SlideShare a Scribd company logo
1 of 50
Download to read offline
คู่มือประกอบสื่อการสอน วิชาคณิตศาสตร์
                       เรื่อง
      ฟังก์ชันเลขชี้กาลังและฟังก์ชันลอการิทึม
                 (เนื้อหาตอนที่ 1)
                     เลขยกกาลัง
                       โดย
        รองศาสตราจารย์ เพ็ญพรรณ ยังคง


     สื่อการสอนชุดนี้ เป็นความร่วมมือระหว่าง
  คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กับ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)
              กระทรวงศึกษาธิการ
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                            ่
       สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                     ้



          สื่อการสอน เรื่อง ฟังก์ชันชี้กาลังและฟังก์ชันลอการิทึม
         สื่อการสอน เรื่อง ฟังก์ชันชี้กาลังและฟังก์ชันลอการิทึม มีจานวนตอนทั้งหมดรวม 16
 ตอน ซึ่งประกอบด้วย

 1. บทนา เรื่อง ฟังก์ชันชี้กาลังและฟังก์ชันลอการิทึม
 2. เนื้อหาตอนที่ 1 เลขยกกาลัง
                      - เลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็ม
                      - เลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานอนตรรกยะ
                      - เขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนอตรรกยะ
 3. เนื้อหาตอนที่ 2 ฟังก์ชันชี้กาลังและฟังก์ชันลอการิทึม
                      - ฟังก์ชันเลขชี้กาลัง
                      - กราฟของฟังก์ชันเลขชี้กาลัง
                      - สมการเลขชี้กาลัง
 4. เนื้อหาตอนที่ 3 ลอการิทึม
                      - ฟังก์ชันลอการิทึม
                      - กราฟของฟังก์ชันลอการิทึม
                      - สมการลิการิทึม
 5. เนื้อหาตอนที่ 4 อสมการเลขชี้กาลัง
                      - ทบทวนสมบัติที่สาคัญของเลขยกกาลัง
                      - สมการและอสมการของเลขยกกาลัง
                      - ฟังก์ชันเลขชี้กาลังในชีวิตประจาวัน
 6. เนื้อหาตอนที่ 5 อสมการลอการิทึม
                      - ทบทวนสมบัติที่สาคัญของลอการิทึม
                      - สมการและอสมการลอการิทึม
                      - ปัญหาในชีวิตประจาวันที่เกียวข้องกับฟังก์ชันเลขชี้กาลังและฟังก์ชัน
                        ลอการิทึม
 7. แบบฝึกหัด (พื้นฐาน 1)
 8. แบบฝึกหัด (พื้นฐาน 2)
 9. แบบฝึกหัด (พื้นฐาน 3)
10. แบบฝึกหัด (พื้นฐาน 4)
11. แบบฝึกหัด (ขั้นสูง)

                                            1
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                            ่
       สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                     ้



12. สื่อปฏิสัมพันธ์ เรื่อง กราฟของฟังก์ชันชี้กาลังและฟังก์ชันลอการิทึม

        คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า สื่อการสอนชุดนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการเรียนการ
สอนส าหรั บ ครู และนั ก เรี ย นทุ ก โรงเรี ย นที่ ใ ช้ สื่ อ ชุ ด นี้ ร่ ว มกั บ การเรี ย นการสอน วิ ช า
คณิตศาสตร์ เรื่อง ฟังก์ชันชี้กาลังและฟังก์ชันลอการิทึม นอกจากนี้หากท่านสนใจสื่อการสอน
วิชาคณิตศาสตร์ในเรื่องอื่นๆที่คณะผู้จัดทาได้ดาเนินการไปแล้ว ท่านสามารถดูชื่อเรื่อง และ
ชื่อตอนได้จากรายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ทั้งหมดในตอนท้ายของคู่มือฉบับนี้




                                              2
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                                      ่
                 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                               ้



เรื่อง            ฟังก์ชันเลขชี้กาลังและฟังก์ชันลอการิทึม
หมวด              เนื้อหา
ตอนที่            1 (1/5)
หัวข้อย่อย        1. เลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็ม
                  2. เลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนตรรกยะ
                  3. เลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนอตรรกยะ


จุดประสงค์การเรียนรู้
         เพื่อให้ผู้เรียน
                   1. มีความเข้าใจเกี่ยวกับเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็ม
                   2. มีความเข้าใจเกี่ยวกับเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนตรรกยะ
                      รวมถึงความเข้าใจเกี่ยวกับรากที่ n ของจานวนจริงด้วย
                   3. มีความเข้าใจเกี่ยวกับเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนอตรรกยะ


ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
         ผู้เรียนสามารถ
                  1. อธิบายความหมายของเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็มได้
                  2. อธิบายความหมายของเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนตรรกยะได้
                  3. อธิบายความหมายของรากที่ n ของจานวนจริง และความหมายของกรณฑ์
                      n ของจานวนจริงด้วย
                  4. หาค่าของจานวนที่อยู่ในรูปของเลขยกกาลัง และแก้สมการเลขยกกาลังได้




                                                      3
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                     ่
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                              ้



                      เนื้อหาในสื่อการสอน




                           เนื้อหาทั้งหมด




                                     4
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                     ่
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                              ้




     1. เลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็ม




                                     5
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                                       ่
                  สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                                ้



                            1. เลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็ม

        ในหัวข้อนี้ผู้เรียนจะได้แนวคิดเกี่ยวกับเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็ม บทนิยาม
ต่างๆ และทฤษฎีบทที่สาคัญของเลขยกกาลัง




เพื่อให้ผู้เรียนได้เข้าใจและเห็นตัวอย่างหลากหลายรูปแบบ จึงเพิ่มเติมตัวอย่างดังนี้
       จากสื่อ ผู้เรียนจะได้เห็นเลขยกกาลังที่อยู่ในรูป a m
       เมื่อ a 3 , m 4                            34      3 3 3 3
                                                                    3
                            6                                  6               6         6        6
               a              , m         3
                            7                                  7               7         7        7
                                                                        3
               a        0.5 , m               3                0.5                 0.5         0.5        0.5

               a                1.5 , m           2                 1.5 2                1.5          1.5
                                                                                         3
                        1                                                           1
เนื่องจาก   0.5                 ดังนั้น เราอาจเขียนแทน          0.5     3
                                                                            ด้วย             ซึ่งมีความหมายเหมือนกัน
                        2                                                           2
                                                                                                                     2
                                                      3                                                          3
และในทานองเดียวกัน                 1.5                    ดังนั้นเราอาจเขียนแทน                 1.5   2
                                                                                                          ด้วย
                                                      2                                                          2
                                                                                    p
ดังนั้น ในกรณีที่   a       เป็นจานวนตรรกยะที่เขียนในรูปเศษส่วน                              หรือเขียนในรูปเลขทศนิยมก็ใช้ได้
                                                                                    q
ทั้งสองแบบ เช่น
                                                      3
                            3                     1                 1        1           1
                  0.25              =                      =
                                                  4                 4        4           4
                                                      5
                            5                     3                 3        3           3      3         3
                  0.75              =                      =
                                                  4                 4        4           4      4         4


                                                                6
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                                    ่
               สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                             ้


                                           4
                       4               5                        5        5   5    5
                1.25             =                  =
                                       4                        4        4   4    4
                                                3
                           3               1                        1        1         1
                  0.025          =                  =
                                           40                       40       40       40




จากสื่อ ผู้เรียนได้พบกับบทนิยามของ a 0 และ a m และทฤษฎีบทที่สาคัญของเลขยกกาลัง เพื่อ
ทดสอบความเข้าใจและเป็นการเน้นย้าอีกครั้งของผู้เรียนจะได้จดจากฎและกติกาต่างๆ ได้อย่างแม่นยา
และไม่สับสนเมื่อถึงเวลานาไปใช้จะได้ใช้ได้อย่างคล่องแคล่วและไม่ผิดพลาด ผู้สอนอาจถามผู้เรียน
เพิ่มเติมด้วยคาถามสั้นๆ ต่อไปนี้
                  0                                     0                         4 0
                3                                   5
                                                                                  3
                                                                                           0
                                                                                  375
                02                                  3   0
                                                                                  47

และเมื่อเห็นว่าผู้เรียนตอบได้อย่างถูกต้อง แล้วก็กลับมาเน้นต่อว่า

      ผู้เรียนอย่าลืมว่า   0
                                m
                                     ไม่มีค่า เมื่อ m เป็นจานวนเต็มบวก

      เช่น      0 2, 0 3, 0 5 ไม่มีค่า (เลขชีกาลังเป็นจานวนเต็มลบ)
                                             ้
ผู้สอนควรยกตัวอย่างเพิ่มเติม ในกรณีที่ฐานของเลขยกกาลังเป็นจานวนตรรกยะที่อยู่ในรูปเศษส่วน
และมีเลขชี้กาลังเป็นจานวนลบ ดังนี้
           3
       2                       1                                1                  1           125
                =                          =                                 =
       5                       2 3                  2           2        2         8            8
                               5                    5           5        5        125




                                                            7
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                                      ่
                 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                               ้


                                                     1                               1          1           1
เพราะว่า                                                                 =
                                    2                2       2                       2          2           2
                                    5                5       5                       5          5           5
                                                                                                                                    3
                                                                                     5         5            5                   5
                                                                         =                                        =
                                                                                     2         2            2                   2
                                         3                       3
                                2                            5
ดังนั้น                                              =
                                5                            2
                                         m                       m
                                a                            b
ในกรณีทั่วไป                                         =                       เมื่อ a และ b ไม่เป็นศูนย์
                                b                            a
                                             5                           5
                                     3                        2                             2                2         2                 2             2
          เช่น                                   =                               =
                                    2                        3                             3                3         3                 3             3
                                                                                           32
                                                                                 =
                                                                                          243



