง
               - การมัวสุ ม
               - การทะเลาะวิวาท
               - การเข้าไปในแหล่งอบายมุข
               - การแข่งขันจักรยานยนต์บนท้องถนน ฯลฯ
            2) ทักษะชีวตในการป้ องกันตนเอง (ทักษะปฏิเสธ ทักษะการต่อรอง ฯลฯ) และหลีกเลียง
                        ิ
               สถานการณ์คบขันทีอาจนําไปสู่ อนตราย
                              ั             ั
       .    สาระการเรี ยนรู้ ท้องถิน
            -

4.สมรรถนะสํ าคัญของผู้เรียน
       .    ความสามารถในการสื อสาร
       .    ความสามารถในการคิด
             ) ทักษะการคิดวิเคราะห์
             ) ทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณ
                                  ิ
             ) ทักษะกระบวนการคิดตัดสิ นใจ
                                                256
.      ความสามารถในการใช้ ทกษะชี วต
                                 ั      ิ
              ) กระบวนการทํางานกลุ่ม

5.คุณลักษณะอันพึงประสงค์
     1. ใฝ่ เรี ยนรู ้
     2. มีความรับผิดชอบ
     3. มีจิตสาธารณะ
6.ชินงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
     ป้ ายนิเทศ เรื อง ปลอดภัยไว้ก่อน

7.การวัดและการประเมินผล
      . การประเมินก่ อนเรียน
        - แบบทดสอบก่อนเรี ยน หน่วยการเรี ยนรู ้ที
      . การประเมินระหว่ างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
         ) ใบงานที . เรื อง หลีกเลียงพฤติกรรมเสี ยงและสถานการณ์เสี ยงต่ออันตราย ( )
        2) ใบงานที . เรื อง หลีกเลียงพฤติกรรมเสี ยงและสถานการณ์เสี ยงต่ออันตราย ( )
         ) ประเมินการนําเสนอผลงาน
         ) สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุ่ม
      . การประเมินหลังเรียน
        - แบบทดสอบหลังเรี ยน หน่วยการเรี ยนรู ้ที
      . การประเมินชิ นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
        - ประเมินป้ ายนิ เทศ เรื อง ปลอดภัยไว้ก่อน

8.กิจกรรมการเรียนรู้
          นักเรี ยนทําแบบทดสอบก่ อนเรียน หน่ วยการเรียนรู้ ที

               กิจกรรมที การหลีกเลียงพฤติกรรมเสี ยงและสถานการณ์ เสี ยงต่ ออันตราย
  วิธีสอนโดยการจัดการเรี ยนรู้ แบบร่ วมมือ : เทคนิคคู่คิดสี สหาย (Think-Pair-Square)
  และวิธีสอนโดยเน้ นกระบวนการ : กระบวนการคิดวิเคราะห์                                เวลา ชั วโมง


                                                  257
1. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสนทนาเกียวกับข่าวการเกิดเหตุการณ์ต่างๆ ทีไม่ปลอดภัย แล้วครู ตงคําถาม
                                                                                             ั
   ว่า นักเรี ยนมีวธีการหลีกเลียงอันตราย หรื อมีวธีป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากเหตุการณ์ต่างๆ
                     ิ                               ิ
   อย่างไร
2. ครู ให้นกเรี ยนจับคู่กบเพือนสนิท แล้วให้นกเรี ยนแต่ละคู่แลกเปลียนความคิดเห็นเกียวกับวิธีการ
                 ั         ั                     ั
    หลีกเลียงอันตราย หรื อวิธีป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากเหตุการณ์ต่างๆ
3. ครู ให้นกเรี ยน คู่ รวมกันเป็ น กลุ่ม (กลุ่มละ คน) แล้วให้แต่ละกลุ่มร่ วมกันแสดงความคิดเห็น
               ั
   จากนันสรุ ปวิธีการหลีกเลียงอันตราย หรื อมีวธีป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากเหตุการณ์ต่างๆ ทีเป็ น
                                                   ิ
   มติของกลุ่ม
4. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มออกมานําเสนอผลการอภิปรายทีหน้าชันเรี ยน แล้วครู อธิ บายเพิมเติมให้นกเรี ยน
                                                                                               ั
   เข้าใจว่า การดํารงชีวิตประจําวันในปั จจุบนมีความเสี ยงต่ออันตรายทีเกิดจากพฤติกรรมเสี ยงของ
                                               ั
                         ่
   ตนเอง และการอยูในสถานการณ์ทีมีความเสี ยงต่ออันตรายเป็ นอย่างมาก จึงควรรู ้จกการหลีกเลียง
                                                                                    ั
   และป้ องกันเพือให้พนจากอันตรายดังกล่าว
                               ้
5. ให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มร่ วมกันศึกษาความรู ้เรื อง การหลีกเลียงพฤติกรรมเสี ยงและสถานการณ์เสี ยง
           ั
    ต่ออันตราย จากหนังสื อเรี ยน หรื อหนังสื อค้นคว้าเพิมเติม ตามความเหมาะสม
6. ครู ให้นกเรี ยนช่วยกันวิเคราะห์ความแตกต่างของพฤติกรรมเสี ยง และสถานการณ์เสี ยง แล้วครู
                   ั
   สุ่ มเรี ยกตัวแทนของแต่ละกลุ่มตอบ โดยครู คอยอธิ บายเพิมเติม เพือให้นกเรี ยนมีความรู ้ความ
                                                                         ั
   เข้าใจมากยิงขึน
7. ครู อธิ บายความหมายของคําว่า “พฤติกรรมเสี ยง และสถานการณ์เสี ยง” เพือให้นกเรี ยนมีความรู ้
                                                                                 ั
   ความเข้าใจทีตรงกัน
8. ครู กาหนดพฤติกรรมเสี ยง และสถานการณ์เสี ยงต่ออันตรายให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มร่ วมกันวิเคราะห์
         ํ                                                        ั
   ผลกระทบ หรื อผลเสี ยทีเกิดขึน และเสนอแนะวิธีแก้ไขทีเหมาะสม แล้วให้ตวแทนกลุ่มออกมาจับ
                                                                              ั
   สลากประเด็นทีครู กาหนด (อาจมีบางกลุ่มได้หวข้อซํากัน) ดังนี
                             ํ                         ั
   1) การมัวสุ ม
   2) การก่อเหตุทะเลาะวิวาท
   3) การเข้าไปยังแหล่งอบายมุข
   4) การแข่งขันรถจักรยานยนต์บนท้องถนน
   5) ภัยจากฝูงชน
9. ให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มร่ วมกันวิเคราะห์ผลกระทบ หรื อผลเสี ยทีเกิดขึน และเสนอแนะวิธีแก้ไขที
             ั
   เหมาะสม แล้วร่ วมกันวางแผนการนําเสนอความรู ้ทีหน้าชันเรี ยนในชัวโมงเรี ยนครังต่อไป
   (ครู อาจพิจารณาให้ กลุ่มที ศึกษาประเด็นเดียวกันรวมเป็ นกลุ่มใหญ่ แล้ วสรุ ปผล เพือให้ เกิดการ
   เรี ยนรู้ การทํางานร่ วมกันเป็ นกลุ่มใหญ่ มากขึน)
                                          258
10. นักเรี ยนทําใบงานที . เรือง หลีกเลียงพฤติกรรมเสี ยงและสถานการณ์ เสี ยงต่ ออันตราย ( )
       เสร็ จแล้วนําส่ งครู ผสอน
                             ู้
   11. ครู สนทนากับนักเรี ยนเกียวกับปั ญหาหรื ออุปสรรคในการทํางานร่ วมกัน แล้วให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่ม
                                                                                    ั
       ได้เตรี ยมความพร้อมก่อนส่ งตัวแทนออกมานําเสนอความรู ้
   12. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มส่ งตัวแทนออกมานําเสนอความรู ้ตามลําดับหมายเลขประเด็นทีได้รับ เมือนักเรี ยน
       แต่ละกลุ่มนําเสนอจบแล้ว ให้นกเรี ยนสรุ ปความรู ้ร่วมกัน
                                       ั
   13. ครู เสนอแนะแนวทางการหลีกเลียงพฤติกรรมเสี ยงและสถานการณ์เสี ยงต่ออันตราย แล้วให้นกเรี ยน
                                                                                             ั
       ศึกษาความรู ้เพิมเติม จากหนังสื อเรี ยน
   14. นักเรี ยนทําใบงานที . เรือง หลีกเลียงพฤติกรรมเสี ยงและสถานการณ์ เสี ยงต่ ออันตราย ( )
       เสร็ จแล้วนําส่ งครู ผสอน
                             ู้


                           กิจกรรมที ทักษะชี วตในการปองกันตนเอง
                                              ิ      ้

วิธีสอนแบบกรณีศึกษา และวิธีสอนโดยเน้ นกระบวนการ : กระบวนการคิดวิเคราะห์             เวลา ชั วโมง

   1. ครู นากรณี ศึกษา เรื อง ไฟกับจีด มาให้นกเรี ยนอ่าน แล้วครู ตงประเด็นคําถาม ให้นกเรี ยนช่วยกัน
           ํ                                   ั                  ั                   ั
      แสดงความคิดเห็นเกียวกับเหตุการณ์ทีเกิดขึน โดยครู เปิ ดโอกาสให้นกเรี ยนแสดงความคิดเห็น
                                                                          ั
      อย่างเสรี เพือให้ได้มุมมองหรื อแนวคิดทีหลากหลาย
   2. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปประเด็นสําคัญทีได้จากการแสดงความคิดเห็น แล้วครู อธิ บายให้นกเรี ยน
                                                                                                   ั
      เข้าใจว่า กรณี ศึกษาทีครู นามาแสดงนีสามารถเกิดขึนได้ง่ายมากสําหรับนักเรี ยนทีอยูในช่วงวัยรุ่ น
                                  ํ                                                     ่
      นักเรี ยนจึงควรตระหนักถึงอันตรายทีจะเกิดขึน หรื อเรี ยนรู ้วธีทีจะสามารถป้ องกันอันตรายได้
                                                                    ิ
                     ่
      ซึ งจะเห็นได้วา พฤติกรรมเบืองต้นของไฟนัน ไม่เหมาะสม เพราะเป็ นการแข่งขันฟุตบอล เพือการ
      พนัน และการชักชวนเพือนต่างเพศไปฉลองชัยชนะในเวลากลางคืนเป็ นสิ งทีไม่เหมาะสม สิ งเหล่านี
      อาจเป็ นทีมาของข่าวอาชญากรรม หรื อข่าวต่างๆ ทีเกิดขึนในสังคม เช่น การข่มขืน การยกพวกตีกน       ั
      การดืมเครื องดืมทีมึนเมาแล้วเกิดการทะเลาะวิวาท เป็ นต้น
   3. ครู ให้นกเรี ยนศึกษาความรู ้เรื อง ทักษะชีวตในการป้ องกันตนเอง จากหนังสื อเรี ยน หรื อหนังสื อ
               ั                                 ิ
      ค้นคว้าเพิมเติม ตามความเหมาะสม
   4. นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ คน (คละเพศ) แล้วให้แต่ละกลุ่มร่ วมกันแสดงบทบาทสมมุติเกียวกับ
      ทักษะชีวตในการป้ องกันตนเอง ในประเด็นทีกําหนด ดังนี
                 ิ
      1) ทักษะการปฏิเสธและทักษะการต่อรอง
      2) ทักษะการคิด ตัดสิ นใจ และแก้ปัญหา
                                              259
5. ให้นกเรี ยนวางแผนและฝึ กซ้อมการแสดงบทบาทสมมุติ เพือให้สามารถสื อสารกับผูชมได้เข้าใจ
                   ั                                                                      ้
     6. ครู สอบถามถึงภาระงานทีได้มอบหมายให้ทา แล้วครู และนักเรี ยนร่ วมกันสนทนาเกียวกับปั ญหา
                                                        ํ
         และอุปสรรคในการฝึ กซ้อมการแสดงบทบาทสมมุติ เพือร่ วมกันหาแนวทางในการแก้ไขปั ญหา
         ทีเกิดขึนอย่างเหมาะสม
     7. ให้นกเรี ยนออกมาแสดงบทบาทสมมุติทีละกลุ่ม แล้วให้กลุ่มอืนๆ สรุ ปแนวคิดหรื อประโยชน์
                 ั
         ทีได้รับ เมือนักเรี ยนแสดงบทบาทสมมุติครบทุกกลุ่มแล้ว ให้แต่ละกลุ่มลงคะแนน กลุ่มทีได้
         คะแนนสู งสุ ด ให้ส่งตัวแทนกลุ่มออกมาพูดถึงวิธีวางแผนการทํางานร่ วมกันจนประสบความสําเร็ จ
     8. ครู ชมเชยนักเรี ยนทุกกลุ่มทีให้ความร่ วมมือในการปฏิบติกิจกรรมเป็ นอย่างดี
                                                                ั
     9. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู ้เรื อง ทักษะชีวตในการป้ องกันตนเอง
                                                            ิ
     10. ให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มจัดป้ ายนิเทศ เรื อง ปลอดภัยไว้ก่อน โดยให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มรวบรวมข่าว
               ั                                                           ั
         ทีเกิดขึน หรื อมีสาเหตุทีเกิดจากการมีพฤติกรรมสี ยงและสถานการณ์เสี ยงมาอธิ บายและวิเคราะห์
         สาเหตุและผลกระทบทีเกิดขึน แล้วหาแนวทางการป้ องกันหรื อการใช้ทกษะในการป้ องกันตนเอง
                                                                               ั
         ทีเหมาะสม นําข้อมูลมาติดทีป้ ายนิเทศเพือเผยแพร่ ความรู ้
         นักเรี ยนทําแบบทดสอบหลังเรียน หน่ วยการเรียนรู้ ที

9.สื อ/แหล่ งการเรียนรู้
     9.1 สื อการเรี ยนรู้
         1) หนังสื อเรี ยน สุ ขศึกษา ม.
         2) ตัวอย่างข่าวเกียวกับการเกิดเหตุการณ์ต่างๆ ทีไม่ปลอดภัย
          ) กรณี ศึกษา เรื อง ไฟกับจีด
          ) ใบงานที . เรื อง หลีกเลียงพฤติกรรมเสี ยงและสถานการณ์เสี ยงต่ออันตราย ( )
         5) ใบงานที . เรื อง หลีกเลียงพฤติกรรมเสี ยงและสถานการณ์เสี ยงต่ออันตราย ( )
       . แหล่ งการเรียนรู้
          ) ห้องสมุด
         2) เอกสาร หรื อแผ่นพับของกระทรวงสาธารณสุ ข




                                                260
การประเมินชินงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
                          แบบประเมินป้ ายนิเทศ เรือง ปลอดภัยไว้ ก่อน
                                                   คําอธิบายระดับคุณภาพ/ระดับคะแนน
 รายการประเมิน
                            ดีมาก (4)                  ดี (3)               พอใช้ (2)                ปรับปรุง ( )
. การวิเคราะห์       วิเคราะห์สาเหตุและ       วิเคราะห์สาเหตุและ วิเคราะห์สาเหตุและ             วิเคราะห์สาเหตุและ
  สาเหตุและ          ผลกระทบทีเกิดขึน         ผลกระทบทีเกิดขึน       ผลกระทบทีเกิดขึน           ผลกระทบทีเกิดขึน
  ผลกระทบ            จากพฤติกรรมเสี ยง        จากพฤติกรรมเสี ยง      จากพฤติกรรมเสี ยง          จากพฤติกรรมเสี ยง
  ทีเกิดขึนจาก       และสถานการณ์เสี ยง       และสถานการณ์เสี ยง และสถานการณ์เสี ยง             และสถานการณ์เสี ยง
  พฤติกรรมเสียง      ได้ถูกต้อง ชัดเจน        ได้ถูกต้อง ชัดเจน      ได้ถูกต้อง ชัดเจน          ได้ถูกต้อง ชัดเจน
  และสถานการณ์       ทุกประเด็น               เป็ นส่วนใหญ่          เป็ นบางส่วน               เพียงส่วนน้อย
  เสี ยง
. การอธิบายวิธีการ   อธิบายวิธีการหลีกเลียง   อธิบายวิธีการหลีกเลียง   อธิบายวิธีการหลีกเลียง
                                                                                            อธิบายวิธีการหลีกเลียง
  หลีกเลียง          พฤติกรรมเสี ยงและ        พฤติกรรมเสี ยงและ        พฤติกรรมเสี ยงและ    พฤติกรรมเสี ยงและ
  พฤติกรรมสียง       สถานการณ์เสี ยง          สถานการณ์เสี ยง          สถานการณ์เสี ยง      สถานการณ์เสี ยง
  และสถานการณ์       ได้ถูกต้อง ชัดเจน        ได้ถูกต้อง ชัดเจนเป็ น   ได้ถูกต้องเป็ นบางส่วน
                                                                                            ได้ถูกต้องเพียง
  เสี ยง              และนําไปปฏิบติ ั        ส่วนใหญ่ และนําไป        และนําไปปฏิบติได้ง่าย
                                                                                       ั    ส่วนน้อย และนําไป
                     ได้ง่าย                  ปฏิบติได้ง่าย
                                                     ั                                      ปฏิบติได้ยาก
                                                                                                  ั
. การเสนอแนะ         เสนอแนะทักษะชีวต  ิ      เสนอแนะทักษะชีวต   ิ     เสนอแนะทักษะชีวต เสนอแนะทักษะชีวต
                                                                                         ิ                    ิ
  ทักษะชีวตใน
           ิ         ในการป้ องกันตนเอง       ในการป้ องกันตนเอง       ในการป้ องกันตนเอง ในการป้ องกันตนเอง
  การป้ องกัน        ได้ถูกต้อง เหมาะสม       ได้ถูกต้อง เหมาะสม       ได้ถูกต้อง เหมาะสม ได้ถูกต้อง เหมาะสม
  ตนเอง              กับสถานการณ์             กับสถานการณ์เป็ น        กับสถานการณ์เป็ น    กับสถานการณ์
                     มากทีสุด                 ส่วนใหญ่                 บางส่วน              เพียงส่วนน้อย
. ความคิด            ป้ ายนิเทศมีความ         ป้ ายนิเทศมีความ         ป้ ายนิเทศมีความ     ป้ ายนิเทศมีความ
  สร้ างสรรค์        สวยงาม แปลกใหม่          สวยงาม แปลกใหม่          สวยงาม มีลกษณะ
                                                                                   ั        สวยงาม มีลกษณะ
                                                                                                        ั
                     ไม่ซาแบบใคร แสดง
                           ํ                  ไม่ซาแบบใคร แสดง
                                                   ํ                   คล้ายคลึงกับแบบ      คล้ายคลึงกับแบบ
                     ให้เห็นถึงความคิด        ให้เห็นถึงความคิด        ทัวไป เชือมโยงข้อมูล ทัวไป เชือมโยงข้อมูล
                     สร้างสรรค์ เชือมโยง      สร้างสรรค์ เชือมโยง      บนป้ ายนิเทศอย่าง    บนป้ ายนิเทศอย่าง
                     ข้อมูลบนป้ ายนิเทศ       ข้อมูลบนป้ ายนิเทศ       เป็ นระบบ            เป็ นระบบ
                     อย่างเป็ นระบบ           อย่างเป็ นระบบ           เป็ นบางส่วน         เพียงส่วนน้อย
                                              เป็ นส่วนใหญ่




                                                       261
เกณฑ์ การตัดสิ นคุณภาพ
ช่ วงคะแนน            ระดับคุณภาพ
       -                 ดีมาก
       -                   ดี
      -                  พอใช้
   ตํากว่า              ปรับปรุ ง




               262
แบบทดสอบก่ อนเรียน-หลังเรียน หน่ วยการเรียนรู้ ที

คําชี แจง    ให้นกเรี ยนเลือกคําตอบทีถูกต้องทีสุ ดเพียงข้อเดียว
                 ั

1.                    ่
       บุคคลในข้อใดอยูในมีพฤติกรรมทีเสี ยงต่ออันตราย
       ก. ออมไปเรี ยนดนตรี ไทยทุกวันอาทิตย์
       ข. อ้อมไปทําบุญทีวัดกับคุณยายในวันพระ
       ค. อัมชวนเพือนๆ มาเล่นฟุตบอลหลังเลิกเรี ยน
       ง. อ้นชอบไปเล่นเกมคอมพิวเตอร์ ทีร้านอินเทอร์ เน็ตเป็ นประจํา

 .     การมัวสุ มเล่นเกมคอมพิวเตอร์ ทําให้เกิดผลเสี ยมากมาย ยกเว้ นข้อใด
       ก. ผลการเรี ยนตกตํา
       ข. ใช้คอมพิวเตอร์ ได้เก่งขึน
       ค. เป็ นโรคกระเพาะอาหารอักเสบ
       ง. เกิดพฤติกรรมเลียนแบบความรุ นแรงจากเกมคอมพิวเตอร์

 .     หากนักเรี ยนต้องการพักผ่อน นักเรี ยนควรไปสถานทีใด เพือหลีกเลียงสถานการณ์เสี ยง
       ก. สวนสาธารณะ                                ข. บ่อนการพนัน
       ค. สถานเริ งรมย์ต่างๆ                        ง. ร้านเกมคอมพิวเตอร์

4.     ข้อใดไม่ ใช่ ปัญหาและผลกระทบจากการแข่งขันรถจักรยานยนต์บนท้องถนน
       ก. ก่อให้เกิดมลพิษทางเสี ยง และเกิดปั ญหาการจราจร
       ข. ได้เป็ นตัวแทนไปแข่งขันรถจักรยานยนต์
       ค. การจราจรติดขัด และอาจเกิดอุบติเหตุได้
                                         ั
       ง. อาจถูกตํารวจจับดําเนิ นคดีได้

 .     ใครหลีกเลียงพฤติกรรมเสี ยงและสถานการณ์เสี ยงต่ออันตรายได้อย่างเหมาะสม
       ก. สนชอบนัดเพือนไปดืมเหล้าในตึกร้าง
       ข. สาวไปไหนกับเพือนๆ เป็ นกลุ่มใหญ่เสมอ
       ค. นุ่นชอบไปเทียวสถานทีทีมีคนเยอะๆ เพราะทําให้รู้สึกคึกคัก
                                            ่
       ง. นิมคบเพือนทีมีความประพฤติดีและอยูในทํานองคลองธรรม
                                              263
.    ทักษะชีวต คืออะไร
               ิ
      ก. การฝึ กฝนทุกอย่างให้ชานาญ
                              ํ
      ข. การยอมทําตามผูอืน เพือให้ได้รับการยอมรับ
                         ้
                       ิ ่
      ค. ทักษะการใช้ชีวตอยูในสังคมได้อย่างมีความสุ ข
      ง. การเข้าใจความเป็ นไปของชี วตมนุษย์ ตามหลักพระพุทธศาสนา
                                    ิ

 .    บุคคลทีมีทกษะชีวตทีดีจะเป็ นอย่างไร
                ั       ิ
      ก. เป็ นคนดี                                   ข. เป็ นคนเก่ง
      ค. เป็ นคนทีมีคนรักมาก                                        ่
                                                     ง. เป็ นคนทีอยูในสังคมอย่างมีความสุ ข

 .    กลวิธีในการป้ องกันและหลีกเลียงพฤติกรรมเสี ยงและสถานการณ์เสี ยงมีหลายประการ ยกเว้ นข้อใด
      ก. ทักษะการคิด                                ข. ทักษะการต่อสู ้
      ค. ทักษะการต่อรอง                             ง. ทักษะการปฏิเสธ

 .    ทักษะการปฏิเสธในข้อใดมีความสําคัญในการหลีกเลียงพฤติกรรมเสี ยงและสถานการณ์เสี ยง
      ก. ปฏิเสธทีจะแข่งขันรถจักรยานยนต์         ข. ปฏิเสธทีจะไปมัวสุ มเล่นการพนัน
      ค. ปฏิเสธทีจะใช้อินเทอร์ เน็ต             ง. ปฏิเสธทีจะใช้สารเสพติด

10. นักเรี ยนคิดว่า เราควรนําสิ งใดมาใช้ร่วมกับทักษะการคิดตัดสิ นใจ และแก้ปัญหา เพือให้สามารถ
    ป้ องกันและหลีกเลียงพฤติกรรมเสี ยงและสถานการณ์เสี ยงได้อย่างเหมาะสม
    ก. ความรอบรู ้ และประสบการณ์ชีวต     ิ           ข. ความมุ่งมัน และประสบการณ์ชีวต  ิ
    ค. ความมันคง และความกล้าหาญ                      ง. ความรอบรู ้ และความกล้าหาญ




          เฉลย        แบบทดสอบก่ อนเรียน-หลังเรียน หน่ วยการเรียนรู้ ที 10

                   1. ง          .ข          .ก           .ข           .ง
                    .ค           .ง          .ข           .ค            .ก


                                               264
แผนการจัดการเรียนรู้ ที 1

  เรือง การหลีกเลียงพฤติกรรมเสียงและสถานการณ์ เสียงต่ ออันตราย                  เวลา ชัวโมง
  หน่ วยการเรียนรู้ ที การหลีกเลียงพฤติกรรมเสี ยง                         ชันมัธยมศึกษาปี ที
                       และสถานการณ์ เสี ยงต่ ออันตราย


1.สาระสํ าคัญ/ความคิดรวบยอด
       การศึกษาวิธีหลีกเลียงและป้ องกันตนเองให้ปลอดภัยจากพฤติกรรมเสี ยงและสถานการณ์เสี ยง
ในชีวตประจําวัน จะส่ งผลให้เกิดความปลอดภัยต่อชีวตและทรัพย์สิน
     ิ                                           ิ

2.ตัวชีวัด/จุดประสงค์ การเรียนรู้
     2.1    ตัวชี วัด
            พ . ม. / อธิ บายวิธีการหลีกเลียงพฤติกรรมเสี ยงและสถานการณ์เสี ยง
     2.2    จุดประสงค์ การเรี ยนรู้
             ) บอกอันตรายทีเกิดจากพฤติกรรมเสี ยงและสถานการณ์เสี ยงได้
             ) อธิ บายวิธีการหลีกเลียงพฤติกรรมสี ยงและสถานการณ์เสี ยงได้
             ) บอกแนวทางปฏิบติทีเหมาะสมในการหลีกเลียงพฤติกรรมสี ยงและสถานการณ์เสี ยงได้
                                    ั

3.สาระการเรียนรู้
      .     สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง
               การหลีกเลียงพฤติกรรมสี ยงและสถานการณ์เสี ยง
               - การมัวสุ ม
               - การทะเลาะวิวาท
               - การเข้าไปในแหล่งอบายมุข
               - การแข่งขันจักรยานยนต์บนท้องถนน
                 ฯลฯ
      .     สาระการเรี ยนรู้ ท้องถิน
            -



                                              265
4.สมรรถนะสํ าคัญของผู้เรียน
     .      ความสามารถในการสื อสาร
     .      ความสามารถในการคิด
             ) ทักษะการคิดวิเคราะห์
             ) ทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณ
                                    ิ
     .      ความสามารถในการใช้ ทกษะชี วต
                                  ั    ิ
             ) กระบวนการทํางานกลุ่ม

5.คุณลักษณะอันพึงประสงค์
    1. ใฝ่ เรี ยนรู ้
    2. มีความรับผิดชอบ
    3. มีจิตสาธารณะ

6.กิจกรรมการเรียนรู้
    (วิธีสอนโดยการจัดการเรี ยนรู้แบบร่ วมมือ : เทคนิคคู่คิดสี สหาย (Think-Pair-Square) และ
    วิธีสอนโดยเน้ นกระบวนการ : กระบวนการคิดวิเคราะห์ )
         นักเรี ยนทําแบบทดสอบก่ อนเรียน หน่ วยการเรียนรู้ ที

                                              ชั วโมงที 1-2

    1. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสนทนาเกียวกับข่าวการเกิดเหตุการณ์ต่างๆ ทีไม่ปลอดภัย ตัวอย่างข่าว เช่น
       - ข่าวนักศึกษาช่างกลยกพวกตีกน      ั
       - ข่าววัยรุ่ นรุ มทําร้ายกันในงานคอนเสิ ร์ต
       - ข่าวเด็กโดนลูกหลงจากผูใหญ่ทะเลาะกัน
                                     ้
       แล้วครู ตงคําถามว่า นักเรี ยนมีวธีการหลีกเลียงอันตราย หรื อมีวธีป้องกันตนเองให้ปลอดภัย
                   ั                   ิ                             ิ
       จากเหตุการณ์ต่างๆ อย่างไร
    2. ครู ให้นกเรี ยนจับคู่กบเพือนสนิท แล้วให้นกเรี ยนแต่ละคู่ร่วมกันแลกเปลียนความคิดเห็น
                 ั            ั                   ั
       เกียวกับวิธีการหลีกเลียงอันตราย หรื อวิธีป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากเหตุการณ์ต่างๆ
    3. ครู ให้นกเรี ยน คู่ รวมกันเป็ น กลุ่ม (กลุ่มละ คน) แล้วให้แต่ละกลุ่มร่ วมกันแสดงความคิดเห็น
               ั
       จากนันสรุ ปวิธีการหลีกเลียงอันตราย หรื อมีวธีป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากเหตุการณ์ต่างๆ ทีเป็ น
                                                    ิ
       มติของกลุ่ม
                                                 266
. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มออกมานําเสนอผลการอภิปรายทีหน้าชันเรี ยน แล้วครู อธิ บายเพิมเติมให้นกเรี ยน
                                                                                               ั
    เข้าใจว่า การดํารงชีวิตประจําวันในปั จจุบนมีความเสี ยงต่ออันตรายทีเกิดจากพฤติกรรมเสี ยง
                                                ั
                                ่
    ของตนเอง และการอยูในสถานการณ์ทีมีความเสี ยงต่ออันตรายเป็ นอย่างมาก จึงควรรู ้จกการ   ั
    หลีกเลียงและป้ องกันเพือให้พนจากอันตรายดังกล่าว
                                     ้
 . ให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มร่ วมกันศึกษาความรู ้เรื อง การหลีกเลียงพฤติกรรมเสี ยงและสถานการณ์เสี ยง
            ั
    ต่ออันตราย จากหนังสื อเรี ยน หรื อหนังสื อค้นคว้าเพิมเติม ตามความเหมาะสม
 . ครู ให้นกเรี ยนช่วยกันวิเคราะห์ความแตกต่างของพฤติกรรมเสี ยง และสถานการณ์เสี ยง แล้วครู
                ั
    สุ่ มเรี ยกตัวแทนของแต่ละกลุ่มตอบ โดยครู คอยอธิ บายเพิมเติม เพือให้นกเรี ยนมีความรู ้ความ
                                                                          ั
    เข้าใจมากยิงขึน
 . ครู อธิ บายความหมายของคําว่า “พฤติกรรมเสี ยง และสถานการณ์เสี ยง” เพือให้นกเรี ยนมีความรู ้
                                                                                  ั
    ความเข้าใจทีตรงกัน
 . ครู กาหนดพฤติกรรมเสี ยง และสถานการณ์เสี ยงต่ออันตรายให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มร่ วมกันวิเคราะห์
          ํ                                                       ั
    ผลกระทบ หรื อผลเสี ยทีเกิดขึน และเสนอแนะวิธีแก้ไขทีเหมาะสม แล้วให้ตวแทนกลุ่มออกมาจับ
                                                                               ั
    สลากประเด็นทีครู กาหนด (อาจมีบางกลุ่มได้หวข้อซํากัน) ดังนี
                              ํ                       ั
      ) การมัวสุ ม
      ) การก่อเหตุทะเลาะวิวาท
      ) การเข้าไปยังแหล่งอบายมุข
      ) การแข่งขันรถจักรยานยนต์บนท้องถนน
      ) ภัยจากฝูงชน
 . ให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มร่ วมกันวิเคราะห์ผลกระทบ หรื อผลเสี ยทีเกิดขึน และเสนอแนะวิธีแก้ไขที
              ั
    เหมาะสม แล้วร่ วมกันวางแผนการนําเสนอความรู ้ทีหน้าชันเรี ยนในชัวโมงเรี ยนครังต่อไป
    (ครู อาจพิจารณาให้ กลุ่มที ศึกษาประเด็นเดียวกันรวมเป็ นกลุ่มใหญ่ แล้ วสรุ ปผล เพือให้ เกิดการ
    เรี ยนรู้ การทํางานร่ วมกันเป็ นกลุ่มใหญ่ มากขึน)
  . นักเรี ยนทําใบงานที . เรือง หลีกเลียงพฤติกรรมเสี ยงและสถานการณ์ เสี ยงต่ ออันตราย ( )
    เสร็ จแล้วนําส่ งครู ผสอน
                           ู้
                                        ชั วโมงที