เพื่อเป็นการทบทวนทฤษฎีบทที่ผู้เรียนเห็นจากสื่อ ให้ผู้สอนยกตัวอย่างเพิ่มเติมต่อไปนี้
                                                                                                        7
                    4       2                    4 2                 6                              5             7 4                   3
                  3     3                    3                   3                                    4
                                                                                                                 5                  5
                                                                                                    5
                                                                                                    36
                  5n 5          2
                                                 5n      2
                                                                                                                 36      8
                                                                                                                                    3        2

                                                                                                    38
                                                                                                    25
                   15   3
                                             5 3         3
                                                                         53 33                                   25          ( 3)
                                                                                                                                                 28
                                                                                                    2 3
                   4    n
                                         4
                                             n
                                                                                                    35               1                  1
                   3                     3n                                                         37           3   7 5
                                                                                                                                        32
                      3 4                        4 3             12
                   2                         2                   2

เมื่อผู้เรียนเข้าใจดีแล้ว ก็เพิ่มเติมการบวกและลบกันของเลขยกกาลังที่มีฐานเหมือนกัน และเลขชี้กาลัง
เดียวกัน ดังตัวอย่างต่อไปนี้
                        3                    3                                       3
                  3 2               5 2                  =       (3           5)2          =         8 23
                                                                     n                     n
                  4n            3 4n
                        2                        1                               2                   1
                                                         =       4           4           3 4        4

                                                         =       16 4
                                                                              n
                                                                                     12 4
                                                                                               n
                                                                                                            =    4 4
                                                                                                                         n
                                                                                                                                    =            4n   1




                                                                                     8
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                                   ่
              สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                            ้




                                   1
      จากบทนิยาม      a    m
                                    m
                                  a
                                            1
      ย่อมได้ว่า      a
                          m
                                  =          m
                                          a
                                           1                           1
      เช่น            23          =          3         ,    3
                                                              5
                                                                         5
                                          2                           3
จากสื่อผู้เรียนได้เห็นตัวอย่างของการดาเนินการจัดการให้จานวนที่กาหนดให้เขียนอยู่ในรูปอย่างง่าย
และมีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็มบวก เพื่อให้นักเรียนหรือผู้เรียนได้มีความเข้าใจเพิ่มขึ้นและได้มีทักษะ
ในการดาเนินการ ผู้สอนควรเพิ่มตัวอย่างอีกสักสองสามตัวอย่าง ดังต่อไปนี้




                                                   9
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                                         ่
                    สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                                  ้



ตัวอย่างต่อไปนี้ จะกาหนดให้ a, b, x, y, z เป็นจานวนจริงที่ไม่เป็นศูนย์
ตัวอย่างที่ 1 จงทาให้เป็นรูปอย่างง่ายและมีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็มบวก
                3     2
             ab
               2 5              = a
                                            3 ( 2)
                                                         b   2 5
                                                                           (ดาเนินการกับจานวนที่มีฐานเดียวกันเสียก่อน)
             a b
                                = a5 b               7


                                            5
                                        a
                                =         7                                (จัดรูปเพื่อให้เลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็มบวก)
                                        b
                                                               2     3 0
         2      3 0       5 2       3                         x y                                          1
       xy             x y                   =                                            =
                                                                   5 2 3                                   15 6
                                                                                                         x y
                                                              x y


                          4     3       2       4   1 3                                  4        1 3
                          ax                yb                                      yb
ตัวอย่างที่ 2                                                  =
                                                                                         3 2
                                ab 2xy                                     a 4x                   ab 2xy
                                                                                              3            1 3
                                                                                    y4               b
                                                               =
                                                                                   4 2               3 2         2
                                                                           a                 x             ab xy
                                                                                    12           3
                                                                                   y b
                                                               =               8      6          2
                                                                           a x ab xy
                                                                               12 1              3 2
                                                                           y             b
                                                               =               8 1            6 1
                                                                           a          x
                                                                               11         5
                                                                           y b                                        5 11
                                                                                                                     x y
                                                               =               9         5
                                                                                                         =             9 5
                                                                           a x                                       ab




                                                                           10
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                                     ่
                สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                              ้



                                             p
                       n 2          2n 1                       n 2 p            2n 1 p
                   a            b                         a                 b
ตัวอย่างที่ 3                                n    =           2p 1 n            p 2 n
                   b2p      1
                                ap       2
                                                          b                 a
                                                              np 2 p       2np p
                                                          a            b
                                                  =
                                                      b 2 pn       n
                                                                       a pn     2n



                                                  =   a (np       2 p ) ( pn 2n )
                                                                                          b(2np        p ) (2 pn n )



                                                               2 p 2n
                                                  =   a                    bp       n


                                                               p n                                          p n
                                                          b                                        b
                                                  =           2( p n )
                                                                                    =                2
                                                      a                                            a


                        p n              (p n )   2
                    x               y                                                                                      2
ตัวอย่างที่ 4               n 2          p n          =            xp       n n 2
                                                                                           y    (p n ) (p n )

                        x            y
                                                                                                       2
                                                                        p 2          2( p n )
                                                      =            x          y

                                                                                    1
                                                      =                                            2
                                                                        p 2             2( p n )
                                                                   x            y

                                                                                    1
                                                      =                2( p 2)            4( p n )
                                                                  x                 y
                                                                                                              4    4( p n )
                                                                  y
                                                                       4( p n )                             x y
                                                      =                2( p 2)
                                                                                               =                      2p
                                                                  x                                               x
(เพราะว่า   p   เป็นจานวนเต็มบวก แต่บอกไม่ได้ว่า                                p         2    เป็นจานวนเต็มบวกหรือไม่ แต่โจทย์
                                                                                                                                    1
ต้องการให้คาตอบเขียนอยู่ในรูปที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็มบวก ดังนั้นจึงเขียน                                                      2( p 2)
                                                                                                                                             ในรูป
                                                                                                                               x
x4
       )
x 2p




                                                                  11
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                                  ่
             สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                           ้




                                                              แบบฝึกหัดที่ 1
                  เรื่อง เลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็ม


1.   กาหนดให้ a, b, c, x, y, z เป็นจานวนจริงที่ไม่เป็นศูนย์
     จงทาให้เป็นรูปอย่างง่ายและมีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็มบวก
                  2 3 2                     1 0 5                                               2         0 2 3
     1.1     2a b                    3a b                            1.2       a b
                                                                                    1 2
                                                                                                        4a b

                                 3 2                      2                                                           1
              4a 2b                         c 4                                3 2c 0 c 2a 3
     1.3                                                             1.4
                c 3                        12a 3b                              a 4b 1 9b 4
                                                 3 5 2                                              3                         1 2
     1.5     3x y
                     4           2
                                            4x y                     1.6       9x y
                                                                                    3       2
                                                                                                         3x y
                                                                                                                  5


                                                    3                               3 2 0                                     3
              x 2y       3
                                 x 2y       4
                                                                               x y                  x y
                                                                                                         1            2

     1.7                         2                                   1.8                        0 2 3
                             x y                                                            y x
                                       1                                                                                      2
              x 2yz 3                                                                               1    z 3y 0
     1.9                                                             1.10          3 0 2
                                                                               x z y
              y 7zx 4                                                                                     x4


2.   กาหนดให้ a, b, n, p, x, y เป็นจานวนเต็มบวก
     จงทาให้เป็นรูปอย่างง่ายและมีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็มบวก
                                        p                                                                 4
                 n 2         2n 1                                                  3n 1         2n 1
             a           b                                                     x            y
     2.1                                n                            2.2            6n 1        2n 5
             ap      1 2p 2
                         b                                                      x           y

                 n 3       n 2                                                     3n 1         n 3           2
             a         b                                                       x            y
     2.3          3n         6                                       2.4            n 2         n 1
                 a b                                                            x           y
                                                                                                    n 1
                 2n 2 n 2 4                                     1                           y                                     3 n
     2.6     x           y                   x
                                                 3n 2 2n 1
                                                          y          2.6       3x    2n
                                                                                                              x y
                                                                                                                          2

                                                                                            3

3.   จงทาให้เป็นรูปอย่างง่ายและมีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็มบวก กาหนดให้                                                             n
                  n 2                2n 1           n 1                             2n 1                n 1                   n 1
             4               2                  8                           9                   81                16
     3.1                         3n 2                                3.2                  n 3                 2n
                             2                                                          4               27


                                                                    12
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                                  ่
             สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                           ้


                                                                                              n 1                 2 2n           1 n
                 8
                     n 1
                                                  4
                                                      n 1                         64                      24                     9
     3.3               n 2                             1 n 1
                                                                       3.4                               3 n              3n 4
             2n                                 16n                                            (27)                   3
                                                                  1                  2n                  n 3
                      4n       1
                                                      4n    1                    2             20
     3.5              n 1 n 1                              2n 1
                                                                       3.6           n 3                 2 n
                 16                               4n                             6                15


4.   กาหนดให้ x, y เป็นจานวนจริงบวก และ n เป็นจานวนเต็มบวก
     จงแยกตัวประกอบในแต่ละข้อต่อไปนี้
                      8 2                   3 2                                   1                4
     4.1     x                       y                                 4.2         6                10
                                                                                 x                y
     4.3    x     6
                              z 2y          4
                                                                       4.4       9x        2
                                                                                                    6x        1
                                                                                                                          1
                                                                                  3               10
     4.5    y     4
                               5y       2
                                                  6                    4.6         2
                                                                                                              8
                                                                                 x                x
     4.7    x     2
                               8x       1
                                                  16                   4.8       6x        6
                                                                                                    13x           3
                                                                                                                           5
     4.9    8a
                      3
                               b
                                        3
                                                                       4.10      a     9
                                                                                                  27b         6