1. ครู สนทนากับนักเรี ยนเกียวกับปั ญหาหรื ออุปสรรคในการทํางานร่ วมกัน แล้วให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่ม
                                                                              ั
   ได้เตรี ยมความพร้อมก่อนส่ งตัวแทนออกมานําเสนอความรู ้
2. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มส่ งตัวแทนออกมานําเสนอความรู ้ตามลําดับหมายเลขประเด็นทีได้รับ เมือนักเรี ยน
   แต่ละกลุ่มนําเสนอจบแล้ว ให้นกเรี ยนสรุ ปความรู ้ร่วมกัน
                                  ั
                                           267
3. ครู เสนอแนะแนวทางการหลีกเลียงพฤติกรรมเสี ยงและสถานการณ์เสี ยงต่ออันตราย แล้วให้นกเรี ยน
                                                                                              ั
        ศึกษาความรู ้เพิมเติม จากหนังสื อเรี ยน
     4. นักเรี ยนทําใบงานที . เรือง หลีกเลียงพฤติกรรมเสี ยงและสถานการณ์ เสี ยงต่ ออันตราย ( )
        เสร็ จแล้วนําส่ งครู ผสอน
                              ู้

7.การวัดและประเมินผล
              วิธีการ                          เครืองมือ                         เกณฑ์
ตรวจแบบทดสอบก่อนเรี ยน             แบบทดสอบก่อนเรี ยน                  ร้อยละ ผ่านเกณฑ์
ตรวจใบงานที .                      ใบงานที .                           ร้อยละ ผ่านเกณฑ์
ตรวจใบงานที .                      ใบงานที .                           ร้อยละ ผ่านเกณฑ์
สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุ่ม       แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุ่ม     ระดับคุณภาพ ผ่านเกณฑ์

8.สื อ/แหล่ งการเรียนรู้
     8.1   สื อการเรี ยนรู้
            ) หนังสื อเรี ยน สุ ขศึกษา ม.
           2) ตัวอย่างข่าวเกียวกับการเกิดเหตุการณ์ต่างๆ ทีไม่ปลอดภัย
            ) ใบงานที . เรื อง หลีกเลียงพฤติกรรมเสี ยงและสถานการณ์เสี ยงต่ออันตราย ( )
           4) ใบงานที . เรื อง หลีกเลียงพฤติกรรมเสี ยงและสถานการณ์เสี ยงต่ออันตราย ( )
     8.2   แหล่ งการเรียนรู้
           1) ห้องสมุด
           2) เอกสาร หรื อแผ่นพับของกระทรวงสาธารณสุ ข




                                             268
ใบงานที . เรือง หลีกเลียงพฤติกรรมเสียง
                           และสถานการณ์ เสี ยงต่ ออันตราย ( )

คําชี แจง ให้นกเรี ยนหาข่าวเกียวกับพฤติกรรมของวัยรุ่ นจากหนังสื อพิมพ์มาติดลงในใบงาน แล้ววิเคราะห์
              ั
          ตามประเด็นทีกําหนด

                                    ชือเรื อง

                                           (สาระสําคัญของข่ าว)

                                                              ทีมา



      ข่าวดังกล่าวแสดงให้เห็นพฤติกรรมเสี ยง หรื อสถานการณ์เสี ยงต่ออันตรายอย่างไร




      จากพฤติกรรมเสี ยง หรื อสถานการณ์เสี ยงต่ออันตรายในข่าว มีแนวทางในการแก้ไขอย่างไร




      จากข่าวดังกล่าว ให้ขอคิดทีเป็ นประโยชน์อย่างไร
                          ้




                                                 269
ใบงานที . เรือง หลีกเลียงพฤติกรรมเสียง
                           และสถานการณ์ เสี ยงต่ ออันตราย ( )

คําชี แจง ให้นกเรี ยนหาข่าวเกียวกับพฤติกรรมของวัยรุ่ นจากหนังสื อพิมพ์มาติดลงในใบงาน แล้ววิเคราะห์
              ั
          ตามประเด็นทีกําหนด

                                    ชือเรื อง

                                           (สาระสําคัญของข่ าว)

                                                              ทีมา



      ข่าวดังกล่าวแสดงให้เห็นพฤติกรรมเสี ยง หรื อสถานการณ์เสี ยงต่ออันตรายอย่างไร




      จากพฤติกรรมเสี ยง หรื อสถานการณ์เสี ยงต่ออันตรายในข่าว มีแนวทางในการแก้ไขอย่างไร




      จากข่าวดังกล่าว ให้ขอคิดทีเป็ นประโยชน์อย่างไร
                          ้




            (หมายเหตุ พิ จารณาตามคําตอบของนักเรี ยน โดยให้ อยู่ในดุลยพินิจของครู ผ้ สอน)
                                                                                    ู


                                                 270
ใบงานที .2 เรือง หลีกเลียงพฤติกรรมเสียง
                              และสถานการณ์ เสี ยงต่ ออันตราย ( )

คําชี แจง ให้นกเรี ยนตอบคําถามทีกําหนดให้ถูกต้อง
              ั


                              ่
        หากนักเรี ยนอาศัยอยูในพืนที หรื อชุมชนทีมีการแข่งขันรถจักรยานยนต์บนท้องถนน
        นักเรี ยนมีวธีหลีกเลียงหรื อป้ องกันอันตรายอย่างไร
                    ิ




        การหลีกเลียงพฤติกรรมเสี ยงและสถานการณ์เสี ยงต่ออันตราย มีแนวทางในการปฏิบติอย่างไร
                                                                                ั




                                               271
ใบงานที .2 เรือง หลีกเลียงพฤติกรรมเสียง
                              และสถานการณ์ เสี ยงต่ ออันตราย ( )

คําชี แจง ให้นกเรี ยนตอบคําถามทีกําหนดให้ถูกต้อง
              ั


                                  ่
        หากนักเรี ยนอาศัยอยูในพืนที หรื อชุมชนทีมีการแข่งขันรถจักรยานยนต์บนท้องถนน
        นักเรี ยนมีวธีหลีกเลียงหรื อป้ องกันอันตรายอย่างไร
                      ิ
        มีวิธีหลีกเลียงหรื อป้ องกันอันตราย ดังนี
         ) ไม่ เข้ าไปอยู่ หรื อไม่ เข้ าไปใกล้ ในบริ เวณที มีการแข่ งขันรถจักรยานยนต์
         ) หากจําเป็ นจะต้ องใช้ เส้ นทางนัน จะต้ องขับรถอย่ างระมัดระวังและขับชิ ดขอบถนน
            ด้ านซ้ าย
         ) หลีกเลียงการคบเพือนที เข้ าร่ วมการแข่ งขันรถจักรยานยนต์
         ) แจ้ งให้ เจ้ าหน้ าที ตํารวจ หรื อหน่ วยงานที เกียวข้ องทราบ




        การหลีกเลียงพฤติกรรมเสี ยงและสถานการณ์เสี ยงต่ออันตราย มีแนวทางในการปฏิบติอย่างไร  ั
        การหลีกเลียงพฤติกรรมเสี ยงและสถานการณ์ เสี ยงต่ ออันตราย มีแนวทางในการปฏิ บัติ ดังนี
         ) หลีกเลียงพฤติกรรมเสี ยงและสถานการณ์ เสี ยงต่ ออันตรายทุกชนิด
         ) หลีกเลียงการเข้ าไปในสถานที เสี ยงโดยไม่ จาเป็ น หากมีความจําเป็ นจะต้ องเข้ าไปจะต้ อง
                                                     ํ
           เพิมความระมัดระวังให้ มาก
         ) เลือกคบเพือนที มีความประพฤติดี และสามารถไว้ วางใจได้
        4) ติดตามข่ าวสารที เกียวข้ องกับอันตรายจากสื อต่ างๆ เพือใช้ เป็ นแนวทางในการป้ องกัน
           ตนเอง



            (หมายเหตุ พิ จารณาตามคําตอบของนักเรี ยน โดยให้ อยู่ในดุลยพินิจของครู ผ้ สอน)
                                                                                    ู



                                                 272
แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุ่ม

                                                                                             การร่ วม
          ชือ – สกุล    ความร่ วมมือ   การแสดง         การรับฟัง         การตังใจ                                รวม
ลําดับ                                                                                       ปรับปรุง
         ของผู้รับการ   กันทํากิจกรรม ความคิดเห็น     ความคิดเห็น         ทํางาน
   ที                                                                                       ผลงานกลุ่ม
          ประเมิน                                                                                              คะแนน




                                                          ลงชือ...................................................ผูประเมิน
                                                                                                                     ้
                                                                  ............../.................../................

         เกณฑ์ การให้ คะแนน                                 เกณฑ์ การตัดสินคุณภาพ
         ดีมาก             =                                  ช่ วงคะแนน ระดับคุณภาพ
         ดี                =                                      18-20         ดีมาก
         พอใช้             =                                      14-17           ดี
         ปรับปรุ ง         =       1                              10-13         พอใช้
                                                               ตํากว่า         ปรับปรุ ง




                                                    273
แผนการจัดการเรียนรู้ ที 2

  เรือง ทักษะชีวตในการป้ องกันตนเอง
                ิ                                                                 เวลา ชัวโมง
  หน่ วยการเรียนรู้ ที การหลีกเลียงพฤติกรรมเสี ยง                           ชันมัธยมศึกษาปี ที
                       และสถานการณ์ เสี ยงต่ ออันตราย


1.สาระสํ าคัญ/ความคิดรวบยอด
       การศึกษาและเรี ยนรู ้วธีการป้ องกันตนเอง และหลีกเลียงสถานการณ์คบขันทีอาจนําไปสู่ อนตราย
                             ิ                                        ั                  ั
เป็ นการเลือกใช้ทกษะทีดีและเหมาะสมทีสุ ดในสถานการณ์นนเพือให้เกิดความปลอดภัยกับตนเอง
                 ั                                         ั

2.ตัวชีวัด/จุดประสงค์ การเรียนรู้
     2.1    ตัวชี วัด
            พ . ม. /        ใช้ทกษะชีวตในการป้ องกันตนเองและหลีกเลียงสถานการณ์คบขัน
                                  ั   ิ                                        ั
                            ทีอาจนําไปสู่ อนตราย
                                           ั
     2.2    จุดประสงค์ การเรี ยนรู้
             ) อธิ บายทักษะชีวตในการป้ องกันตนเองได้
                                ิ
             ) นําทักษะชีวตในการป้ องกันตนเองมาปรับใช้ให้เกิดความปลอดภัยในชีวตประจําวันได้
                          ิ                                                  ิ

3.สาระการเรียนรู้
       .    สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง
               ทักษะชีวตในการป้ องกันตนเอง (ทักษะปฏิเสธ ทักษะการต่อรอง ฯลฯ) และหลีกเลียง
                        ิ
               สถานการณ์คบขันทีอาจนําไปสู่ อนตราย
                              ั             ั
       .    สาระการเรี ยนรู้ ท้องถิน
            -

4.สมรรถนะสํ าคัญของผู้เรียน
       .    ความสามารถในการสื อสาร
       .    ความสามารถในการคิด
             ) ทักษะการคิดวิเคราะห์                      ) ทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณ
                                                                              ิ
             ) ทักษะกระบวนการคิดตัดสิ นใจ
                                               274
.    ความสามารถในการใช้ ทกษะชี วต
                              ั      ิ
           ) กระบวนการทํางานกลุ่ม

5.คุณลักษณะอันพึงประสงค์
    1. ใฝ่ เรี ยนรู ้
    2. มีความรับผิดชอบ
    3. มีจิตสาธารณะ

6.กิจกรรมการเรียนรู้

                                              ชั วโมงที

     . ครู นากรณี ศึกษา เรื อง ไฟกับจีด มาให้นกเรี ยนอ่าน
            ํ                                 ั

                                               กรณีศึกษา เรือง ไฟกับจีด
                     ไฟกับจีดเป็ นเพือนต่างเพศทีมีความสนิทสนมกันมาก หลังเลิกเรี ยนเย็นวันศุกร์
            ไฟขอร้องให้จีดอยูเ่ ป็ นกําลังใจให้ เพราะต้องลงแข่งฟุตบอลเพือพนันกับรุ่ นพี ด้วยความที
                                             ่
            กลัวไฟจะเสี ยใจ จีดจึงตกลงอยูดูการแข่งขันฟุตบอล ผลการแข่งขันฟุตบอลทีมของไฟ
            เป็ นผูชนะ และหัวหน้าทีมได้ชวนไปฉลองชัยชนะกันต่อทีร้านอาหาร
                   ้
            ไฟ : วันนีเราได้เงินเกือบพันเลยนะ จีดดีใจมัย ไปฉลองด้วยกันนะจีด พอฉลอง
                       เสร็ จเราจะไปส่ งทีบ้าน ตอนนีก็ ทุ่มแล้ว ไม่อยากให้จีดกลับบ้านคนเดียว
                       ไปแป๊ บเดียว ไม่ดึกหรอก
            จีด :



     . ครู ตงประเด็นคําถาม ให้นกเรี ยนช่วยกันแสดงความคิดเห็นเกียวกับเหตุการณ์ทีเกิดขึน ดังนี
            ั                   ั
        ) การแข่งขันฟุตบอลของไฟ มีประโยชน์หรื อไม่ อย่างไร (หากไม่ มีประโยชน์ จะส่ งผลเสี ย
           อย่ างไร)
        ) หากจีดตัดสิ นใจไม่ไปร่ วมฉลองกับไฟ นักเรี ยนคิดว่า จีดคิดอะไรอยู่ และไฟจะรู ้สึกอย่างไร
        ) หากจีดตัดสิ นใจไปร่ วมฉลองกับไฟ นักเรี ยนคิดว่า จีดจะมีความเสี ยงต่ออันตรายหรื อไม่

                                                275
อย่างไร
        ) หากนักเรี ยนเป็ นจีด นักเรี ยนจะตัดสิ นใจอย่างไร เพราะเหตุใด
      โดยครู เปิ ดโอกาสให้นกเรี ยนแสดงความคิดเห็นอย่างเสรี เพือให้ได้มุมมองหรื อแนวคิดทีหลากหลาย
                              ั
3.   ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปประเด็นสําคัญทีได้จากการแสดงความคิดเห็น แล้วครู อธิ บายให้นกเรี ยน
                                                                                                  ั
     เข้าใจว่า กรณี ศึกษาทีครู นามาแสดงนีสามารถเกิดขึนได้ง่ายมากสําหรับนักเรี ยนทีอยูในช่วงวัยรุ่ น
                                 ํ                                                     ่
     นักเรี ยนจึงควรตระหนักถึงอันตรายทีจะเกิดขึน หรื อเรี ยนรู ้วธีทีจะสามารถป้ องกันอันตรายได้
                                                                 ิ
                     ่
     ซึ งจะเห็นได้วา พฤติกรรมเบืองต้นของไฟนัน ไม่เหมาะสม เพราะเป็ นการแข่งขันฟุตบอล เพือการ
     พนัน และการชักชวนเพือนต่างเพศไปฉลองชัยชนะในเวลากลางคืนเป็ นสิ งทีไม่เหมาะสม สิ งเหล่านี
     อาจเป็ นทีมาของข่าวอาชญากรรม หรื อข่าวต่างๆ ทีเกิดขึนในสังคม เช่น การข่มขืน การยกพวกตีกน       ั
     การดืมเครื องดืมทีมึนเมาแล้วเกิดการทะเลาะวิวาท เป็ นต้น
4.   ครู ให้นกเรี ยนศึกษาความรู ้เรื อง ทักษะชีวตในการป้ องกันตนเอง จากหนังสื อเรี ยน หรื อหนังสื อ
              ั                                  ิ
     ค้นคว้าเพิมเติม ตามความเหมาะสม
5.   นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ คน (คละเพศ) แล้วให้แต่ละกลุ่มร่ วมกันแสดงบทบาทสมมุติเกียวกับ
     ทักษะชีวตในการป้ องกันตนเอง ในประเด็นทีกําหนด ดังนี
                ิ
     1) ทักษะการปฏิเสธและทักษะการต่อรอง
       ) ทักษะการคิด ตัดสิ นใจ และแก้ปัญหา
6.   ให้นกเรี ยนวางแผนและฝึ กซ้อมการแสดงบทบาทสมมุติ เพือให้สามารถสื อสารกับผูชมได้เข้าใจ
           ั                                                                             ้
      แล้วครู นดหมายการแสดงบทบาทสมมุติในชัวโมงเรี ยนต่อไป
                  ั

                                             ชั วโมงที

1. ครู สอบถามถึงภาระงานทีได้มอบหมายให้ทา แล้วครู และนักเรี ยนร่ วมกันสนทนาเกียวกับปั ญหา
                                                   ํ
   และอุปสรรคในการฝึ กซ้อมการแสดงบทบาทสมมุติ เพือร่ วมกันหาแนวทางในการแก้ไขปั ญหา
   ทีเกิดขึนอย่างเหมาะสม
2. ให้นกเรี ยนออกมาแสดงบทบาทสมมุติทีละกลุ่ม แล้วให้กลุ่มอืนๆ สรุ ปแนวคิดหรื อประโยชน์
         ั
   ทีได้รับ เมือนักเรี ยนแสดงบทบาทสมมุติครบทุกกลุ่มแล้ว ให้แต่ละกลุ่มลงคะแนน กลุ่มทีได้
   คะแนนสู งสุ ด ให้ส่งตัวแทนกลุ่มออกมาพูดถึงวิธีวางแผนการทํางานร่ วมกันจนประสบความสําเร็ จ
3. ครู ชมเชยนักเรี ยนทุกกลุ่มทีให้ความร่ วมมือในการปฏิบติกิจกรรมเป็ นอย่างดี
                                                           ั
4. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู ้เรื อง ทักษะชีวตในการป้ องกันตนเอง
                                                       ิ

5. ให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มจัดป้ ายนิเทศ เรื อง ปลอดภัยไว้ก่อน โดยให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มรวบรวมข่าว
       ั                                                           ั
                                             276
ทีเกิดขึน หรื อมีสาเหตุทีเกิดจากการมีพฤติกรรมสี ยงและสถานการณ์เสี ยงมาอธิ บายและวิเคราะห์
           สาเหตุและผลกระทบทีเกิดขึน แล้วหาแนวทางการป้ องกันหรื อการใช้ทกษะในการป้ องกันตนเอง
                                                                              ั
           ทีเหมาะสม นําข้อมูลมาติดทีป้ ายนิเทศเพือเผยแพร่ ความรู ้
           นักเรี ยนทําแบบทดสอบหลังเรียน หน่ วยการเรียนรู้ ที


7.การวัดและประเมินผล

                 วิธีการ                            เครืองมือ                        เกณฑ์
ประเมินป้ ายนิ เทศ เรื อง             แบบประเมินป้ ายนิ เทศ เรื อง         ระดับคุณภาพ ผ่านเกณฑ์
ปลอดภัยไว้ก่อน                        ปลอดภัยไว้ก่อน
ประเมินการนําเสนอผลงาน                แบบประเมินการนําเสนอผลงาน            ระดับคุณภาพ ผ่านเกณฑ์
สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุ่ม          แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุ่ม      ระดับคุณภาพ ผ่านเกณฑ์
ตรวจแบบทดสอบหลังเรี ยน                แบบทดสอบหลังเรี ยน                   ร้อยละ ผ่านเกณฑ์


8.สื อ/แหล่ งการเรียนรู้
     8.1      สื อการเรี ยนรู้
               ) หนังสื อเรี ยน สุ ขศึกษา ม.
               ) กรณี ศึกษาเรื อง ไฟกับจีด
     8.2      แหล่ งการเรียนรู้
              1) ห้องสมุด
              2) เอกสาร หรื อแผ่นพับของกระทรวงสาธารณสุ ข




                                                 277
แบบประเมินป้ ายนิเทศ เรือง ปลอดภัยไว้ ก่อน

กลุ่มที
สมาชิกของกลุ่ม       .                                  .
                     .                                  .
                     .                                  .

 ลําดับ                                                                                                                  คุณภาพผลงาน
                                    รายการประเมิน
   ที
          การวิเคราะห์สาเหตุและผลกระทบทีเกิดขึนจากพฤติกรรมเสี ยงและ
          สถานการณ์เสี ยง
          การอธิ บายวิธีการหลีกเลียงพฤติกรรมเสี ยงและสถานการณ์เสี ยง
          การเสนอแนะทักษะชีวตในการป้ องกันตนเอง
                            ิ
          ความคิดสร้างสรรค์
                                                                         รวม

                                                        ลงชือ..............................................................................ผูประเมิน
                                                                                                                                             ้
                                                                                         /                           /
                                                                   ....................... ........................... ........................




เกณฑ์ การให้ คะแนน                                               เกณฑ์ การตัดสินคุณภาพ
   ดีมาก                 =      4                                      ช่ วงคะแนน ระดับคุณภาพ
   ดี                    =                                                     -        ดีมาก
   พอใช้                 =                                                     -          ดี
   ปรับปรุ ง             =      1                                             -         พอใช้
                                                                           ตํากว่า     ปรับปรุ ง




                                               278
แบบประเมินการนําเสนอผลงาน

 ลําดับ                                                                                        คุณภาพการปฏิบัติ
                                รายการประเมิน
    ที                                                                                 4                3                2                1
   1      นําเสนอเนื อหาในผลงานได้ถูกต้อง
   2      การลําดับขันตอนของเนื อเรื อง
   3      การใช้วธีการสื อสารทีเหมาะสม
                 ิ
   4      การนําเสนอผลงานอย่างสร้างสรรค์
   5      การตรงต่อเวลา
                                                            รวม

                                                      ลงชือ..............................................................................ผูประเมิน
                                                                                                                                           ้
                                                           ......................./.........................../........................



เกณฑ์ การให้ คะแนน
      ผลงานหรื อพฤติกรรมสมบูรณ์ชดเจน
                                 ั                    ให้           คะแนน
      ผลงานหรื อพฤติกรรมค่อนข้างสมบูรณ์               ให้           คะแนน
      ผลงานหรื อพฤติกรรมมีขอบกพร่ องเป็ นบางส่ วน
                           ้                          ให้           คะแนน
      ผลงานหรื อพฤติกรรมมีขอบกพร่ องมาก
                             ้                        ให้           คะแนน

เกณฑ์ การตัดสิ นคุณภาพ
           ช่ วงคะแนน            ระดับคุณภาพ
               18-20                ดีมาก
               14-17                  ดี
               10-13                พอใช้
            ตํากว่า                ปรับปรุ ง



                                                279
แบบสั งเกตพฤติกรรมการทํางานกลุ่ม


                                                                                              การแก้ ไข
          ชือ – สกุล   ความร่ วมมือ     การแสดง         การรับฟัง         การตังใจ           ปัญหาหรือ            รวม
ลําดับ
         ของผู้รับการ กันทํากิจกรรม    ความคิดเห็น     ความคิดเห็น         ทํางาน             ปรับปรุง
ที
           ประเมิน                                                                           ผลงานกลุ่ม         คะแนน




                                                           ลงชือ...................................................ผูประเมิน
                                                                                                                      ้
                                                                   ............../.................../................

         เกณฑ์ การให้ คะแนน                                  เกณฑ์ การตัดสินคุณภาพ
         ดีมาก             =                                   ช่ วงคะแนน ระดับคุณภาพ
         ดี                =                                       18-20         ดีมาก
         พอใช้             =                                       14-17           ดี
         ปรับปรุ ง         =       1                               10-13         พอใช้
                                                                ตํากว่า         ปรับปรุ ง




                                                     280
บันทึกหลังหน่ วยการเรี ยนรู้ อิงมาตรฐาน
     ตอนที     นักเรี ยนมีความรู ้ความสามารถตามมาตรฐานการเรี ยนรู ้และตัวชีวัดของหน่วยการเรี ยนรู ้
               ต่อไปนี พ . (ม. / , ม. / )
          ด้านความรู ้



                              ( จํานวน                        คน คิดเป็ นร้ อยละ                      )
          ด้านสมรรถนะสําคัญของผูเ้ รี ยน



          ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์




สรุปผลจากการประเมินชินงาน/ภาระงาน (รวบยอด) ประจําหน่ วยการเรียนรู้
  ระดับคุณภาพดีมาก      จํานวน                          คน คิดเป็ นร้ อยละ
  ระดับคุณภาพดี         จํานวน                          คน คิดเป็ นร้ อยละ
  ระดับคุณภาพพอใช้      จํานวน                         คน คิดเป็ นร้ อยละ
  ระดับคุณภาพปรับปรุง จํานวน                           คน คิดเป็ นร้ อยละ


  ปั ญหา/อุปสรรค

  แนวทางการแก้ไข



                          ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาหรือผู้ทได้ รับมอบหมาย
                                                               ี
ข้อเสนอแนะ




                                                                             ลงชือ
                                                                         (                                )
                                                                       ตําแหน่ง

                                                    281
ตอนที     การตรวจสอบคุณภาพนักเรียนเพือเตรียมความพร้ อมรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก      ร้ อยละ
          ระดับการศึกษาขันพืนฐาน
. นักเรียนมีคณธรรม จริยธรรม และค่ านิยมทีพึงประสงค์
                ุ
   . . เป็ นนักเรี ยนที ดีของโรงเรี ยน
         1) ความซือสัตย์ สุจริ ต
            ) มีวนย   ิ ั
            ) มุ่งมันในการทํางาน
   . . เป็ นลูกที ดีของพ่ อแม่ ผู้ปกครอง
                    ่
            ) อยูอย่างพอเพียง
            ) มีความเอืออาทร
            ) มีความกตัญ ูกตเวที
   . เป็ นสมาชิ กที ดีของชุมชน
            ) รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์
            ) รักความเป็ นไทย
            ) มีจิตสาธารณะ
. นักเรียนมีสุขภาพกายและสุ ขภาพจิตทีดี
    . มีสุขภาพดี มีนาหนัก ส่ วนสูง และสมรรถภาพทางกาย ตามเกณฑ์
                            ํ
         รวมทังรู้ จักดูแลตนเองให้ มีความปลอดภัย
        1) สุขภาพดี
          ) มีนาหนัก ส่วนสูง และสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์
                       ํ
          ) รู ้จกวิธีดูแลรักษาตนเองให้ปลอดภัย
                  ั
    . มีสุขภาพจิ ตดี มีมนุษยสัมพันธ์ ทีดีต่อผู้อืน และมีสุนทรี ยภาพ
          ) มีสุขภาพจิตดี
          ) มีมนุษยสัมพันธ์ดี
          ) มีสุนทรี ยภาพ
. นักเรียนมีความใฝ่ รู้ใฝ่ เรียน
   . มีนิสัยรั กการอ่ าน สนใจ แสวงหาความรู้ จากแหล่ งต่ างๆ รอบตัว และสามารถเรี ยนรู้
         ด้ วยตนเองได้
          ) รักการอ่าน สนใจการอ่าน
          ) สนใจแสวงหาความรู ้จากแหล่งต่างๆ รอบตัว
          ) สามารถเรี ยนรู ้ดวยตนเอง
                                ้
   . นักเรี ยนสามารถเรี ยนรู้ เป็ นที มได้
          ) ใช้กระบวนการเรี ยนรู ้ระหว่างกัน
          ) เรี ยนรู ้เป็ นทีม

                                                282
ตอนที    การตรวจสอบคุณภาพนักเรียนเพือเตรียมความพร้ อมรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก                      ร้ อยละ
         ระดับการศึกษาขันพืนฐาน
  . สามารถใช้ เทคโนโลยีในการเรี ยนรู้
         ) การรู ้จกเลือกใช้เทคโนโลยี
                   ั
         ) มีทกษะกระบวนการทางเทคโนโลยี
               ั
         ) มีการเรี ยนรู ้ การสื อสาร การทํางาน
. นักเรียนคิดเป็ น
   . มีความสามารถในการคิดเป็ นระบบ
         ) สามารถจําแนกแยกแยะองค์ประกอบ
         ) สามารถพิจารณาความสัมพันธ์เชือมโยง
         ) สามารถกําหนดประเด็น วิเคราะห์ประเด็น
         ) สามารถประสมประสาน และหลอมองค์ประกอบต่างๆ ได้ สามารถสรุ ปความคิดได้
            ต่อยอดความคิดได้
   . มีความสามารถในการคิดสร้ างสรรค์
         ) มีความรู ้ความเข้าใจในการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์
         ) สามารถใช้กระบวนการคิดสร้างสรรค์
         ) มีผลงานจากความคิดสร้างสรรค์
   . ความสามารถในการคิดแก้ ปัญหา
         ) มีการศึกษาข้อมูลเพือการตัดสิ นใจ
         ) ตัดสิ นใจได้อย่างสมเหตุสมผล
         ) ใช้กระบวนการในการคิดแก้ปัญหา
         ) สามารถคิดแก้ปัญหาได้
. นักเรียนมีผลสัมฤทธิตามหลักสูตร (ตามมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีวัดข้ อ...............................)
   . กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ ภาษาไทย
   . กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ คณิ ตศาสตร์
   . กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ วิทยาศาสตร์
   . กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
   . กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา
   . กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ ศิลปะ
   . กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ การงานอาชี พและเทคโนโลยี
   . กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ ภาษาต่ างประเทศ




                                                          283
บันทึก




 284

More Related Content

What's hot

สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7supap6259
 
แผน พล ม. 1 ภาค 1 ปี 54 ปิงปอง
แผน พล ม. 1 ภาค  1 ปี 54  ปิงปองแผน พล ม. 1 ภาค  1 ปี 54  ปิงปอง
แผน พล ม. 1 ภาค 1 ปี 54 ปิงปองsomchaitumdee50
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5supap6259
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2supap6259
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1supap6259
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3teerachon
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมwangasom
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4preecha2001
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบssuserf8d051
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2dnavaroj
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้าdnavaroj
 