5.   กาหนดให้     n        และ x เป็นจานวนเต็มบวก                          จงทาให้เป็นรูปอย่างง่าย
                 n 2                             n 1                                 n 4                          n 1
             9                 36 9                                              3                  6 3
     5.1                                n                              5.2                             n 2
                           11 9                                                            7 3
                      n 1                         n                                           n 1                         n 2
             4 2                            3 2                                  9 3                      5 3
     5.3               n 1                  n                          5.4                     n 2                n
                     2                  2                                                     3               3
                      n                         n 1
             8 5                   2 5                                           x
                                                                                     n 1
                                                                                                    3x
                                                                                                          n
     5.5         n 1                            n 1
                                                                       5.6         n       2           n
             5                     3 5                                           x                  9x


6.   กาหนดให้ a, b, x, y เป็นจานวนเต็มบวก
     จงทาให้อยู่ในรูปอย่างง่ายและมีเลขชี้กาลังเป็นบวก
                  1                 1                                                      1                  2
             x                 y                                                 5a                  2b
     6.1          1                 1                                  6.2                1             2
             x                 y                                                 a                  3b
                                                                                       2                  1           1              2
            a 1b           2
                                    a 2b          1
                                                                                 y        2x y     3x
     6.3                   2                                           6.4              1  2     2   1
               b                    a 1                                               x y     3x y
                      16                4
              x                    y
     6.5       3          6          2
             y x                    x y


                                                                      13
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                        ่
   สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                 ้




2. เลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนตรรกยะ




                                       14
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                                   ่
              สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                            ้



                 2. เลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนตรรกยะ

         ในหัวข้อนี้เราจะกล่าวถึงเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังที่เป็นจานวนตรรกยะ ซึ่งจะขอกล่าวถึง
รากที่ n ของจานวนจริง เมื่อ n เป็นจานวนนับเสียก่อน เพือจะเป็นการนาไปสู่การนิยามเลขยกกาลัง
                                                              ่
ที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนตรรกยะ โดยจะเริ่มจากบทนิยามของรากที่สองของ x แล้วจึงต่อด้วยราก
ที่ n ของ x เมื่อ n เป็นจานวนนับใดๆ ที่มากกว่า 2




เพื่อให้ผู้เรียนได้คุ้นเคยกับคาว่ารากที่สองของจานวนจริง x ให้คุณครูยกตัวอย่างเพิ่มเติมต่อไปนี้
       เพราะว่า           52 =       25         ดังนั้น 5 เป็นรากที่สองของ 25
                           52 =      25         ดังนั้น 5 เป็นรากที่สองของ 25
       และเพราะว่า 5 เป็นรากที่สองที่ไม่เป็นลบของ 25 ดังนั้น 5         25 และ 5            25

      เพราะว่า        72     =      49       ดังนั้น 7 เป็นรากที่สองของ 49
                  72     =     49            ดังนั้น 7 เป็นรากที่สองของ 49
      และเพราะว่า 7 เป็นรากที่สองที่ไม่เป็นลบของ 49 ดังนั้น 7       49 และ                    7   49




                                                  15
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                                          ่
                     สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                                   ้



          ตัวอย่าง
                                                                           8               8             4       2
            169                13 13              13
                                                                           50             50            25       5
                                                                           1          1            1            1 5
            81       36                  9 9       6 6           9 6
                                                                            5         5            5            5 5
            625                    25 25          25                                  5                 5             5
             49                     7 7           7                               5       5         5       5        5
                                    25             5 5            5
            0.25                                                           0.25               (0.5) (0.5)        0.5
                                   100            10 10          10


ผู้เรียนควรระมัดระวังในการพิจารณาค่าต่างๆ ดังตัวอย่างต่อไปนี้
                           2
                       5                   25            5       ( 5)

ดังนั้น       สาหรับ a ที่เป็นจานวนจริงใดๆ
                           a
                               2
                                         |a |   ไม่ใช่       a

เช่น              ( 7)
                           2
                                   =       | 7|          ,            62   =      |6|          =    6

                       b2          =       |b |

                       x2          =       |x |




                                                                   16
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                                   ่
              สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                            ้




                                       รากที่ n ของจานวนจริง

     ในหัวข้อนี้เราจะกล่าวถึงการนิยามรากที่                n    ของจานวนจริง            x   และจะได้รู้จักกับรากหลักที่   n
ของจานวนจริง x ด้วย




ผู้เรียนสามารถทบทวนความหมายของรากที่                   n     ของ    x      เมื่อ   x   เป็นจานวนจริง และ      n   เป็นจานวน
เต็มบวก โดยดูจากตัวอย่างต่อไปนี้
               y3            x          แล้ว      y        เป็นรากที่ 3 ของ x
               23            8          แล้ว      2    เป็นรากที่ 3 ของ 8
               24            16         แล้ว      2    เป็นรากที่ 4 ของ 16
                    2   4
                                  16    แล้ว           2    เป็นรากที่ 4 ของ 16
เนื่องจาก เราไม่สามารถหาจานวนจริง y ซึ่ง y 2                            4

ดังนั้น          4      ไม่มีรากที่สอง
และเราก็ไม่สามารถหาจานวนจริง            y   ซึ่ง y n           x    เมื่อ x        0    และ n เป็นจานวนคู่
ดังนั้น จะไม่มีรากที่ n ของจานวนจริงที่เป็นลบ เมื่อ n เป็นจานวนคู่
ตัวอย่าง                    ไม่มีรากที่ 4 ของ     16                หรือ           16   ไม่มีรากอันดับที่ 4
                            และไม่มีรากที่ 6 ของ           50       หรือ           50   ไม่มีรากอันดับที่ 6



                                                               17
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                                   ่
              สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                            ้



ครูผู้สอนควรชี้ให้นักเรียนเห็นถึงข้อผิดพลาด  และความคลาดเคลื่อนของเลขยกกาลังที่มีฐานเป็น
จานวนลบ ซึ่งพบว่าผิดพลาดบ่อยๆ ก็คือ มักจะเขียน
                 3
                   2
                           แทนที่จะเขียน       ( 3)
                                                      2



เพราะว่า         3
                   2
                                (3        3)       9      แต่   ( 3)
                                                                      2
                                                                          ( 3) ( 3)       9

ดังนั้น          3
                   2
                               ( 3)
                                     2


                                    n              n
ในทานองเดียวกันกับ              a              ( a)       เมื่อ n เป็นจานวนคู่
แต่เมื่อ n เป็นจานวนคี่ ทั้งสองจานวนกลับเท่ากัน ดังตัวอย่าง
                       3
                 2                       (2 2 2)           8
                           3
               ( 2)              ( 2) ( 2) ( 2)                   8

จะเห็นว่า              2
                           3
                                 ( 2)3             8

ดังนั้น ครูควรเตือนให้นักเรียนระมัดระวังเวลานาไปอ้างใช้ และอาจยกตัวอย่างเพิ่มเติมอีกสักสองสาม
ตัวอย่าง




                                                          18
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                                   ่
              สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                            ้




ผู้เรียนได้รู้จัก “ค่าหลักของรากที่ n ” ซึ่งแทนด้วยสัญลักษณ์           n
                                                                           โดยเรียกว่า “กรณฑ์ที่       n”   และ
ต้องระบุด้วยว่าเป็นกรณฑ์ที่ n ของจานวนจริงใด เช่น
               กรณฑ์ที่ 2 ของ      3          แทนด้วย       2
                                                                3    (ซึ่งนิยมแทน   2
                                                                                        ด้วย       )
               กรณฑ์ที่ 3 ของ      5          แทนด้วย       3
                                                                5

               กรณฑ์ที่ 4 ของ      25         แทนด้วย       4
                                                                25

               กรณฑ์ที่ 5 ของ      x          แทนด้วย       5
                                                                x

เมื่อจะกล่าวถึงกรณฑ์ที่    n   ของจานวนจริง       x   ใด ก็ต้องคานึงถึงข้อจากัดต่างๆ ของจานวนจริง            x
ด้วย เช่น
               เมื่อ   n   เป็นจานวนคู่   n
                                              x   จะมีความหมาย หรือมีค่า ก็ต่อเมื่อ        x   0

               เมื่อ   n   เป็นจานวนคี่   n
                                              x   จะมีความหมาย หรือมีค่า ก็ต่อเมื่อ        x




                                                       19
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                                       ่
                  สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                                ้




       เช่น        4
                        25 ,
                                     2
                                         9,
                                                     3
                                                                 5,
                                                                             5
                                                                                     20 ,
                                                                                            3
                                                                                                12 ,
                                                                                                         5
                                                                                                             4       มีค่า
       แต่          2
                            5,
                                     4
                                                 9           ไม่มีค่า
เมื่อนาค่าหลักรากที่ n ของ                   x       มายกกาลัง n จะได้
                                 n           n
                                         x                       x

                                                 3
เช่น                             3
                                             5                               5

                                         4       4
                                             2                       2

                                                                         n
แต่ต้องระวังว่า                          n
                                             x
                                                     n
                                                                             x
                                                                                 n




                    n                            x                  ่
                                                                 เมือ n เป็นจานวนค่ี
เพราะว่า                x
                            n
                                =
                                                 |x |                 ่
                                                                 เมือ n เปนจานวนคู่
                                                                          ็
เช่น
                    3            3                                                     3            3
                        ( 7)                                 7               ,                  7                    7
                    4            4                   4
                        ( 7)                             ( 7) ( 7) ( 7) ( 7)
                                                         4
                                             =               7 7 7 7                                =        7           | 7|