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 วิชาสุขศึกษา 5
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1  วิชาสุขศึกษา  5ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1  วิชาสุขศึกษา  5
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 วิชาสุขศึกษา 5Tikaben Phutako
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศkrupornpana55
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรมแบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรมNutsara Mukda
 

What's hot (20)

สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
 
แผน พล ม. 1 ภาค 1 ปี 54 ปิงปอง
แผน พล ม. 1 ภาค  1 ปี 54  ปิงปองแผน พล ม. 1 ภาค  1 ปี 54  ปิงปอง
แผน พล ม. 1 ภาค 1 ปี 54 ปิงปอง
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
ชุดการสอนที่ 3 มุมภายนอกกับมุมภายใน
ชุดการสอนที่ 3  มุมภายนอกกับมุมภายในชุดการสอนที่ 3  มุมภายนอกกับมุมภายใน
ชุดการสอนที่ 3 มุมภายนอกกับมุมภายใน
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 
ข้อสอบพลศึกษาป.2
ข้อสอบพลศึกษาป.2ข้อสอบพลศึกษาป.2
ข้อสอบพลศึกษาป.2
 
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 วิชาสุขศึกษา 5
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1  วิชาสุขศึกษา  5ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1  วิชาสุขศึกษา  5
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 วิชาสุขศึกษา 5
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรมแบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม
 

Similar to สุขฯ ม.2 หน่วย 10

หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตรPat1803
 
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์Kruthai Kidsdee
 
3.แผนสุขศึกษาหลีกเลี่ยงความรุนแรงม. 3
3.แผนสุขศึกษาหลีกเลี่ยงความรุนแรงม. 33.แผนสุขศึกษาหลีกเลี่ยงความรุนแรงม. 3
3.แผนสุขศึกษาหลีกเลี่ยงความรุนแรงม. 3Kruthai Kidsdee
 
นำเสนอ23สิงหาคม
นำเสนอ23สิงหาคมนำเสนอ23สิงหาคม
นำเสนอ23สิงหาคมAtima Teraksee
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาtassanee chaicharoen
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านKanjana Pothinam
 
Unit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียน
Unit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียนUnit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียน
Unit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียนKasem S. Mcu
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2tassanee chaicharoen
 
เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนkittitach06709
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 3
สุขฯ ม.2 หน่วย 3สุขฯ ม.2 หน่วย 3
สุขฯ ม.2 หน่วย 3supap6259
 
แผนการเรียนรู้บูรณาการ
แผนการเรียนรู้บูรณาการแผนการเรียนรู้บูรณาการ
แผนการเรียนรู้บูรณาการtassanee chaicharoen
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาtassanee chaicharoen
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012tassanee chaicharoen
 
ทรรศนะ2
ทรรศนะ2ทรรศนะ2
ทรรศนะ2krubuatoom
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาtassanee chaicharoen
 
Learning task behavio final
Learning task behavio finalLearning task behavio final
Learning task behavio finalPtato Ok
 

Similar to สุขฯ ม.2 หน่วย 10 (20)

หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตร
 
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์
 
3.แผนสุขศึกษาหลีกเลี่ยงความรุนแรงม. 3
3.แผนสุขศึกษาหลีกเลี่ยงความรุนแรงม. 33.แผนสุขศึกษาหลีกเลี่ยงความรุนแรงม. 3
3.แผนสุขศึกษาหลีกเลี่ยงความรุนแรงม. 3
 
นำเสนอ23สิงหาคม
นำเสนอ23สิงหาคมนำเสนอ23สิงหาคม
นำเสนอ23สิงหาคม
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
 
Unit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียน
Unit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียนUnit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียน
Unit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียน
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
 
เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอน
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 3
สุขฯ ม.2 หน่วย 3สุขฯ ม.2 หน่วย 3
สุขฯ ม.2 หน่วย 3
 
แผนการเรียนรู้บูรณาการ
แผนการเรียนรู้บูรณาการแผนการเรียนรู้บูรณาการ
แผนการเรียนรู้บูรณาการ
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
 
บทบาทบริหารกิจการนักเรียน
บทบาทบริหารกิจการนักเรียนบทบาทบริหารกิจการนักเรียน
บทบาทบริหารกิจการนักเรียน
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
 
ทดลองส่ง 538144213
ทดลองส่ง 538144213ทดลองส่ง 538144213
ทดลองส่ง 538144213
 
ทรรศนะ2
ทรรศนะ2ทรรศนะ2
ทรรศนะ2
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
 
Learning task behavio final
Learning task behavio finalLearning task behavio final
Learning task behavio final
 
Learning task behavio final
Learning task behavio finalLearning task behavio final
Learning task behavio final
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 

สุขฯ ม.2 หน่วย 10

  • 1. หน่ วยการเรียนรู้ ที การหลีกเลียงพฤติกรรมเสี ยงและสถานการณ์ เสี ยงต่ ออันตราย รายวิชา สุ ขศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุ ขศึกษาและพลศึกษา ชันมัธยมศึกษาปี ที เวลาเรียน ชัวโมง 1.มาตรฐานการเรียนรู้ /ตัวชีวัด พ . ม. / อธิ บายวิธีการหลีกเลียงพฤติกรรมสี ยงและสถานการณ์เสี ยง ม. / ใช้ทกษะชีวตในการป้ องกันตนเองและหลีกเลียงสถานการณ์คบขัน ั ิ ั ทีอาจนําไปสู่ อนตราย ั 2.สาระสํ าคัญ/ความคิดรวบยอด พฤติกรรมเสี ยงและสถานการณ์เสี ยงส่ งผลให้เกิดอันตรายต่อชีวิตและทรัพย์สิน เราจึงควรศึกษาวิธี หลีกเลียงและใช้ทกษะในการป้ องกันตนเองทีเหมาะสมกับสถานการณ์ทีเกิดขึน ั 3.สาระการเรียนรู้ . สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง 1) การหลีกเลียงพฤติกรรมเสี ยงและสถานการณ์เสี ยง - การมัวสุ ม - การทะเลาะวิวาท - การเข้าไปในแหล่งอบายมุข - การแข่งขันจักรยานยนต์บนท้องถนน ฯลฯ 2) ทักษะชีวตในการป้ องกันตนเอง (ทักษะปฏิเสธ ทักษะการต่อรอง ฯลฯ) และหลีกเลียง ิ สถานการณ์คบขันทีอาจนําไปสู่ อนตราย ั ั . สาระการเรี ยนรู้ ท้องถิน - 4.สมรรถนะสํ าคัญของผู้เรียน . ความสามารถในการสื อสาร . ความสามารถในการคิด ) ทักษะการคิดวิเคราะห์ ) ทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณ ิ ) ทักษะกระบวนการคิดตัดสิ นใจ 256
  • 2. . ความสามารถในการใช้ ทกษะชี วต ั ิ ) กระบวนการทํางานกลุ่ม 5.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ใฝ่ เรี ยนรู ้ 2. มีความรับผิดชอบ 3. มีจิตสาธารณะ 6.ชินงาน/ภาระงาน (รวบยอด) ป้ ายนิเทศ เรื อง ปลอดภัยไว้ก่อน 7.การวัดและการประเมินผล . การประเมินก่ อนเรียน - แบบทดสอบก่อนเรี ยน หน่วยการเรี ยนรู ้ที . การประเมินระหว่ างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ) ใบงานที . เรื อง หลีกเลียงพฤติกรรมเสี ยงและสถานการณ์เสี ยงต่ออันตราย ( ) 2) ใบงานที . เรื อง หลีกเลียงพฤติกรรมเสี ยงและสถานการณ์เสี ยงต่ออันตราย ( ) ) ประเมินการนําเสนอผลงาน ) สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุ่ม . การประเมินหลังเรียน - แบบทดสอบหลังเรี ยน หน่วยการเรี ยนรู ้ที . การประเมินชิ นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) - ประเมินป้ ายนิ เทศ เรื อง ปลอดภัยไว้ก่อน 8.กิจกรรมการเรียนรู้ นักเรี ยนทําแบบทดสอบก่ อนเรียน หน่ วยการเรียนรู้ ที กิจกรรมที การหลีกเลียงพฤติกรรมเสี ยงและสถานการณ์ เสี ยงต่ ออันตราย วิธีสอนโดยการจัดการเรี ยนรู้ แบบร่ วมมือ : เทคนิคคู่คิดสี สหาย (Think-Pair-Square) และวิธีสอนโดยเน้ นกระบวนการ : กระบวนการคิดวิเคราะห์ เวลา ชั วโมง 257
  • 3. 1. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสนทนาเกียวกับข่าวการเกิดเหตุการณ์ต่างๆ ทีไม่ปลอดภัย แล้วครู ตงคําถาม ั ว่า นักเรี ยนมีวธีการหลีกเลียงอันตราย หรื อมีวธีป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากเหตุการณ์ต่างๆ ิ ิ อย่างไร 2. ครู ให้นกเรี ยนจับคู่กบเพือนสนิท แล้วให้นกเรี ยนแต่ละคู่แลกเปลียนความคิดเห็นเกียวกับวิธีการ ั ั ั หลีกเลียงอันตราย หรื อวิธีป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากเหตุการณ์ต่างๆ 3. ครู ให้นกเรี ยน คู่ รวมกันเป็ น กลุ่ม (กลุ่มละ คน) แล้วให้แต่ละกลุ่มร่ วมกันแสดงความคิดเห็น ั จากนันสรุ ปวิธีการหลีกเลียงอันตราย หรื อมีวธีป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากเหตุการณ์ต่างๆ ทีเป็ น ิ มติของกลุ่ม 4. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มออกมานําเสนอผลการอภิปรายทีหน้าชันเรี ยน แล้วครู อธิ บายเพิมเติมให้นกเรี ยน ั เข้าใจว่า การดํารงชีวิตประจําวันในปั จจุบนมีความเสี ยงต่ออันตรายทีเกิดจากพฤติกรรมเสี ยงของ ั ่ ตนเอง และการอยูในสถานการณ์ทีมีความเสี ยงต่ออันตรายเป็ นอย่างมาก จึงควรรู ้จกการหลีกเลียง ั และป้ องกันเพือให้พนจากอันตรายดังกล่าว ้ 5. ให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มร่ วมกันศึกษาความรู ้เรื อง การหลีกเลียงพฤติกรรมเสี ยงและสถานการณ์เสี ยง ั ต่ออันตราย จากหนังสื อเรี ยน หรื อหนังสื อค้นคว้าเพิมเติม ตามความเหมาะสม 6. ครู ให้นกเรี ยนช่วยกันวิเคราะห์ความแตกต่างของพฤติกรรมเสี ยง และสถานการณ์เสี ยง แล้วครู ั สุ่ มเรี ยกตัวแทนของแต่ละกลุ่มตอบ โดยครู คอยอธิ บายเพิมเติม เพือให้นกเรี ยนมีความรู ้ความ ั เข้าใจมากยิงขึน 7. ครู อธิ บายความหมายของคําว่า “พฤติกรรมเสี ยง และสถานการณ์เสี ยง” เพือให้นกเรี ยนมีความรู ้ ั ความเข้าใจทีตรงกัน 8. ครู กาหนดพฤติกรรมเสี ยง และสถานการณ์เสี ยงต่ออันตรายให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มร่ วมกันวิเคราะห์ ํ ั ผลกระทบ หรื อผลเสี ยทีเกิดขึน และเสนอแนะวิธีแก้ไขทีเหมาะสม แล้วให้ตวแทนกลุ่มออกมาจับ ั สลากประเด็นทีครู กาหนด (อาจมีบางกลุ่มได้หวข้อซํากัน) ดังนี ํ ั 1) การมัวสุ ม 2) การก่อเหตุทะเลาะวิวาท 3) การเข้าไปยังแหล่งอบายมุข 4) การแข่งขันรถจักรยานยนต์บนท้องถนน 5) ภัยจากฝูงชน 9. ให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มร่ วมกันวิเคราะห์ผลกระทบ หรื อผลเสี ยทีเกิดขึน และเสนอแนะวิธีแก้ไขที ั เหมาะสม แล้วร่ วมกันวางแผนการนําเสนอความรู ้ทีหน้าชันเรี ยนในชัวโมงเรี ยนครังต่อไป (ครู อาจพิจารณาให้ กลุ่มที ศึกษาประเด็นเดียวกันรวมเป็ นกลุ่มใหญ่ แล้ วสรุ ปผล เพือให้ เกิดการ เรี ยนรู้ การทํางานร่ วมกันเป็ นกลุ่มใหญ่ มากขึน) 258
  • 4. 10. นักเรี ยนทําใบงานที . เรือง หลีกเลียงพฤติกรรมเสี ยงและสถานการณ์ เสี ยงต่ ออันตราย ( ) เสร็ จแล้วนําส่ งครู ผสอน ู้ 11. ครู สนทนากับนักเรี ยนเกียวกับปั ญหาหรื ออุปสรรคในการทํางานร่ วมกัน แล้วให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่ม ั ได้เตรี ยมความพร้อมก่อนส่ งตัวแทนออกมานําเสนอความรู ้ 12. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มส่ งตัวแทนออกมานําเสนอความรู ้ตามลําดับหมายเลขประเด็นทีได้รับ เมือนักเรี ยน แต่ละกลุ่มนําเสนอจบแล้ว ให้นกเรี ยนสรุ ปความรู ้ร่วมกัน ั 13. ครู เสนอแนะแนวทางการหลีกเลียงพฤติกรรมเสี ยงและสถานการณ์เสี ยงต่ออันตราย แล้วให้นกเรี ยน ั ศึกษาความรู ้เพิมเติม จากหนังสื อเรี ยน 14. นักเรี ยนทําใบงานที . เรือง หลีกเลียงพฤติกรรมเสี ยงและสถานการณ์ เสี ยงต่ ออันตราย ( ) เสร็ จแล้วนําส่ งครู ผสอน ู้ กิจกรรมที ทักษะชี วตในการปองกันตนเอง ิ ้ วิธีสอนแบบกรณีศึกษา และวิธีสอนโดยเน้ นกระบวนการ : กระบวนการคิดวิเคราะห์ เวลา ชั วโมง 1. ครู นากรณี ศึกษา เรื อง ไฟกับจีด มาให้นกเรี ยนอ่าน แล้วครู ตงประเด็นคําถาม ให้นกเรี ยนช่วยกัน ํ ั ั ั แสดงความคิดเห็นเกียวกับเหตุการณ์ทีเกิดขึน โดยครู เปิ ดโอกาสให้นกเรี ยนแสดงความคิดเห็น ั อย่างเสรี เพือให้ได้มุมมองหรื อแนวคิดทีหลากหลาย 2. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปประเด็นสําคัญทีได้จากการแสดงความคิดเห็น แล้วครู อธิ บายให้นกเรี ยน ั เข้าใจว่า กรณี ศึกษาทีครู นามาแสดงนีสามารถเกิดขึนได้ง่ายมากสําหรับนักเรี ยนทีอยูในช่วงวัยรุ่ น ํ ่ นักเรี ยนจึงควรตระหนักถึงอันตรายทีจะเกิดขึน หรื อเรี ยนรู ้วธีทีจะสามารถป้ องกันอันตรายได้ ิ ่ ซึ งจะเห็นได้วา พฤติกรรมเบืองต้นของไฟนัน ไม่เหมาะสม เพราะเป็ นการแข่งขันฟุตบอล เพือการ พนัน และการชักชวนเพือนต่างเพศไปฉลองชัยชนะในเวลากลางคืนเป็ นสิ งทีไม่เหมาะสม สิ งเหล่านี อาจเป็ นทีมาของข่าวอาชญากรรม หรื อข่าวต่างๆ ทีเกิดขึนในสังคม เช่น การข่มขืน การยกพวกตีกน ั การดืมเครื องดืมทีมึนเมาแล้วเกิดการทะเลาะวิวาท เป็ นต้น 3. ครู ให้นกเรี ยนศึกษาความรู ้เรื อง ทักษะชีวตในการป้ องกันตนเอง จากหนังสื อเรี ยน หรื อหนังสื อ ั ิ ค้นคว้าเพิมเติม ตามความเหมาะสม 4. นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ คน (คละเพศ) แล้วให้แต่ละกลุ่มร่ วมกันแสดงบทบาทสมมุติเกียวกับ ทักษะชีวตในการป้ องกันตนเอง ในประเด็นทีกําหนด ดังนี ิ 1) ทักษะการปฏิเสธและทักษะการต่อรอง 2) ทักษะการคิด ตัดสิ นใจ และแก้ปัญหา 259
  • 5. 5. ให้นกเรี ยนวางแผนและฝึ กซ้อมการแสดงบทบาทสมมุติ เพือให้สามารถสื อสารกับผูชมได้เข้าใจ ั ้ 6. ครู สอบถามถึงภาระงานทีได้มอบหมายให้ทา แล้วครู และนักเรี ยนร่ วมกันสนทนาเกียวกับปั ญหา ํ และอุปสรรคในการฝึ กซ้อมการแสดงบทบาทสมมุติ เพือร่ วมกันหาแนวทางในการแก้ไขปั ญหา ทีเกิดขึนอย่างเหมาะสม 7. ให้นกเรี ยนออกมาแสดงบทบาทสมมุติทีละกลุ่ม แล้วให้กลุ่มอืนๆ สรุ ปแนวคิดหรื อประโยชน์ ั ทีได้รับ เมือนักเรี ยนแสดงบทบาทสมมุติครบทุกกลุ่มแล้ว ให้แต่ละกลุ่มลงคะแนน กลุ่มทีได้ คะแนนสู งสุ ด ให้ส่งตัวแทนกลุ่มออกมาพูดถึงวิธีวางแผนการทํางานร่ วมกันจนประสบความสําเร็ จ 8. ครู ชมเชยนักเรี ยนทุกกลุ่มทีให้ความร่ วมมือในการปฏิบติกิจกรรมเป็ นอย่างดี ั 9. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู ้เรื อง ทักษะชีวตในการป้ องกันตนเอง ิ 10. ให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มจัดป้ ายนิเทศ เรื อง ปลอดภัยไว้ก่อน โดยให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มรวบรวมข่าว ั ั ทีเกิดขึน หรื อมีสาเหตุทีเกิดจากการมีพฤติกรรมสี ยงและสถานการณ์เสี ยงมาอธิ บายและวิเคราะห์ สาเหตุและผลกระทบทีเกิดขึน แล้วหาแนวทางการป้ องกันหรื อการใช้ทกษะในการป้ องกันตนเอง ั ทีเหมาะสม นําข้อมูลมาติดทีป้ ายนิเทศเพือเผยแพร่ ความรู ้ นักเรี ยนทําแบบทดสอบหลังเรียน หน่ วยการเรียนรู้ ที 9.สื อ/แหล่ งการเรียนรู้ 9.1 สื อการเรี ยนรู้ 1) หนังสื อเรี ยน สุ ขศึกษา ม. 2) ตัวอย่างข่าวเกียวกับการเกิดเหตุการณ์ต่างๆ ทีไม่ปลอดภัย ) กรณี ศึกษา เรื อง ไฟกับจีด ) ใบงานที . เรื อง หลีกเลียงพฤติกรรมเสี ยงและสถานการณ์เสี ยงต่ออันตราย ( ) 5) ใบงานที . เรื อง หลีกเลียงพฤติกรรมเสี ยงและสถานการณ์เสี ยงต่ออันตราย ( ) . แหล่ งการเรียนรู้ ) ห้องสมุด 2) เอกสาร หรื อแผ่นพับของกระทรวงสาธารณสุ ข 260
  • 6. การประเมินชินงาน/ภาระงาน (รวบยอด) แบบประเมินป้ ายนิเทศ เรือง ปลอดภัยไว้ ก่อน คําอธิบายระดับคุณภาพ/ระดับคะแนน รายการประเมิน ดีมาก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง ( ) . การวิเคราะห์ วิเคราะห์สาเหตุและ วิเคราะห์สาเหตุและ วิเคราะห์สาเหตุและ วิเคราะห์สาเหตุและ สาเหตุและ ผลกระทบทีเกิดขึน ผลกระทบทีเกิดขึน ผลกระทบทีเกิดขึน ผลกระทบทีเกิดขึน ผลกระทบ จากพฤติกรรมเสี ยง จากพฤติกรรมเสี ยง จากพฤติกรรมเสี ยง จากพฤติกรรมเสี ยง ทีเกิดขึนจาก และสถานการณ์เสี ยง และสถานการณ์เสี ยง และสถานการณ์เสี ยง และสถานการณ์เสี ยง พฤติกรรมเสียง ได้ถูกต้อง ชัดเจน ได้ถูกต้อง ชัดเจน ได้ถูกต้อง ชัดเจน ได้ถูกต้อง ชัดเจน และสถานการณ์ ทุกประเด็น เป็ นส่วนใหญ่ เป็ นบางส่วน เพียงส่วนน้อย เสี ยง . การอธิบายวิธีการ อธิบายวิธีการหลีกเลียง อธิบายวิธีการหลีกเลียง อธิบายวิธีการหลีกเลียง อธิบายวิธีการหลีกเลียง หลีกเลียง พฤติกรรมเสี ยงและ พฤติกรรมเสี ยงและ พฤติกรรมเสี ยงและ พฤติกรรมเสี ยงและ พฤติกรรมสียง สถานการณ์เสี ยง สถานการณ์เสี ยง สถานการณ์เสี ยง สถานการณ์เสี ยง และสถานการณ์ ได้ถูกต้อง ชัดเจน ได้ถูกต้อง ชัดเจนเป็ น ได้ถูกต้องเป็ นบางส่วน ได้ถูกต้องเพียง เสี ยง และนําไปปฏิบติ ั ส่วนใหญ่ และนําไป และนําไปปฏิบติได้ง่าย ั ส่วนน้อย และนําไป ได้ง่าย ปฏิบติได้ง่าย ั ปฏิบติได้ยาก ั . การเสนอแนะ เสนอแนะทักษะชีวต ิ เสนอแนะทักษะชีวต ิ เสนอแนะทักษะชีวต เสนอแนะทักษะชีวต ิ ิ ทักษะชีวตใน ิ ในการป้ องกันตนเอง ในการป้ องกันตนเอง ในการป้ องกันตนเอง ในการป้ องกันตนเอง การป้ องกัน ได้ถูกต้อง เหมาะสม ได้ถูกต้อง เหมาะสม ได้ถูกต้อง เหมาะสม ได้ถูกต้อง เหมาะสม ตนเอง กับสถานการณ์ กับสถานการณ์เป็ น กับสถานการณ์เป็ น กับสถานการณ์ มากทีสุด ส่วนใหญ่ บางส่วน เพียงส่วนน้อย . ความคิด ป้ ายนิเทศมีความ ป้ ายนิเทศมีความ ป้ ายนิเทศมีความ ป้ ายนิเทศมีความ สร้ างสรรค์ สวยงาม แปลกใหม่ สวยงาม แปลกใหม่ สวยงาม มีลกษณะ ั สวยงาม มีลกษณะ ั ไม่ซาแบบใคร แสดง ํ ไม่ซาแบบใคร แสดง ํ คล้ายคลึงกับแบบ คล้ายคลึงกับแบบ ให้เห็นถึงความคิด ให้เห็นถึงความคิด ทัวไป เชือมโยงข้อมูล ทัวไป เชือมโยงข้อมูล สร้างสรรค์ เชือมโยง สร้างสรรค์ เชือมโยง บนป้ ายนิเทศอย่าง บนป้ ายนิเทศอย่าง ข้อมูลบนป้ ายนิเทศ ข้อมูลบนป้ ายนิเทศ เป็ นระบบ เป็ นระบบ อย่างเป็ นระบบ อย่างเป็ นระบบ เป็ นบางส่วน เพียงส่วนน้อย เป็ นส่วนใหญ่ 261
  • 7. เกณฑ์ การตัดสิ นคุณภาพ ช่ วงคะแนน ระดับคุณภาพ - ดีมาก - ดี - พอใช้ ตํากว่า ปรับปรุ ง 262