เพื่อทบทวนและตรวจสอบผู้เรียน ผู้สอนอาจตั้งคาถามสั้นๆ เพื่อให้ผู้เรียนตอบดังนี้

       1.         144            =                                                                  2.           3
                                                                                                                         216       =

       3.     4
                    16           =                                                                  4.           3
                                                                                                                     ( 12)
                                                                                                                               3
                                                                                                                                   =

                                                                                                                 5
       5.     4
                  ( 5)
                            4
                                 =                                                                  6.               ( 11)
                                                                                                                               5
                                                                                                                                   =




                                                                                           20
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                                         ่
                    สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                                  ้




จากบทนิยามและทฤษฎีบทข้างต้น เราสามารถนามาใช้ในการรวมจานวนจริงที่มีรากลาดับที่เท่ากันได้
เช่น
       3            3                        3
           9            9    =           2        9
       3                3        3                                 3                     3
           9        5 9      2 9       =         (1       5   2) 9              =       4 9

       5        5                        5                             5
           8        4        =               8        4       =            25       =   2

       3            3                    3                                 3                      3
           16           16   =               16 16            =                4 4 4 4        =       43 4
                                         3            3                         3
                             =               43           4   =            4        4




                                                                  21
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                                         ่
                    สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                                  ้



                              1
และจากนิยาม                  an           =            n
                                                           a            เราก็สามารถเขียนจานวนจริงในรูปกรณฑ์อันดับที่                                           n   ต่างๆ

                                                                                                                                            1
ในรูปของเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนตรรกยะที่เขียนในรูปเศษส่วน                                                                           ได้ เช่น
                                                                                                                                            n
                                      1                1                  1
       3            3
           9            9         93               93                  2 93
                                                                   1               1                     1                                  1              1
       3                3                 3
           9        5 9            2 9                         93        5 93                  2 93            (1           5   2) 93               4 93
                                      1            1                       1                             1
       5        5                     5            5                       5                           5 5      5       5
           8        4             8           4                    (8 4)                       (2 )                 2               2
                                                   1               1                                    1                                   1
       3            3
           16           16             (16)3 (16)3                             (16 16)3                        (4           4   4       4)3
                                                               1                       1           1
                                  = (43 4)3                                    3
                                                                          (4 )3 (4)3
                                               3       3       3                           3
                                  =                4               4               4           4
                                                                               n
จากสิ่งที่นักเรียนได้เรียนรู้มาแล้วว่า                                 (na)                    a
                                              1
และ                                       an                   n
                                                                   a          เราก็จะได้ว่า
                                       1 n
                                  (a n )                       a
                                       1 3                                1                                         1 5
                                                                          5 5
เช่น                               4   3
                                                           4 , (2 )                            2 ,           ( 3)   5
                                                                                                                                        3




                                                                                           22
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                                      ่
                 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                               ้




                                                  p
ครูควรย้าเกี่ยวกับการนิยามของ                a
                                                  q
                                                       เมื่อ       p   และ q เป็นจานวนเต็ม
                                                                                              1
โดยมีเงื่อนไขว่า      (p, q )         1       และ          q           0         และ      a
                                                                                              q



                 p
โดยทั่วๆ ไป               ก็เป็นจานวนตรรกยะ ซึ่ง                       p   และ q อาจจะเป็นจานวนบวกหรือลบก็ได้
                 q
                               3           5             15   15
เช่น                              ,          ,              ,
                                4         6             20     12
                                3                  3                   3
ซึ่งเราก็ทราบแล้วว่า                                                            เป็นจานวนจริงที่มีค่าเท่ากัน
                                 4                4                    4
                                15            15                           15
หรือ
                               20              20                          20
       p
แต่        ที่เห็นในสือ มีเงื่อนไขเพิ่มเติมว่า
                      ่                                            (p, q )              1     และ     q        0
       q

ซึ่งก็แปลว่า       ห.ร.ม. ของ        p    และ q ต้องเท่ากับ                         1   และ q ต้องเป็นบวก
                      15              15                    15                       5 3                   3
ดังนั้น
                     20                20                  20                       5 4                   4

จะเห็นว่า      ในที่นี้    p          3,q              4       ทาให้            (p, q )           1   และ      q   0

                 3                            15                           15
ซึ่งเราจะใช้             แทนที่จะใช้                    หรือ
                4                            20                             20
                           4                  2                    1       2
                           6                 3                     3
                     5                   5                     5




                                                                               23
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                                     ่
                สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                              ้



เรามาดูตัวอย่างเพิ่มเติมต่อไปนี้
                        3                 1 3
                        5                 5
                    2                 2

                        3                 1 3                            1 3
                        2                 2                            2 2                           3
                    4                 4                                2                         2               8

                         3                    1       3
                        2                     2                             3                1               1
                    4                     4                            2                     3
                                                                                         2                   8


ผู้สอนควรให้ผู้เรียนพิจารณาเลขยกกาลังแต่ละคู่ที่กาหนดให้ แล้วดูว่าจานวนใดมีค่ามากกว่ากัน เช่น
      23      และ   32          คาตอบคือ                   32                  23                เพราะว่า            32      9   และ   23   8

      45      และ   54          คาตอบคือ                   45                  54                เพราะว่า            32      9   และ   23   8
          1                 1
      2   3
              และ   3       2
                                คาตอบคือ                                                         เพราะว่า
                                                                                                                 p
ในกรณีที่ เลขชี้กาลังเป็นจานวนตรรกยะที่เขียนในรูปเศษส่วน                                                                  การพิจารณาค่อนข้างยุ่งยาก แต่
                                                                                                                 q
ก็สามารถทาได้ ตัวอย่างต่อไปนี้จะเป็นการพิจารณาจานวนสองจานวนที่อยู่ในรูปเลขยกกาลังที่มีฐาน
ไม่เท่ากัน เราพยายามปรับให้จานวนดังกล่าวมีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเดียวกัน (เท่ากัน) เพื่อง่ายต่อ
การพิจารณา

      เช่น          3
                        5       และ               3       จานวนใดมีค่ามากกว่ากัน
                                                                     2
                                          1                        1 2                       1                       1
เพราะว่า            3
                        5             5   3
                                                               5   3
                                                                                     5
                                                                                         2 6
                                                                                                             25      6



                                                                     3
                                          1                        1 3                       1                       1
                                          2                        2                     3 6                         6
                        3             3                        3                     3                       27

                                                                   1                     1
ทาให้สรุปได้ว่า                     3                     27       6
                                                                           >        25   6               3
                                                                                                             5

และถ้าให้พิจารณาว่า             3
                                    5         และ          4
                                                               6           จานวนใดมีค่ามากกว่ากัน (ก็ทาได้เช่นเดียวกัน)




                                                                                     24
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                                          ่
                     สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                                   ้


                                                                      4                            1
                                           1                        1 4                                                             1
                                                                                               4 12
เพราะว่า               3
                           5           5   3
                                                                5   3
                                                                                           5                           625         12



                                                                      3                            1
                                           1                        1 3                                                            1
                       4                                                                       3 12
                           6           6   4
                                                                6   4
                                                                                           6                           216 12

ดังนั้น         3
                  5 >
                        4
                          6
และถ้าต้องเรียงลาดับจานวน 3 จานวนต่อไปนี้                                                      3 ,
                                                                                                           3
                                                                                                               5 ,
                                                                                                                               4
                                                                                                                                   6    จากน้อยไปมาก ก็จะได้ดังนี้
4          3
    6 ,        5 ,          3


      ในการเปรียบเทียบจานวน 2 จานวนที่เท่ากัน ถ้าเป็นเลขยกกาลังที่มีฐานเท่ากันแล้ว เลขชี้
กาลังย่อมเท่ากัน เพื่อให้ผู้เรียนได้มีทักษะเกี่ยวกับเรื่องนี้ ให้ผู้สอนยกตัวอย่างเพิ่มเติมดังนี้

ตัวอย่างที่ 1 จงหาค่าของ x ที่สอดคล้องตามสมการ
              1. 32x 1         35
                                                            1
                      2.        5 3x                    x 2
                                                        5
วิธีทา 1.             เพราะว่า                 32x      1
                                                                            35            ดังนั้น          2x              1            5   ซึ่งทาให้     x   2

                      ดังนั้น ค่า          x       ที่สอดคล้องกับสมการในข้อ 1 คือ                                                  x        2

                                                                            1                        (x 2)
           2.         เพราะว่า                 5
                                                   3x
                                                                            x 2                5
                                                                        5
                                                                                                                                        1
                      ดังนั้น                  3x                       (x           2)       ซึ่งทาให้            x
                                                                                                                                        2
                                                                                                                                   1
                      ค่า   x   ที่สอดคล้องกับสมการในข้อ 2 คือ                                                 x
                                                                                                                                   2

                                                                                         x 2 (x 3)                         (2 x)
ตัวอย่างที่ 2 จงหาเซตคาตอบของสมการ                                                   2                             8        3




                                                                                         (2 x )                            (2 x)
                                                    x 2 (x 3)
วิธีทา                เพราะว่า                                                                                         3    3                   (2 3x )
                                               2                                     8    3
                                                                                                                   2                         2

                      ดังนั้น                                           x (x
                                                                            2
                                                                                         3)            =           2        3x
                                                   3                2
                                               x            3x                  3x         2           = 0
                                                                        2
                                               (x           2)(x                 x         1)          = 0                         ……………………….*



                                                                                           25
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                         ่
    สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                  ้


                                             2
                                         1          3
เพราะว่า   (x
                2
                    x   1)       x                        ดังนั้น   (x
                                                                         2
                                                                                 x       1)     0
                                         2          4
จากสมการ * และ (x 2          x   1)      0       ทาให้สรุปได้ว่า    x        2       0    นั่นคือ   x   2

เมื่อตรวจสอบคาตอบ จะได้ว่า           x        2    สอดคล้องกับสมการที่กาหนดให้
ดังนัน เซตคาตอบของสมการนี้คือ
     ้                                       {2}




                                              26
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                                    ่
               สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                             ้




เมื่อผู้เรียนได้ดูสื่อเกี่ยวกับเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนตรรกยะแล้ว            เพื่อให้แน่ใจว่าเรา
เข้าใจอย่างถ่องแท้และเกิดทักษะ จึงควรทาแบบฝึกหัดเพิ่มเติมดังต่อไปนี้

                                                   27
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                                  ่
             สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                           ้



                                                               แบบฝึกหัดที่ 2
             เรื่อง เลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนตรรกยะ

1.   จงหาค่าของจานวนต่อไปนี้ (โดยให้อยู่ในรูปที่ตัวส่วนไม่ติดกรณฑ์)
                      1                        2                                1               1
              8       3
                              27               3
                                                                            22 33
     1.1                          1                                   1.2                   1
                          36      2
                                                                                    4       6



                          1
                                           1
                  3       2
              3                8           2
                                                                                    6            147
     1.3          1
                                                                      1.4
              3   2
                              32
                                           1
                                           2                                                    96

                                                                                                    3
                  3
                 27                                                                 75                      54
     1.5                                                              1.6                               6
               8   50                                                               12                      8

                              6                            1                ( 3                                 2 )( 2           3)
     1.7                                                              1.8
               2                           3           3       2                    ( 5                         1)(2            5)


2.   ให้ x และ y เป็นจานวนจริงบวก
     จงทาให้อยู่ในรูปอย่างง่ายและมีเลขชี้กาลังเป็นจานวนบวก
                      2                    4                                            1                   2
     2.1     3x 3 2x 3                                                2.2       4x 5 5x 3

                      2                    4       2                                        1                       1       2
     2.3     3x 3 2x 3                                                2.4       2x          2
                                                                                                        3x          3




                          4        1                                                    3           2           2       6
             12x y        3        2                                            5x 4                        y3
     2.5                  5            7                              2.6                               6           7
             27x 3 y                   2
                                                                                     125x 5 y 2


3.   จงทาให้ส่วนของจานวนในข้อต่อไปนี้อยู่ในรูปที่ไม่มีเครื่องหมายกรณฑ์ที่สองปรากฏอยู่
                              12                                                                    3
     3.1                                                              3.2
               5                           8                                3 2                         2 3

               5                  2 7                                                               3
     3.3                                                              3.2
                  7                            5                            3 2                         2 3




                                                                     28
38 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่1_เลขยกกำลัง
38 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่1_เลขยกกำลัง
38 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่1_เลขยกกำลัง
38 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่1_เลขยกกำลัง
38 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่1_เลขยกกำลัง
38 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่1_เลขยกกำลัง
38 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่1_เลขยกกำลัง
38 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่1_เลขยกกำลัง
38 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่1_เลขยกกำลัง
38 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่1_เลขยกกำลัง
38 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่1_เลขยกกำลัง
38 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่1_เลขยกกำลัง
38 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่1_เลขยกกำลัง
38 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่1_เลขยกกำลัง
38 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่1_เลขยกกำลัง
38 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่1_เลขยกกำลัง
38 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่1_เลขยกกำลัง
38 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่1_เลขยกกำลัง
38 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่1_เลขยกกำลัง
38 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่1_เลขยกกำลัง
38 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่1_เลขยกกำลัง

More Related Content

What's hot

อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์krurutsamee
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วนหน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วนInmylove Nupad
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...พิทักษ์ ทวี
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดคุณครูพี่อั๋น
 
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมProud N. Boonrak
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตKuntoonbut Wissanu
 
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์Jiraporn
 
คณิตศาสตร์_ป.5_หน่วยที่ 6_การบวก_การลบ_การคูณ_การหารเศษส่วน (1).doc
คณิตศาสตร์_ป.5_หน่วยที่ 6_การบวก_การลบ_การคูณ_การหารเศษส่วน (1).docคณิตศาสตร์_ป.5_หน่วยที่ 6_การบวก_การลบ_การคูณ_การหารเศษส่วน (1).doc
คณิตศาสตร์_ป.5_หน่วยที่ 6_การบวก_การลบ_การคูณ_การหารเศษส่วน (1).docamppbbird
 
8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบWijitta DevilTeacher
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตAon Narinchoti
 
คอมพลีเมนต์
คอมพลีเมนต์คอมพลีเมนต์
คอมพลีเมนต์Aon Narinchoti
 
การแก้ปัญหา
การแก้ปัญหาการแก้ปัญหา
การแก้ปัญหาJintana Kujapan
 
พื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้งพื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้งkrurutsamee
 

What's hot (20)

49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
 
อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วนหน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
 
สมการตรีโกณ
สมการตรีโกณสมการตรีโกณ
สมการตรีโกณ
 
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็กใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
 
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
 
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
 
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่390 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
 
คณิตศาสตร์_ป.5_หน่วยที่ 6_การบวก_การลบ_การคูณ_การหารเศษส่วน (1).doc
คณิตศาสตร์_ป.5_หน่วยที่ 6_การบวก_การลบ_การคูณ_การหารเศษส่วน (1).docคณิตศาสตร์_ป.5_หน่วยที่ 6_การบวก_การลบ_การคูณ_การหารเศษส่วน (1).doc
คณิตศาสตร์_ป.5_หน่วยที่ 6_การบวก_การลบ_การคูณ_การหารเศษส่วน (1).doc
 
8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ
 
26 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น บทนำ
26 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น บทนำ26 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น บทนำ
26 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น บทนำ
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซต
 
คอมพลีเมนต์
คอมพลีเมนต์คอมพลีเมนต์
คอมพลีเมนต์
 
การแก้ปัญหา
การแก้ปัญหาการแก้ปัญหา
การแก้ปัญหา
 
หน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญหน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญ
 
พื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้งพื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้ง
 
44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ
44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ
44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ
 

Similar to 38 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่1_เลขยกกำลัง

13040553796184
1304055379618413040553796184
13040553796184nha2509
 
ชุดฝึกทักษะ 54
ชุดฝึกทักษะ 54ชุดฝึกทักษะ 54
ชุดฝึกทักษะ 54Orapan Chamnan
 

Similar to 38 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่1_เลขยกกำลัง (20)

59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
 
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
 
62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย
62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย
62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย
 
14 จำนวนจริง ตอนที่1_สมบัติของจำนวนจริง
14 จำนวนจริง ตอนที่1_สมบัติของจำนวนจริง14 จำนวนจริง ตอนที่1_สมบัติของจำนวนจริง
14 จำนวนจริง ตอนที่1_สมบัติของจำนวนจริง
 
63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม
63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม
63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม
 
08 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่2_ประพจน์และกาสมมูล
08 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่2_ประพจน์และกาสมมูล08 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่2_ประพจน์และกาสมมูล
08 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่2_ประพจน์และกาสมมูล
 
60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
 
03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต
03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต
03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต
 
64 ลำดับและอนุกรม ตอนที่6_ทฤษฏีบทการลู่เข้าของอนุกรม
64 ลำดับและอนุกรม ตอนที่6_ทฤษฏีบทการลู่เข้าของอนุกรม64 ลำดับและอนุกรม ตอนที่6_ทฤษฏีบทการลู่เข้าของอนุกรม
64 ลำดับและอนุกรม ตอนที่6_ทฤษฏีบทการลู่เข้าของอนุกรม
 
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
 
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
 
37 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม บทนำ
37 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม บทนำ37 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม บทนำ
37 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม บทนำ
 
integer
integerinteger
integer
 
13040553796184
1304055379618413040553796184
13040553796184
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
 
67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน
67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน
67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน
 
ชุดฝึกทักษะ 54
ชุดฝึกทักษะ 54ชุดฝึกทักษะ 54
ชุดฝึกทักษะ 54
 
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตรแผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
 

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์ (20)

Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1
 
Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3
 
Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2
 
Basic m5-2-link
Basic m5-2-linkBasic m5-2-link
Basic m5-2-link
 
Basic m5-1-link
Basic m5-1-linkBasic m5-1-link
Basic m5-1-link
 
Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1
 
Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2
 
Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1
 
Basic m4-2-link
Basic m4-2-linkBasic m4-2-link
Basic m4-2-link
 
Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2
 
Basic m4-1-link
Basic m4-1-linkBasic m4-1-link
Basic m4-1-link
 
Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1
 
Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2
 
Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3
 
Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4
 
Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2
 
Basic m3-2-link
Basic m3-2-linkBasic m3-2-link
Basic m3-2-link
 
Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1
 
Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4
 
Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3
 

38 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่1_เลขยกกำลัง

  • 1. คู่มือประกอบสื่อการสอน วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ฟังก์ชันเลขชี้กาลังและฟังก์ชันลอการิทึม (เนื้อหาตอนที่ 1) เลขยกกาลัง โดย รองศาสตราจารย์ เพ็ญพรรณ ยังคง สื่อการสอนชุดนี้ เป็นความร่วมมือระหว่าง คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กับ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ สื่อการสอน เรื่อง ฟังก์ชันชี้กาลังและฟังก์ชันลอการิทึม สื่อการสอน เรื่อง ฟังก์ชันชี้กาลังและฟังก์ชันลอการิทึม มีจานวนตอนทั้งหมดรวม 16 ตอน ซึ่งประกอบด้วย 1. บทนา เรื่อง ฟังก์ชันชี้กาลังและฟังก์ชันลอการิทึม 2. เนื้อหาตอนที่ 1 เลขยกกาลัง - เลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็ม - เลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานอนตรรกยะ - เขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนอตรรกยะ 3. เนื้อหาตอนที่ 2 ฟังก์ชันชี้กาลังและฟังก์ชันลอการิทึม - ฟังก์ชันเลขชี้กาลัง - กราฟของฟังก์ชันเลขชี้กาลัง - สมการเลขชี้กาลัง 4. เนื้อหาตอนที่ 3 ลอการิทึม - ฟังก์ชันลอการิทึม - กราฟของฟังก์ชันลอการิทึม - สมการลิการิทึม 5. เนื้อหาตอนที่ 4 อสมการเลขชี้กาลัง - ทบทวนสมบัติที่สาคัญของเลขยกกาลัง - สมการและอสมการของเลขยกกาลัง - ฟังก์ชันเลขชี้กาลังในชีวิตประจาวัน 6. เนื้อหาตอนที่ 5 อสมการลอการิทึม - ทบทวนสมบัติที่สาคัญของลอการิทึม - สมการและอสมการลอการิทึม - ปัญหาในชีวิตประจาวันที่เกียวข้องกับฟังก์ชันเลขชี้กาลังและฟังก์ชัน ลอการิทึม 7. แบบฝึกหัด (พื้นฐาน 1) 8. แบบฝึกหัด (พื้นฐาน 2) 9. แบบฝึกหัด (พื้นฐาน 3) 10. แบบฝึกหัด (พื้นฐาน 4) 11. แบบฝึกหัด (ขั้นสูง) 1
  • 3. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ 12. สื่อปฏิสัมพันธ์ เรื่อง กราฟของฟังก์ชันชี้กาลังและฟังก์ชันลอการิทึม คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า สื่อการสอนชุดนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการเรียนการ สอนส าหรั บ ครู และนั ก เรี ย นทุ ก โรงเรี ย นที่ ใ ช้ สื่ อ ชุ ด นี้ ร่ ว มกั บ การเรี ย นการสอน วิ ช า คณิตศาสตร์ เรื่อง ฟังก์ชันชี้กาลังและฟังก์ชันลอการิทึม นอกจากนี้หากท่านสนใจสื่อการสอน วิชาคณิตศาสตร์ในเรื่องอื่นๆที่คณะผู้จัดทาได้ดาเนินการไปแล้ว ท่านสามารถดูชื่อเรื่อง และ ชื่อตอนได้จากรายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ทั้งหมดในตอนท้ายของคู่มือฉบับนี้ 2
  • 4. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ เรื่อง ฟังก์ชันเลขชี้กาลังและฟังก์ชันลอการิทึม หมวด เนื้อหา ตอนที่ 1 (1/5) หัวข้อย่อย 1. เลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็ม 2. เลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนตรรกยะ 3. เลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนอตรรกยะ จุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียน 1. มีความเข้าใจเกี่ยวกับเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็ม 2. มีความเข้าใจเกี่ยวกับเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนตรรกยะ รวมถึงความเข้าใจเกี่ยวกับรากที่ n ของจานวนจริงด้วย 3. มีความเข้าใจเกี่ยวกับเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนอตรรกยะ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ผู้เรียนสามารถ 1. อธิบายความหมายของเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็มได้ 2. อธิบายความหมายของเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนตรรกยะได้ 3. อธิบายความหมายของรากที่ n ของจานวนจริง และความหมายของกรณฑ์ n ของจานวนจริงด้วย 4. หาค่าของจานวนที่อยู่ในรูปของเลขยกกาลัง และแก้สมการเลขยกกาลังได้ 3
  • 5. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ เนื้อหาในสื่อการสอน เนื้อหาทั้งหมด 4
  • 6. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ 1. เลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็ม 5
  • 7. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ 1. เลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็ม ในหัวข้อนี้ผู้เรียนจะได้แนวคิดเกี่ยวกับเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็ม บทนิยาม ต่างๆ และทฤษฎีบทที่สาคัญของเลขยกกาลัง เพื่อให้ผู้เรียนได้เข้าใจและเห็นตัวอย่างหลากหลายรูปแบบ จึงเพิ่มเติมตัวอย่างดังนี้ จากสื่อ ผู้เรียนจะได้เห็นเลขยกกาลังที่อยู่ในรูป a m เมื่อ a 3 , m 4 34 3 3 3 3 3 6 6 6 6 6 a , m 3 7 7 7 7 7 3 a 0.5 , m 3 0.5 0.5 0.5 0.5 a 1.5 , m 2 1.5 2 1.5 1.5 3 1 1 เนื่องจาก 0.5 ดังนั้น เราอาจเขียนแทน 0.5 3 ด้วย ซึ่งมีความหมายเหมือนกัน 2 2 2 3 3 และในทานองเดียวกัน 1.5 ดังนั้นเราอาจเขียนแทน 1.5 2 ด้วย 2 2 p ดังนั้น ในกรณีที่ a เป็นจานวนตรรกยะที่เขียนในรูปเศษส่วน หรือเขียนในรูปเลขทศนิยมก็ใช้ได้ q ทั้งสองแบบ เช่น 3 3 1 1 1 1 0.25 = = 4 4 4 4 5 5 3 3 3 3 3 3 0.75 = = 4 4 4 4 4 4 6
  • 8. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ 4 4 5 5 5 5 5 1.25 = = 4 4 4 4 4 3 3 1 1 1 1 0.025 = = 40 40 40 40 จากสื่อ ผู้เรียนได้พบกับบทนิยามของ a 0 และ a m และทฤษฎีบทที่สาคัญของเลขยกกาลัง เพื่อ ทดสอบความเข้าใจและเป็นการเน้นย้าอีกครั้งของผู้เรียนจะได้จดจากฎและกติกาต่างๆ ได้อย่างแม่นยา และไม่สับสนเมื่อถึงเวลานาไปใช้จะได้ใช้ได้อย่างคล่องแคล่วและไม่ผิดพลาด ผู้สอนอาจถามผู้เรียน เพิ่มเติมด้วยคาถามสั้นๆ ต่อไปนี้ 0 0 4 0 3 5 3 0 375 02 3 0 47 และเมื่อเห็นว่าผู้เรียนตอบได้อย่างถูกต้อง แล้วก็กลับมาเน้นต่อว่า ผู้เรียนอย่าลืมว่า 0 m ไม่มีค่า เมื่อ m เป็นจานวนเต็มบวก เช่น 0 2, 0 3, 0 5 ไม่มีค่า (เลขชีกาลังเป็นจานวนเต็มลบ) ้ ผู้สอนควรยกตัวอย่างเพิ่มเติม ในกรณีที่ฐานของเลขยกกาลังเป็นจานวนตรรกยะที่อยู่ในรูปเศษส่วน และมีเลขชี้กาลังเป็นจานวนลบ ดังนี้ 3 2 1 1 1 125 = = = 5 2 3 2 2 2 8 8 5 5 5 5 125 7