  • 8. แบบทดสอบก่ อนเรียน-หลังเรียน หน่ วยการเรียนรู้ ที คําชี แจง ให้นกเรี ยนเลือกคําตอบทีถูกต้องทีสุ ดเพียงข้อเดียว ั 1. ่ บุคคลในข้อใดอยูในมีพฤติกรรมทีเสี ยงต่ออันตราย ก. ออมไปเรี ยนดนตรี ไทยทุกวันอาทิตย์ ข. อ้อมไปทําบุญทีวัดกับคุณยายในวันพระ ค. อัมชวนเพือนๆ มาเล่นฟุตบอลหลังเลิกเรี ยน ง. อ้นชอบไปเล่นเกมคอมพิวเตอร์ ทีร้านอินเทอร์ เน็ตเป็ นประจํา . การมัวสุ มเล่นเกมคอมพิวเตอร์ ทําให้เกิดผลเสี ยมากมาย ยกเว้ นข้อใด ก. ผลการเรี ยนตกตํา ข. ใช้คอมพิวเตอร์ ได้เก่งขึน ค. เป็ นโรคกระเพาะอาหารอักเสบ ง. เกิดพฤติกรรมเลียนแบบความรุ นแรงจากเกมคอมพิวเตอร์ . หากนักเรี ยนต้องการพักผ่อน นักเรี ยนควรไปสถานทีใด เพือหลีกเลียงสถานการณ์เสี ยง ก. สวนสาธารณะ ข. บ่อนการพนัน ค. สถานเริ งรมย์ต่างๆ ง. ร้านเกมคอมพิวเตอร์ 4. ข้อใดไม่ ใช่ ปัญหาและผลกระทบจากการแข่งขันรถจักรยานยนต์บนท้องถนน ก. ก่อให้เกิดมลพิษทางเสี ยง และเกิดปั ญหาการจราจร ข. ได้เป็ นตัวแทนไปแข่งขันรถจักรยานยนต์ ค. การจราจรติดขัด และอาจเกิดอุบติเหตุได้ ั ง. อาจถูกตํารวจจับดําเนิ นคดีได้ . ใครหลีกเลียงพฤติกรรมเสี ยงและสถานการณ์เสี ยงต่ออันตรายได้อย่างเหมาะสม ก. สนชอบนัดเพือนไปดืมเหล้าในตึกร้าง ข. สาวไปไหนกับเพือนๆ เป็ นกลุ่มใหญ่เสมอ ค. นุ่นชอบไปเทียวสถานทีทีมีคนเยอะๆ เพราะทําให้รู้สึกคึกคัก ่ ง. นิมคบเพือนทีมีความประพฤติดีและอยูในทํานองคลองธรรม 263
  • 9. . ทักษะชีวต คืออะไร ิ ก. การฝึ กฝนทุกอย่างให้ชานาญ ํ ข. การยอมทําตามผูอืน เพือให้ได้รับการยอมรับ ้ ิ ่ ค. ทักษะการใช้ชีวตอยูในสังคมได้อย่างมีความสุ ข ง. การเข้าใจความเป็ นไปของชี วตมนุษย์ ตามหลักพระพุทธศาสนา ิ . บุคคลทีมีทกษะชีวตทีดีจะเป็ นอย่างไร ั ิ ก. เป็ นคนดี ข. เป็ นคนเก่ง ค. เป็ นคนทีมีคนรักมาก ่ ง. เป็ นคนทีอยูในสังคมอย่างมีความสุ ข . กลวิธีในการป้ องกันและหลีกเลียงพฤติกรรมเสี ยงและสถานการณ์เสี ยงมีหลายประการ ยกเว้ นข้อใด ก. ทักษะการคิด ข. ทักษะการต่อสู ้ ค. ทักษะการต่อรอง ง. ทักษะการปฏิเสธ . ทักษะการปฏิเสธในข้อใดมีความสําคัญในการหลีกเลียงพฤติกรรมเสี ยงและสถานการณ์เสี ยง ก. ปฏิเสธทีจะแข่งขันรถจักรยานยนต์ ข. ปฏิเสธทีจะไปมัวสุ มเล่นการพนัน ค. ปฏิเสธทีจะใช้อินเทอร์ เน็ต ง. ปฏิเสธทีจะใช้สารเสพติด 10. นักเรี ยนคิดว่า เราควรนําสิ งใดมาใช้ร่วมกับทักษะการคิดตัดสิ นใจ และแก้ปัญหา เพือให้สามารถ ป้ องกันและหลีกเลียงพฤติกรรมเสี ยงและสถานการณ์เสี ยงได้อย่างเหมาะสม ก. ความรอบรู ้ และประสบการณ์ชีวต ิ ข. ความมุ่งมัน และประสบการณ์ชีวต ิ ค. ความมันคง และความกล้าหาญ ง. ความรอบรู ้ และความกล้าหาญ เฉลย แบบทดสอบก่ อนเรียน-หลังเรียน หน่ วยการเรียนรู้ ที 10 1. ง .ข .ก .ข .ง .ค .ง .ข .ค .ก 264
  • 10. แผนการจัดการเรียนรู้ ที 1 เรือง การหลีกเลียงพฤติกรรมเสียงและสถานการณ์ เสียงต่ ออันตราย เวลา ชัวโมง หน่ วยการเรียนรู้ ที การหลีกเลียงพฤติกรรมเสี ยง ชันมัธยมศึกษาปี ที และสถานการณ์ เสี ยงต่ ออันตราย 1.สาระสํ าคัญ/ความคิดรวบยอด การศึกษาวิธีหลีกเลียงและป้ องกันตนเองให้ปลอดภัยจากพฤติกรรมเสี ยงและสถานการณ์เสี ยง ในชีวตประจําวัน จะส่ งผลให้เกิดความปลอดภัยต่อชีวตและทรัพย์สิน ิ ิ 2.ตัวชีวัด/จุดประสงค์ การเรียนรู้ 2.1 ตัวชี วัด พ . ม. / อธิ บายวิธีการหลีกเลียงพฤติกรรมเสี ยงและสถานการณ์เสี ยง 2.2 จุดประสงค์ การเรี ยนรู้ ) บอกอันตรายทีเกิดจากพฤติกรรมเสี ยงและสถานการณ์เสี ยงได้ ) อธิ บายวิธีการหลีกเลียงพฤติกรรมสี ยงและสถานการณ์เสี ยงได้ ) บอกแนวทางปฏิบติทีเหมาะสมในการหลีกเลียงพฤติกรรมสี ยงและสถานการณ์เสี ยงได้ ั 3.สาระการเรียนรู้ . สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง การหลีกเลียงพฤติกรรมสี ยงและสถานการณ์เสี ยง - การมัวสุ ม - การทะเลาะวิวาท - การเข้าไปในแหล่งอบายมุข - การแข่งขันจักรยานยนต์บนท้องถนน ฯลฯ . สาระการเรี ยนรู้ ท้องถิน - 265
  • 11. 4.สมรรถนะสํ าคัญของผู้เรียน . ความสามารถในการสื อสาร . ความสามารถในการคิด ) ทักษะการคิดวิเคราะห์ ) ทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณ ิ . ความสามารถในการใช้ ทกษะชี วต ั ิ ) กระบวนการทํางานกลุ่ม 5.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ใฝ่ เรี ยนรู ้ 2. มีความรับผิดชอบ 3. มีจิตสาธารณะ 6.กิจกรรมการเรียนรู้ (วิธีสอนโดยการจัดการเรี ยนรู้แบบร่ วมมือ : เทคนิคคู่คิดสี สหาย (Think-Pair-Square) และ วิธีสอนโดยเน้ นกระบวนการ : กระบวนการคิดวิเคราะห์ ) นักเรี ยนทําแบบทดสอบก่ อนเรียน หน่ วยการเรียนรู้ ที ชั วโมงที 1-2 1. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสนทนาเกียวกับข่าวการเกิดเหตุการณ์ต่างๆ ทีไม่ปลอดภัย ตัวอย่างข่าว เช่น - ข่าวนักศึกษาช่างกลยกพวกตีกน ั - ข่าววัยรุ่ นรุ มทําร้ายกันในงานคอนเสิ ร์ต - ข่าวเด็กโดนลูกหลงจากผูใหญ่ทะเลาะกัน ้ แล้วครู ตงคําถามว่า นักเรี ยนมีวธีการหลีกเลียงอันตราย หรื อมีวธีป้องกันตนเองให้ปลอดภัย ั ิ ิ จากเหตุการณ์ต่างๆ อย่างไร 2. ครู ให้นกเรี ยนจับคู่กบเพือนสนิท แล้วให้นกเรี ยนแต่ละคู่ร่วมกันแลกเปลียนความคิดเห็น ั ั ั เกียวกับวิธีการหลีกเลียงอันตราย หรื อวิธีป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากเหตุการณ์ต่างๆ 3. ครู ให้นกเรี ยน คู่ รวมกันเป็ น กลุ่ม (กลุ่มละ คน) แล้วให้แต่ละกลุ่มร่ วมกันแสดงความคิดเห็น ั จากนันสรุ ปวิธีการหลีกเลียงอันตราย หรื อมีวธีป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากเหตุการณ์ต่างๆ ทีเป็ น ิ มติของกลุ่ม 266
  • 12. . นักเรี ยนแต่ละกลุ่มออกมานําเสนอผลการอภิปรายทีหน้าชันเรี ยน แล้วครู อธิ บายเพิมเติมให้นกเรี ยน ั เข้าใจว่า การดํารงชีวิตประจําวันในปั จจุบนมีความเสี ยงต่ออันตรายทีเกิดจากพฤติกรรมเสี ยง ั ่ ของตนเอง และการอยูในสถานการณ์ทีมีความเสี ยงต่ออันตรายเป็ นอย่างมาก จึงควรรู ้จกการ ั หลีกเลียงและป้ องกันเพือให้พนจากอันตรายดังกล่าว ้ . ให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มร่ วมกันศึกษาความรู ้เรื อง การหลีกเลียงพฤติกรรมเสี ยงและสถานการณ์เสี ยง ั ต่ออันตราย จากหนังสื อเรี ยน หรื อหนังสื อค้นคว้าเพิมเติม ตามความเหมาะสม . ครู ให้นกเรี ยนช่วยกันวิเคราะห์ความแตกต่างของพฤติกรรมเสี ยง และสถานการณ์เสี ยง แล้วครู ั สุ่ มเรี ยกตัวแทนของแต่ละกลุ่มตอบ โดยครู คอยอธิ บายเพิมเติม เพือให้นกเรี ยนมีความรู ้ความ ั เข้าใจมากยิงขึน . ครู อธิ บายความหมายของคําว่า “พฤติกรรมเสี ยง และสถานการณ์เสี ยง” เพือให้นกเรี ยนมีความรู ้ ั ความเข้าใจทีตรงกัน . ครู กาหนดพฤติกรรมเสี ยง และสถานการณ์เสี ยงต่ออันตรายให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มร่ วมกันวิเคราะห์ ํ ั ผลกระทบ หรื อผลเสี ยทีเกิดขึน และเสนอแนะวิธีแก้ไขทีเหมาะสม แล้วให้ตวแทนกลุ่มออกมาจับ ั สลากประเด็นทีครู กาหนด (อาจมีบางกลุ่มได้หวข้อซํากัน) ดังนี ํ ั ) การมัวสุ ม ) การก่อเหตุทะเลาะวิวาท ) การเข้าไปยังแหล่งอบายมุข ) การแข่งขันรถจักรยานยนต์บนท้องถนน ) ภัยจากฝูงชน . ให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มร่ วมกันวิเคราะห์ผลกระทบ หรื อผลเสี ยทีเกิดขึน และเสนอแนะวิธีแก้ไขที ั เหมาะสม แล้วร่ วมกันวางแผนการนําเสนอความรู ้ทีหน้าชันเรี ยนในชัวโมงเรี ยนครังต่อไป (ครู อาจพิจารณาให้ กลุ่มที ศึกษาประเด็นเดียวกันรวมเป็ นกลุ่มใหญ่ แล้ วสรุ ปผล เพือให้ เกิดการ เรี ยนรู้ การทํางานร่ วมกันเป็ นกลุ่มใหญ่ มากขึน) . นักเรี ยนทําใบงานที . เรือง หลีกเลียงพฤติกรรมเสี ยงและสถานการณ์ เสี ยงต่ ออันตราย ( ) เสร็ จแล้วนําส่ งครู ผสอน ู้ ชั วโมงที 1. ครู สนทนากับนักเรี ยนเกียวกับปั ญหาหรื ออุปสรรคในการทํางานร่ วมกัน แล้วให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่ม ั ได้เตรี ยมความพร้อมก่อนส่ งตัวแทนออกมานําเสนอความรู ้ 2. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มส่ งตัวแทนออกมานําเสนอความรู ้ตามลําดับหมายเลขประเด็นทีได้รับ เมือนักเรี ยน แต่ละกลุ่มนําเสนอจบแล้ว ให้นกเรี ยนสรุ ปความรู ้ร่วมกัน ั 267
  • 13. 3. ครู เสนอแนะแนวทางการหลีกเลียงพฤติกรรมเสี ยงและสถานการณ์เสี ยงต่ออันตราย แล้วให้นกเรี ยน ั ศึกษาความรู ้เพิมเติม จากหนังสื อเรี ยน 4. นักเรี ยนทําใบงานที . เรือง หลีกเลียงพฤติกรรมเสี ยงและสถานการณ์ เสี ยงต่ ออันตราย ( ) เสร็ จแล้วนําส่ งครู ผสอน ู้ 7.การวัดและประเมินผล วิธีการ เครืองมือ เกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบก่อนเรี ยน แบบทดสอบก่อนเรี ยน ร้อยละ ผ่านเกณฑ์ ตรวจใบงานที . ใบงานที . ร้อยละ ผ่านเกณฑ์ ตรวจใบงานที . ใบงานที . ร้อยละ ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุ่ม ระดับคุณภาพ ผ่านเกณฑ์ 8.สื อ/แหล่ งการเรียนรู้ 8.1 สื อการเรี ยนรู้ ) หนังสื อเรี ยน สุ ขศึกษา ม. 2) ตัวอย่างข่าวเกียวกับการเกิดเหตุการณ์ต่างๆ ทีไม่ปลอดภัย ) ใบงานที . เรื อง หลีกเลียงพฤติกรรมเสี ยงและสถานการณ์เสี ยงต่ออันตราย ( ) 4) ใบงานที . เรื อง หลีกเลียงพฤติกรรมเสี ยงและสถานการณ์เสี ยงต่ออันตราย ( ) 8.2 แหล่ งการเรียนรู้ 1) ห้องสมุด 2) เอกสาร หรื อแผ่นพับของกระทรวงสาธารณสุ ข 268
  • 14. ใบงานที . เรือง หลีกเลียงพฤติกรรมเสียง และสถานการณ์ เสี ยงต่ ออันตราย ( ) คําชี แจง ให้นกเรี ยนหาข่าวเกียวกับพฤติกรรมของวัยรุ่ นจากหนังสื อพิมพ์มาติดลงในใบงาน แล้ววิเคราะห์ ั ตามประเด็นทีกําหนด ชือเรื อง (สาระสําคัญของข่ าว) ทีมา ข่าวดังกล่าวแสดงให้เห็นพฤติกรรมเสี ยง หรื อสถานการณ์เสี ยงต่ออันตรายอย่างไร จากพฤติกรรมเสี ยง หรื อสถานการณ์เสี ยงต่ออันตรายในข่าว มีแนวทางในการแก้ไขอย่างไร จากข่าวดังกล่าว ให้ขอคิดทีเป็ นประโยชน์อย่างไร ้ 269
  • 15. ใบงานที . เรือง หลีกเลียงพฤติกรรมเสียง และสถานการณ์ เสี ยงต่ ออันตราย ( ) คําชี แจง ให้นกเรี ยนหาข่าวเกียวกับพฤติกรรมของวัยรุ่ นจากหนังสื อพิมพ์มาติดลงในใบงาน แล้ววิเคราะห์ ั ตามประเด็นทีกําหนด ชือเรื อง (สาระสําคัญของข่ าว) ทีมา ข่าวดังกล่าวแสดงให้เห็นพฤติกรรมเสี ยง หรื อสถานการณ์เสี ยงต่ออันตรายอย่างไร จากพฤติกรรมเสี ยง หรื อสถานการณ์เสี ยงต่ออันตรายในข่าว มีแนวทางในการแก้ไขอย่างไร จากข่าวดังกล่าว ให้ขอคิดทีเป็ นประโยชน์อย่างไร ้ (หมายเหตุ พิ จารณาตามคําตอบของนักเรี ยน โดยให้ อยู่ในดุลยพินิจของครู ผ้ สอน) ู 270
  • 16. ใบงานที .2 เรือง หลีกเลียงพฤติกรรมเสียง และสถานการณ์ เสี ยงต่ ออันตราย ( ) คําชี แจง ให้นกเรี ยนตอบคําถามทีกําหนดให้ถูกต้อง ั ่ หากนักเรี ยนอาศัยอยูในพืนที หรื อชุมชนทีมีการแข่งขันรถจักรยานยนต์บนท้องถนน นักเรี ยนมีวธีหลีกเลียงหรื อป้ องกันอันตรายอย่างไร ิ การหลีกเลียงพฤติกรรมเสี ยงและสถานการณ์เสี ยงต่ออันตราย มีแนวทางในการปฏิบติอย่างไร ั 271
  • 17. ใบงานที .2 เรือง หลีกเลียงพฤติกรรมเสียง และสถานการณ์ เสี ยงต่ ออันตราย ( ) คําชี แจง ให้นกเรี ยนตอบคําถามทีกําหนดให้ถูกต้อง ั ่ หากนักเรี ยนอาศัยอยูในพืนที หรื อชุมชนทีมีการแข่งขันรถจักรยานยนต์บนท้องถนน นักเรี ยนมีวธีหลีกเลียงหรื อป้ องกันอันตรายอย่างไร ิ มีวิธีหลีกเลียงหรื อป้ องกันอันตราย ดังนี ) ไม่ เข้ าไปอยู่ หรื อไม่ เข้ าไปใกล้ ในบริ เวณที มีการแข่ งขันรถจักรยานยนต์ ) หากจําเป็ นจะต้ องใช้ เส้ นทางนัน จะต้ องขับรถอย่ างระมัดระวังและขับชิ ดขอบถนน ด้ านซ้ าย ) หลีกเลียงการคบเพือนที เข้ าร่ วมการแข่ งขันรถจักรยานยนต์ ) แจ้ งให้ เจ้ าหน้ าที ตํารวจ หรื อหน่ วยงานที เกียวข้ องทราบ การหลีกเลียงพฤติกรรมเสี ยงและสถานการณ์เสี ยงต่ออันตราย มีแนวทางในการปฏิบติอย่างไร ั การหลีกเลียงพฤติกรรมเสี ยงและสถานการณ์ เสี ยงต่ ออันตราย มีแนวทางในการปฏิ บัติ ดังนี ) หลีกเลียงพฤติกรรมเสี ยงและสถานการณ์ เสี ยงต่ ออันตรายทุกชนิด ) หลีกเลียงการเข้ าไปในสถานที เสี ยงโดยไม่ จาเป็ น หากมีความจําเป็ นจะต้ องเข้ าไปจะต้ อง ํ เพิมความระมัดระวังให้ มาก ) เลือกคบเพือนที มีความประพฤติดี และสามารถไว้ วางใจได้ 4) ติดตามข่ าวสารที เกียวข้ องกับอันตรายจากสื อต่ างๆ เพือใช้ เป็ นแนวทางในการป้ องกัน ตนเอง (หมายเหตุ พิ จารณาตามคําตอบของนักเรี ยน โดยให้ อยู่ในดุลยพินิจของครู ผ้ สอน) ู 272
  • 18. แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุ่ม การร่ วม ชือ – สกุล ความร่ วมมือ การแสดง การรับฟัง การตังใจ รวม ลําดับ ปรับปรุง ของผู้รับการ กันทํากิจกรรม ความคิดเห็น ความคิดเห็น ทํางาน ที ผลงานกลุ่ม ประเมิน คะแนน ลงชือ...................................................ผูประเมิน ้ ............../.................../................ เกณฑ์ การให้ คะแนน เกณฑ์ การตัดสินคุณภาพ ดีมาก = ช่ วงคะแนน ระดับคุณภาพ ดี = 18-20 ดีมาก พอใช้ = 14-17 ดี ปรับปรุ ง = 1 10-13 พอใช้ ตํากว่า ปรับปรุ ง 273