  • 9. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ 1 1 1 1 เพราะว่า = 2 2 2 2 2 2 5 5 5 5 5 5 3 5 5 5 5 = = 2 2 2 2 3 3 2 5 ดังนั้น = 5 2 m m a b ในกรณีทั่วไป = เมื่อ a และ b ไม่เป็นศูนย์ b a 5 5 3 2 2 2 2 2 2 เช่น = = 2 3 3 3 3 3 3 32 = 243 เพื่อเป็นการทบทวนทฤษฎีบทที่ผู้เรียนเห็นจากสื่อ ให้ผู้สอนยกตัวอย่างเพิ่มเติมต่อไปนี้ 7 4 2 4 2 6 5 7 4 3 3 3 3 3 4 5 5 5 36 5n 5 2 5n 2 36 8 3 2 38 25 15 3 5 3 3 53 33 25 ( 3) 28 2 3 4 n 4 n 35 1 1 3 3n 37 3 7 5 32 3 4 4 3 12 2 2 2 เมื่อผู้เรียนเข้าใจดีแล้ว ก็เพิ่มเติมการบวกและลบกันของเลขยกกาลังที่มีฐานเหมือนกัน และเลขชี้กาลัง เดียวกัน ดังตัวอย่างต่อไปนี้ 3 3 3 3 2 5 2 = (3 5)2 = 8 23 n n 4n 3 4n 2 1 2 1 = 4 4 3 4 4 = 16 4 n 12 4 n = 4 4 n = 4n 1 8
  • 10. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ 1 จากบทนิยาม a m m a 1 ย่อมได้ว่า a m = m a 1 1 เช่น 23 = 3 , 3 5 5 2 3 จากสื่อผู้เรียนได้เห็นตัวอย่างของการดาเนินการจัดการให้จานวนที่กาหนดให้เขียนอยู่ในรูปอย่างง่าย และมีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็มบวก เพื่อให้นักเรียนหรือผู้เรียนได้มีความเข้าใจเพิ่มขึ้นและได้มีทักษะ ในการดาเนินการ ผู้สอนควรเพิ่มตัวอย่างอีกสักสองสามตัวอย่าง ดังต่อไปนี้ 9
  • 11. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ ตัวอย่างต่อไปนี้ จะกาหนดให้ a, b, x, y, z เป็นจานวนจริงที่ไม่เป็นศูนย์ ตัวอย่างที่ 1 จงทาให้เป็นรูปอย่างง่ายและมีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็มบวก 3 2 ab 2 5 = a 3 ( 2) b 2 5 (ดาเนินการกับจานวนที่มีฐานเดียวกันเสียก่อน) a b = a5 b 7 5 a = 7 (จัดรูปเพื่อให้เลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็มบวก) b 2 3 0 2 3 0 5 2 3 x y 1 xy x y = = 5 2 3 15 6 x y x y 4 3 2 4 1 3 4 1 3 ax yb yb ตัวอย่างที่ 2 = 3 2 ab 2xy a 4x ab 2xy 3 1 3 y4 b = 4 2 3 2 2 a x ab xy 12 3 y b = 8 6 2 a x ab xy 12 1 3 2 y b = 8 1 6 1 a x 11 5 y b 5 11 x y = 9 5 = 9 5 a x ab 10
  • 12. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ p n 2 2n 1 n 2 p 2n 1 p a b a b ตัวอย่างที่ 3 n = 2p 1 n p 2 n b2p 1 ap 2 b a np 2 p 2np p a b = b 2 pn n a pn 2n = a (np 2 p ) ( pn 2n ) b(2np p ) (2 pn n ) 2 p 2n = a bp n p n p n b b = 2( p n ) = 2 a a p n (p n ) 2 x y 2 ตัวอย่างที่ 4 n 2 p n = xp n n 2 y (p n ) (p n ) x y 2 p 2 2( p n ) = x y 1 = 2 p 2 2( p n ) x y 1 = 2( p 2) 4( p n ) x y 4 4( p n ) y 4( p n ) x y = 2( p 2) = 2p x x (เพราะว่า p เป็นจานวนเต็มบวก แต่บอกไม่ได้ว่า p 2 เป็นจานวนเต็มบวกหรือไม่ แต่โจทย์ 1 ต้องการให้คาตอบเขียนอยู่ในรูปที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็มบวก ดังนั้นจึงเขียน 2( p 2) ในรูป x x4 ) x 2p 11
  • 13. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ แบบฝึกหัดที่ 1 เรื่อง เลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็ม 1. กาหนดให้ a, b, c, x, y, z เป็นจานวนจริงที่ไม่เป็นศูนย์ จงทาให้เป็นรูปอย่างง่ายและมีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็มบวก 2 3 2 1 0 5 2 0 2 3 1.1 2a b 3a b 1.2 a b 1 2 4a b 3 2 2 1 4a 2b c 4 3 2c 0 c 2a 3 1.3 1.4 c 3 12a 3b a 4b 1 9b 4 3 5 2 3 1 2 1.5 3x y 4 2 4x y 1.6 9x y 3 2 3x y 5 3 3 2 0 3 x 2y 3 x 2y 4 x y x y 1 2 1.7 2 1.8 0 2 3 x y y x 1 2 x 2yz 3 1 z 3y 0 1.9 1.10 3 0 2 x z y y 7zx 4 x4 2. กาหนดให้ a, b, n, p, x, y เป็นจานวนเต็มบวก จงทาให้เป็นรูปอย่างง่ายและมีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็มบวก p 4 n 2 2n 1 3n 1 2n 1 a b x y 2.1 n 2.2 6n 1 2n 5 ap 1 2p 2 b x y n 3 n 2 3n 1 n 3 2 a b x y 2.3 3n 6 2.4 n 2 n 1 a b x y n 1 2n 2 n 2 4 1 y 3 n 2.6 x y x 3n 2 2n 1 y 2.6 3x 2n x y 2 3 3. จงทาให้เป็นรูปอย่างง่ายและมีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็มบวก กาหนดให้ n n 2 2n 1 n 1 2n 1 n 1 n 1 4 2 8 9 81 16 3.1 3n 2 3.2 n 3 2n 2 4 27 12
  • 14. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ n 1 2 2n 1 n 8 n 1 4 n 1 64 24 9 3.3 n 2 1 n 1 3.4 3 n 3n 4 2n 16n (27) 3 1 2n n 3 4n 1 4n 1 2 20 3.5 n 1 n 1 2n 1 3.6 n 3 2 n 16 4n 6 15 4. กาหนดให้ x, y เป็นจานวนจริงบวก และ n เป็นจานวนเต็มบวก จงแยกตัวประกอบในแต่ละข้อต่อไปนี้ 8 2 3 2 1 4 4.1 x y 4.2 6 10 x y 4.3 x 6 z 2y 4 4.4 9x 2 6x 1 1 3 10 4.5 y 4 5y 2 6 4.6 2 8 x x 4.7 x 2 8x 1 16 4.8 6x 6 13x 3 5 4.9 8a 3 b 3 4.10 a 9 27b 6 5. กาหนดให้ n และ x เป็นจานวนเต็มบวก จงทาให้เป็นรูปอย่างง่าย n 2 n 1 n 4 n 1 9 36 9 3 6 3 5.1 n 5.2 n 2 11 9 7 3 n 1 n n 1 n 2 4 2 3 2 9 3 5 3 5.3 n 1 n 5.4 n 2 n 2 2 3 3 n n 1 8 5 2 5 x n 1 3x n 5.5 n 1 n 1 5.6 n 2 n 5 3 5 x 9x 6. กาหนดให้ a, b, x, y เป็นจานวนเต็มบวก จงทาให้อยู่ในรูปอย่างง่ายและมีเลขชี้กาลังเป็นบวก 1 1 1 2 x y 5a 2b 6.1 1 1 6.2 1 2 x y a 3b 2 1 1 2 a 1b 2 a 2b 1 y 2x y 3x 6.3 2 6.4 1 2 2 1 b a 1 x y 3x y 16 4 x y 6.5 3 6 2 y x x y 13
  • 15. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ 2. เลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนตรรกยะ 14
  • 16. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ 2. เลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนตรรกยะ ในหัวข้อนี้เราจะกล่าวถึงเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังที่เป็นจานวนตรรกยะ ซึ่งจะขอกล่าวถึง รากที่ n ของจานวนจริง เมื่อ n เป็นจานวนนับเสียก่อน เพือจะเป็นการนาไปสู่การนิยามเลขยกกาลัง ่ ที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนตรรกยะ โดยจะเริ่มจากบทนิยามของรากที่สองของ x แล้วจึงต่อด้วยราก ที่ n ของ x เมื่อ n เป็นจานวนนับใดๆ ที่มากกว่า 2 เพื่อให้ผู้เรียนได้คุ้นเคยกับคาว่ารากที่สองของจานวนจริง x ให้คุณครูยกตัวอย่างเพิ่มเติมต่อไปนี้ เพราะว่า 52 = 25 ดังนั้น 5 เป็นรากที่สองของ 25 52 = 25 ดังนั้น 5 เป็นรากที่สองของ 25 และเพราะว่า 5 เป็นรากที่สองที่ไม่เป็นลบของ 25 ดังนั้น 5 25 และ 5 25 เพราะว่า 72 = 49 ดังนั้น 7 เป็นรากที่สองของ 49 72 = 49 ดังนั้น 7 เป็นรากที่สองของ 49 และเพราะว่า 7 เป็นรากที่สองที่ไม่เป็นลบของ 49 ดังนั้น 7 49 และ 7 49 15