  • 19. แผนการจัดการเรียนรู้ ที 2 เรือง ทักษะชีวตในการป้ องกันตนเอง ิ เวลา ชัวโมง หน่ วยการเรียนรู้ ที การหลีกเลียงพฤติกรรมเสี ยง ชันมัธยมศึกษาปี ที และสถานการณ์ เสี ยงต่ ออันตราย 1.สาระสํ าคัญ/ความคิดรวบยอด การศึกษาและเรี ยนรู ้วธีการป้ องกันตนเอง และหลีกเลียงสถานการณ์คบขันทีอาจนําไปสู่ อนตราย ิ ั ั เป็ นการเลือกใช้ทกษะทีดีและเหมาะสมทีสุ ดในสถานการณ์นนเพือให้เกิดความปลอดภัยกับตนเอง ั ั 2.ตัวชีวัด/จุดประสงค์ การเรียนรู้ 2.1 ตัวชี วัด พ . ม. / ใช้ทกษะชีวตในการป้ องกันตนเองและหลีกเลียงสถานการณ์คบขัน ั ิ ั ทีอาจนําไปสู่ อนตราย ั 2.2 จุดประสงค์ การเรี ยนรู้ ) อธิ บายทักษะชีวตในการป้ องกันตนเองได้ ิ ) นําทักษะชีวตในการป้ องกันตนเองมาปรับใช้ให้เกิดความปลอดภัยในชีวตประจําวันได้ ิ ิ 3.สาระการเรียนรู้ . สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง ทักษะชีวตในการป้ องกันตนเอง (ทักษะปฏิเสธ ทักษะการต่อรอง ฯลฯ) และหลีกเลียง ิ สถานการณ์คบขันทีอาจนําไปสู่ อนตราย ั ั . สาระการเรี ยนรู้ ท้องถิน - 4.สมรรถนะสํ าคัญของผู้เรียน . ความสามารถในการสื อสาร . ความสามารถในการคิด ) ทักษะการคิดวิเคราะห์ ) ทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณ ิ ) ทักษะกระบวนการคิดตัดสิ นใจ 274
  • 20. . ความสามารถในการใช้ ทกษะชี วต ั ิ ) กระบวนการทํางานกลุ่ม 5.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ใฝ่ เรี ยนรู ้ 2. มีความรับผิดชอบ 3. มีจิตสาธารณะ 6.กิจกรรมการเรียนรู้ ชั วโมงที . ครู นากรณี ศึกษา เรื อง ไฟกับจีด มาให้นกเรี ยนอ่าน ํ ั กรณีศึกษา เรือง ไฟกับจีด ไฟกับจีดเป็ นเพือนต่างเพศทีมีความสนิทสนมกันมาก หลังเลิกเรี ยนเย็นวันศุกร์ ไฟขอร้องให้จีดอยูเ่ ป็ นกําลังใจให้ เพราะต้องลงแข่งฟุตบอลเพือพนันกับรุ่ นพี ด้วยความที ่ กลัวไฟจะเสี ยใจ จีดจึงตกลงอยูดูการแข่งขันฟุตบอล ผลการแข่งขันฟุตบอลทีมของไฟ เป็ นผูชนะ และหัวหน้าทีมได้ชวนไปฉลองชัยชนะกันต่อทีร้านอาหาร ้ ไฟ : วันนีเราได้เงินเกือบพันเลยนะ จีดดีใจมัย ไปฉลองด้วยกันนะจีด พอฉลอง เสร็ จเราจะไปส่ งทีบ้าน ตอนนีก็ ทุ่มแล้ว ไม่อยากให้จีดกลับบ้านคนเดียว ไปแป๊ บเดียว ไม่ดึกหรอก จีด : . ครู ตงประเด็นคําถาม ให้นกเรี ยนช่วยกันแสดงความคิดเห็นเกียวกับเหตุการณ์ทีเกิดขึน ดังนี ั ั ) การแข่งขันฟุตบอลของไฟ มีประโยชน์หรื อไม่ อย่างไร (หากไม่ มีประโยชน์ จะส่ งผลเสี ย อย่ างไร) ) หากจีดตัดสิ นใจไม่ไปร่ วมฉลองกับไฟ นักเรี ยนคิดว่า จีดคิดอะไรอยู่ และไฟจะรู ้สึกอย่างไร ) หากจีดตัดสิ นใจไปร่ วมฉลองกับไฟ นักเรี ยนคิดว่า จีดจะมีความเสี ยงต่ออันตรายหรื อไม่ 275
  • 21. อย่างไร ) หากนักเรี ยนเป็ นจีด นักเรี ยนจะตัดสิ นใจอย่างไร เพราะเหตุใด โดยครู เปิ ดโอกาสให้นกเรี ยนแสดงความคิดเห็นอย่างเสรี เพือให้ได้มุมมองหรื อแนวคิดทีหลากหลาย ั 3. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปประเด็นสําคัญทีได้จากการแสดงความคิดเห็น แล้วครู อธิ บายให้นกเรี ยน ั เข้าใจว่า กรณี ศึกษาทีครู นามาแสดงนีสามารถเกิดขึนได้ง่ายมากสําหรับนักเรี ยนทีอยูในช่วงวัยรุ่ น ํ ่ นักเรี ยนจึงควรตระหนักถึงอันตรายทีจะเกิดขึน หรื อเรี ยนรู ้วธีทีจะสามารถป้ องกันอันตรายได้ ิ ่ ซึ งจะเห็นได้วา พฤติกรรมเบืองต้นของไฟนัน ไม่เหมาะสม เพราะเป็ นการแข่งขันฟุตบอล เพือการ พนัน และการชักชวนเพือนต่างเพศไปฉลองชัยชนะในเวลากลางคืนเป็ นสิ งทีไม่เหมาะสม สิ งเหล่านี อาจเป็ นทีมาของข่าวอาชญากรรม หรื อข่าวต่างๆ ทีเกิดขึนในสังคม เช่น การข่มขืน การยกพวกตีกน ั การดืมเครื องดืมทีมึนเมาแล้วเกิดการทะเลาะวิวาท เป็ นต้น 4. ครู ให้นกเรี ยนศึกษาความรู ้เรื อง ทักษะชีวตในการป้ องกันตนเอง จากหนังสื อเรี ยน หรื อหนังสื อ ั ิ ค้นคว้าเพิมเติม ตามความเหมาะสม 5. นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ คน (คละเพศ) แล้วให้แต่ละกลุ่มร่ วมกันแสดงบทบาทสมมุติเกียวกับ ทักษะชีวตในการป้ องกันตนเอง ในประเด็นทีกําหนด ดังนี ิ 1) ทักษะการปฏิเสธและทักษะการต่อรอง ) ทักษะการคิด ตัดสิ นใจ และแก้ปัญหา 6. ให้นกเรี ยนวางแผนและฝึ กซ้อมการแสดงบทบาทสมมุติ เพือให้สามารถสื อสารกับผูชมได้เข้าใจ ั ้ แล้วครู นดหมายการแสดงบทบาทสมมุติในชัวโมงเรี ยนต่อไป ั ชั วโมงที 1. ครู สอบถามถึงภาระงานทีได้มอบหมายให้ทา แล้วครู และนักเรี ยนร่ วมกันสนทนาเกียวกับปั ญหา ํ และอุปสรรคในการฝึ กซ้อมการแสดงบทบาทสมมุติ เพือร่ วมกันหาแนวทางในการแก้ไขปั ญหา ทีเกิดขึนอย่างเหมาะสม 2. ให้นกเรี ยนออกมาแสดงบทบาทสมมุติทีละกลุ่ม แล้วให้กลุ่มอืนๆ สรุ ปแนวคิดหรื อประโยชน์ ั ทีได้รับ เมือนักเรี ยนแสดงบทบาทสมมุติครบทุกกลุ่มแล้ว ให้แต่ละกลุ่มลงคะแนน กลุ่มทีได้ คะแนนสู งสุ ด ให้ส่งตัวแทนกลุ่มออกมาพูดถึงวิธีวางแผนการทํางานร่ วมกันจนประสบความสําเร็ จ 3. ครู ชมเชยนักเรี ยนทุกกลุ่มทีให้ความร่ วมมือในการปฏิบติกิจกรรมเป็ นอย่างดี ั 4. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความรู ้เรื อง ทักษะชีวตในการป้ องกันตนเอง ิ 5. ให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มจัดป้ ายนิเทศ เรื อง ปลอดภัยไว้ก่อน โดยให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มรวบรวมข่าว ั ั 276
  • 22. ทีเกิดขึน หรื อมีสาเหตุทีเกิดจากการมีพฤติกรรมสี ยงและสถานการณ์เสี ยงมาอธิ บายและวิเคราะห์ สาเหตุและผลกระทบทีเกิดขึน แล้วหาแนวทางการป้ องกันหรื อการใช้ทกษะในการป้ องกันตนเอง ั ทีเหมาะสม นําข้อมูลมาติดทีป้ ายนิเทศเพือเผยแพร่ ความรู ้ นักเรี ยนทําแบบทดสอบหลังเรียน หน่ วยการเรียนรู้ ที 7.การวัดและประเมินผล วิธีการ เครืองมือ เกณฑ์ ประเมินป้ ายนิ เทศ เรื อง แบบประเมินป้ ายนิ เทศ เรื อง ระดับคุณภาพ ผ่านเกณฑ์ ปลอดภัยไว้ก่อน ปลอดภัยไว้ก่อน ประเมินการนําเสนอผลงาน แบบประเมินการนําเสนอผลงาน ระดับคุณภาพ ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุ่ม ระดับคุณภาพ ผ่านเกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบหลังเรี ยน แบบทดสอบหลังเรี ยน ร้อยละ ผ่านเกณฑ์ 8.สื อ/แหล่ งการเรียนรู้ 8.1 สื อการเรี ยนรู้ ) หนังสื อเรี ยน สุ ขศึกษา ม. ) กรณี ศึกษาเรื อง ไฟกับจีด 8.2 แหล่ งการเรียนรู้ 1) ห้องสมุด 2) เอกสาร หรื อแผ่นพับของกระทรวงสาธารณสุ ข 277
  • 23. แบบประเมินป้ ายนิเทศ เรือง ปลอดภัยไว้ ก่อน กลุ่มที สมาชิกของกลุ่ม . . . . . . ลําดับ คุณภาพผลงาน รายการประเมิน ที การวิเคราะห์สาเหตุและผลกระทบทีเกิดขึนจากพฤติกรรมเสี ยงและ สถานการณ์เสี ยง การอธิ บายวิธีการหลีกเลียงพฤติกรรมเสี ยงและสถานการณ์เสี ยง การเสนอแนะทักษะชีวตในการป้ องกันตนเอง ิ ความคิดสร้างสรรค์ รวม ลงชือ..............................................................................ผูประเมิน ้ / / ....................... ........................... ........................ เกณฑ์ การให้ คะแนน เกณฑ์ การตัดสินคุณภาพ ดีมาก = 4 ช่ วงคะแนน ระดับคุณภาพ ดี = - ดีมาก พอใช้ = - ดี ปรับปรุ ง = 1 - พอใช้ ตํากว่า ปรับปรุ ง 278
  • 24. แบบประเมินการนําเสนอผลงาน ลําดับ คุณภาพการปฏิบัติ รายการประเมิน ที 4 3 2 1 1 นําเสนอเนื อหาในผลงานได้ถูกต้อง 2 การลําดับขันตอนของเนื อเรื อง 3 การใช้วธีการสื อสารทีเหมาะสม ิ 4 การนําเสนอผลงานอย่างสร้างสรรค์ 5 การตรงต่อเวลา รวม ลงชือ..............................................................................ผูประเมิน ้ ......................./.........................../........................ เกณฑ์ การให้ คะแนน ผลงานหรื อพฤติกรรมสมบูรณ์ชดเจน ั ให้ คะแนน ผลงานหรื อพฤติกรรมค่อนข้างสมบูรณ์ ให้ คะแนน ผลงานหรื อพฤติกรรมมีขอบกพร่ องเป็ นบางส่ วน ้ ให้ คะแนน ผลงานหรื อพฤติกรรมมีขอบกพร่ องมาก ้ ให้ คะแนน เกณฑ์ การตัดสิ นคุณภาพ ช่ วงคะแนน ระดับคุณภาพ 18-20 ดีมาก 14-17 ดี 10-13 พอใช้ ตํากว่า ปรับปรุ ง 279
  • 25. แบบสั งเกตพฤติกรรมการทํางานกลุ่ม การแก้ ไข ชือ – สกุล ความร่ วมมือ การแสดง การรับฟัง การตังใจ ปัญหาหรือ รวม ลําดับ ของผู้รับการ กันทํากิจกรรม ความคิดเห็น ความคิดเห็น ทํางาน ปรับปรุง ที ประเมิน ผลงานกลุ่ม คะแนน ลงชือ...................................................ผูประเมิน ้ ............../.................../................ เกณฑ์ การให้ คะแนน เกณฑ์ การตัดสินคุณภาพ ดีมาก = ช่ วงคะแนน ระดับคุณภาพ ดี = 18-20 ดีมาก พอใช้ = 14-17 ดี ปรับปรุ ง = 1 10-13 พอใช้ ตํากว่า ปรับปรุ ง 280
  • 26. บันทึกหลังหน่ วยการเรี ยนรู้ อิงมาตรฐาน ตอนที นักเรี ยนมีความรู ้ความสามารถตามมาตรฐานการเรี ยนรู ้และตัวชีวัดของหน่วยการเรี ยนรู ้ ต่อไปนี พ . (ม. / , ม. / ) ด้านความรู ้ ( จํานวน คน คิดเป็ นร้ อยละ ) ด้านสมรรถนะสําคัญของผูเ้ รี ยน ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สรุปผลจากการประเมินชินงาน/ภาระงาน (รวบยอด) ประจําหน่ วยการเรียนรู้ ระดับคุณภาพดีมาก จํานวน คน คิดเป็ นร้ อยละ ระดับคุณภาพดี จํานวน คน คิดเป็ นร้ อยละ ระดับคุณภาพพอใช้ จํานวน คน คิดเป็ นร้ อยละ ระดับคุณภาพปรับปรุง จํานวน คน คิดเป็ นร้ อยละ ปั ญหา/อุปสรรค แนวทางการแก้ไข ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาหรือผู้ทได้ รับมอบหมาย ี ข้อเสนอแนะ ลงชือ ( ) ตําแหน่ง 281
  • 27. ตอนที การตรวจสอบคุณภาพนักเรียนเพือเตรียมความพร้ อมรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก ร้ อยละ ระดับการศึกษาขันพืนฐาน . นักเรียนมีคณธรรม จริยธรรม และค่ านิยมทีพึงประสงค์ ุ . . เป็ นนักเรี ยนที ดีของโรงเรี ยน 1) ความซือสัตย์ สุจริ ต ) มีวนย ิ ั ) มุ่งมันในการทํางาน . . เป็ นลูกที ดีของพ่ อแม่ ผู้ปกครอง ่ ) อยูอย่างพอเพียง ) มีความเอืออาทร ) มีความกตัญ ูกตเวที . เป็ นสมาชิ กที ดีของชุมชน ) รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ ) รักความเป็ นไทย ) มีจิตสาธารณะ . นักเรียนมีสุขภาพกายและสุ ขภาพจิตทีดี . มีสุขภาพดี มีนาหนัก ส่ วนสูง และสมรรถภาพทางกาย ตามเกณฑ์ ํ รวมทังรู้ จักดูแลตนเองให้ มีความปลอดภัย 1) สุขภาพดี ) มีนาหนัก ส่วนสูง และสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ ํ ) รู ้จกวิธีดูแลรักษาตนเองให้ปลอดภัย ั . มีสุขภาพจิ ตดี มีมนุษยสัมพันธ์ ทีดีต่อผู้อืน และมีสุนทรี ยภาพ ) มีสุขภาพจิตดี ) มีมนุษยสัมพันธ์ดี ) มีสุนทรี ยภาพ . นักเรียนมีความใฝ่ รู้ใฝ่ เรียน . มีนิสัยรั กการอ่ าน สนใจ แสวงหาความรู้ จากแหล่ งต่ างๆ รอบตัว และสามารถเรี ยนรู้ ด้ วยตนเองได้ ) รักการอ่าน สนใจการอ่าน ) สนใจแสวงหาความรู ้จากแหล่งต่างๆ รอบตัว ) สามารถเรี ยนรู ้ดวยตนเอง ้ . นักเรี ยนสามารถเรี ยนรู้ เป็ นที มได้ ) ใช้กระบวนการเรี ยนรู ้ระหว่างกัน ) เรี ยนรู ้เป็ นทีม 282
  • 28. ตอนที การตรวจสอบคุณภาพนักเรียนเพือเตรียมความพร้ อมรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก ร้ อยละ ระดับการศึกษาขันพืนฐาน . สามารถใช้ เทคโนโลยีในการเรี ยนรู้ ) การรู ้จกเลือกใช้เทคโนโลยี ั ) มีทกษะกระบวนการทางเทคโนโลยี ั ) มีการเรี ยนรู ้ การสื อสาร การทํางาน . นักเรียนคิดเป็ น . มีความสามารถในการคิดเป็ นระบบ ) สามารถจําแนกแยกแยะองค์ประกอบ ) สามารถพิจารณาความสัมพันธ์เชือมโยง ) สามารถกําหนดประเด็น วิเคราะห์ประเด็น ) สามารถประสมประสาน และหลอมองค์ประกอบต่างๆ ได้ สามารถสรุ ปความคิดได้ ต่อยอดความคิดได้ . มีความสามารถในการคิดสร้ างสรรค์ ) มีความรู ้ความเข้าใจในการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ ) สามารถใช้กระบวนการคิดสร้างสรรค์ ) มีผลงานจากความคิดสร้างสรรค์ . ความสามารถในการคิดแก้ ปัญหา ) มีการศึกษาข้อมูลเพือการตัดสิ นใจ ) ตัดสิ นใจได้อย่างสมเหตุสมผล ) ใช้กระบวนการในการคิดแก้ปัญหา ) สามารถคิดแก้ปัญหาได้ . นักเรียนมีผลสัมฤทธิตามหลักสูตร (ตามมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีวัดข้ อ...............................) . กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ ภาษาไทย . กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ คณิ ตศาสตร์ . กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ วิทยาศาสตร์ . กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม . กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา . กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ ศิลปะ . กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ การงานอาชี พและเทคโนโลยี . กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ ภาษาต่ างประเทศ 283