  • 17. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ ตัวอย่าง 8 8 4 2 169 13 13 13 50 50 25 5 1 1 1 1 5 81 36 9 9 6 6 9 6 5 5 5 5 5 625 25 25 25 5 5 5 49 7 7 7 5 5 5 5 5 25 5 5 5 0.25 0.25 (0.5) (0.5) 0.5 100 10 10 10 ผู้เรียนควรระมัดระวังในการพิจารณาค่าต่างๆ ดังตัวอย่างต่อไปนี้ 2 5 25 5 ( 5) ดังนั้น สาหรับ a ที่เป็นจานวนจริงใดๆ a 2 |a | ไม่ใช่ a เช่น ( 7) 2 = | 7| , 62 = |6| = 6 b2 = |b | x2 = |x | 16
  • 18. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ รากที่ n ของจานวนจริง ในหัวข้อนี้เราจะกล่าวถึงการนิยามรากที่ n ของจานวนจริง x และจะได้รู้จักกับรากหลักที่ n ของจานวนจริง x ด้วย ผู้เรียนสามารถทบทวนความหมายของรากที่ n ของ x เมื่อ x เป็นจานวนจริง และ n เป็นจานวน เต็มบวก โดยดูจากตัวอย่างต่อไปนี้ y3 x แล้ว y เป็นรากที่ 3 ของ x 23 8 แล้ว 2 เป็นรากที่ 3 ของ 8 24 16 แล้ว 2 เป็นรากที่ 4 ของ 16 2 4 16 แล้ว 2 เป็นรากที่ 4 ของ 16 เนื่องจาก เราไม่สามารถหาจานวนจริง y ซึ่ง y 2 4 ดังนั้น 4 ไม่มีรากที่สอง และเราก็ไม่สามารถหาจานวนจริง y ซึ่ง y n x เมื่อ x 0 และ n เป็นจานวนคู่ ดังนั้น จะไม่มีรากที่ n ของจานวนจริงที่เป็นลบ เมื่อ n เป็นจานวนคู่ ตัวอย่าง ไม่มีรากที่ 4 ของ 16 หรือ 16 ไม่มีรากอันดับที่ 4 และไม่มีรากที่ 6 ของ 50 หรือ 50 ไม่มีรากอันดับที่ 6 17
  • 19. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ ครูผู้สอนควรชี้ให้นักเรียนเห็นถึงข้อผิดพลาด และความคลาดเคลื่อนของเลขยกกาลังที่มีฐานเป็น จานวนลบ ซึ่งพบว่าผิดพลาดบ่อยๆ ก็คือ มักจะเขียน 3 2 แทนที่จะเขียน ( 3) 2 เพราะว่า 3 2 (3 3) 9 แต่ ( 3) 2 ( 3) ( 3) 9 ดังนั้น 3 2 ( 3) 2 n n ในทานองเดียวกันกับ a ( a) เมื่อ n เป็นจานวนคู่ แต่เมื่อ n เป็นจานวนคี่ ทั้งสองจานวนกลับเท่ากัน ดังตัวอย่าง 3 2 (2 2 2) 8 3 ( 2) ( 2) ( 2) ( 2) 8 จะเห็นว่า 2 3 ( 2)3 8 ดังนั้น ครูควรเตือนให้นักเรียนระมัดระวังเวลานาไปอ้างใช้ และอาจยกตัวอย่างเพิ่มเติมอีกสักสองสาม ตัวอย่าง 18
  • 20. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ ผู้เรียนได้รู้จัก “ค่าหลักของรากที่ n ” ซึ่งแทนด้วยสัญลักษณ์ n โดยเรียกว่า “กรณฑ์ที่ n” และ ต้องระบุด้วยว่าเป็นกรณฑ์ที่ n ของจานวนจริงใด เช่น กรณฑ์ที่ 2 ของ 3 แทนด้วย 2 3 (ซึ่งนิยมแทน 2 ด้วย ) กรณฑ์ที่ 3 ของ 5 แทนด้วย 3 5 กรณฑ์ที่ 4 ของ 25 แทนด้วย 4 25 กรณฑ์ที่ 5 ของ x แทนด้วย 5 x เมื่อจะกล่าวถึงกรณฑ์ที่ n ของจานวนจริง x ใด ก็ต้องคานึงถึงข้อจากัดต่างๆ ของจานวนจริง x ด้วย เช่น เมื่อ n เป็นจานวนคู่ n x จะมีความหมาย หรือมีค่า ก็ต่อเมื่อ x 0 เมื่อ n เป็นจานวนคี่ n x จะมีความหมาย หรือมีค่า ก็ต่อเมื่อ x 19
  • 21. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ เช่น 4 25 , 2 9, 3 5, 5 20 , 3 12 , 5 4 มีค่า แต่ 2 5, 4 9 ไม่มีค่า เมื่อนาค่าหลักรากที่ n ของ x มายกกาลัง n จะได้ n n x x 3 เช่น 3 5 5 4 4 2 2 n แต่ต้องระวังว่า n x n x n n x ่ เมือ n เป็นจานวนค่ี เพราะว่า x n = |x | ่ เมือ n เปนจานวนคู่ ็ เช่น 3 3 3 3 ( 7) 7 , 7 7 4 4 4 ( 7) ( 7) ( 7) ( 7) ( 7) 4 = 7 7 7 7 = 7 | 7| เพื่อทบทวนและตรวจสอบผู้เรียน ผู้สอนอาจตั้งคาถามสั้นๆ เพื่อให้ผู้เรียนตอบดังนี้ 1. 144 = 2. 3 216 = 3. 4 16 = 4. 3 ( 12) 3 = 5 5. 4 ( 5) 4 = 6. ( 11) 5 = 20
  • 22. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ จากบทนิยามและทฤษฎีบทข้างต้น เราสามารถนามาใช้ในการรวมจานวนจริงที่มีรากลาดับที่เท่ากันได้ เช่น 3 3 3 9 9 = 2 9 3 3 3 3 3 9 5 9 2 9 = (1 5 2) 9 = 4 9 5 5 5 5 8 4 = 8 4 = 25 = 2 3 3 3 3 3 16 16 = 16 16 = 4 4 4 4 = 43 4 3 3 3 = 43 4 = 4 4 21
  • 23. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ 1 และจากนิยาม an = n a เราก็สามารถเขียนจานวนจริงในรูปกรณฑ์อันดับที่ n ต่างๆ 1 ในรูปของเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนตรรกยะที่เขียนในรูปเศษส่วน ได้ เช่น n 1 1 1 3 3 9 9 93 93 2 93 1 1 1 1 1 3 3 3 9 5 9 2 9 93 5 93 2 93 (1 5 2) 93 4 93 1 1 1 1 5 5 5 5 5 5 5 5 5 8 4 8 4 (8 4) (2 ) 2 2 1 1 1 1 3 3 16 16 (16)3 (16)3 (16 16)3 (4 4 4 4)3 1 1 1 = (43 4)3 3 (4 )3 (4)3 3 3 3 3 = 4 4 4 4 n จากสิ่งที่นักเรียนได้เรียนรู้มาแล้วว่า (na) a 1 และ an n a เราก็จะได้ว่า 1 n (a n ) a 1 3 1 1 5 5 5 เช่น 4 3 4 , (2 ) 2 , ( 3) 5 3 22
  • 24. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ p ครูควรย้าเกี่ยวกับการนิยามของ a q เมื่อ p และ q เป็นจานวนเต็ม 1 โดยมีเงื่อนไขว่า (p, q ) 1 และ q 0 และ a q p โดยทั่วๆ ไป ก็เป็นจานวนตรรกยะ ซึ่ง p และ q อาจจะเป็นจานวนบวกหรือลบก็ได้ q 3 5 15 15 เช่น , , , 4 6 20 12 3 3 3 ซึ่งเราก็ทราบแล้วว่า เป็นจานวนจริงที่มีค่าเท่ากัน 4 4 4 15 15 15 หรือ 20 20 20 p แต่ ที่เห็นในสือ มีเงื่อนไขเพิ่มเติมว่า ่ (p, q ) 1 และ q 0 q ซึ่งก็แปลว่า ห.ร.ม. ของ p และ q ต้องเท่ากับ 1 และ q ต้องเป็นบวก 15 15 15 5 3 3 ดังนั้น 20 20 20 5 4 4 จะเห็นว่า ในที่นี้ p 3,q 4 ทาให้ (p, q ) 1 และ q 0 3 15 15 ซึ่งเราจะใช้ แทนที่จะใช้ หรือ 4 20 20 4 2 1 2 6 3 3 5 5 5 23
  • 25. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ เรามาดูตัวอย่างเพิ่มเติมต่อไปนี้ 3 1 3 5 5 2 2 3 1 3 1 3 2 2 2 2 3 4 4 2 2 8 3 1 3 2 2 3 1 1 4 4 2 3 2 8 ผู้สอนควรให้ผู้เรียนพิจารณาเลขยกกาลังแต่ละคู่ที่กาหนดให้ แล้วดูว่าจานวนใดมีค่ามากกว่ากัน เช่น 23 และ 32 คาตอบคือ 32 23 เพราะว่า 32 9 และ 23 8 45 และ 54 คาตอบคือ 45 54 เพราะว่า 32 9 และ 23 8 1 1 2 3 และ 3 2 คาตอบคือ เพราะว่า p ในกรณีที่ เลขชี้กาลังเป็นจานวนตรรกยะที่เขียนในรูปเศษส่วน การพิจารณาค่อนข้างยุ่งยาก แต่ q ก็สามารถทาได้ ตัวอย่างต่อไปนี้จะเป็นการพิจารณาจานวนสองจานวนที่อยู่ในรูปเลขยกกาลังที่มีฐาน ไม่เท่ากัน เราพยายามปรับให้จานวนดังกล่าวมีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเดียวกัน (เท่ากัน) เพื่อง่ายต่อ การพิจารณา เช่น 3 5 และ 3 จานวนใดมีค่ามากกว่ากัน 2 1 1 2 1 1 เพราะว่า 3 5 5 3 5 3 5 2 6 25 6 3 1 1 3 1 1 2 2 3 6 6 3 3 3 3 27 1 1 ทาให้สรุปได้ว่า 3 27 6 > 25 6 3 5 และถ้าให้พิจารณาว่า 3 5 และ 4 6 จานวนใดมีค่ามากกว่ากัน (ก็ทาได้เช่นเดียวกัน) 24
  • 26. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ 4 1 1 1 4 1 4 12 เพราะว่า 3 5 5 3 5 3 5 625 12 3 1 1 1 3 1 4 3 12 6 6 4 6 4 6 216 12 ดังนั้น 3 5 > 4 6 และถ้าต้องเรียงลาดับจานวน 3 จานวนต่อไปนี้ 3 , 3 5 , 4 6 จากน้อยไปมาก ก็จะได้ดังนี้ 4 3 6 , 5 , 3 ในการเปรียบเทียบจานวน 2 จานวนที่เท่ากัน ถ้าเป็นเลขยกกาลังที่มีฐานเท่ากันแล้ว เลขชี้ กาลังย่อมเท่ากัน เพื่อให้ผู้เรียนได้มีทักษะเกี่ยวกับเรื่องนี้ ให้ผู้สอนยกตัวอย่างเพิ่มเติมดังนี้ ตัวอย่างที่ 1 จงหาค่าของ x ที่สอดคล้องตามสมการ 1. 32x 1 35 1 2. 5 3x x 2 5 วิธีทา 1. เพราะว่า 32x 1 35 ดังนั้น 2x 1 5 ซึ่งทาให้ x 2 ดังนั้น ค่า x ที่สอดคล้องกับสมการในข้อ 1 คือ x 2 1 (x 2) 2. เพราะว่า 5 3x x 2 5 5 1 ดังนั้น 3x (x 2) ซึ่งทาให้ x 2 1 ค่า x ที่สอดคล้องกับสมการในข้อ 2 คือ x 2 x 2 (x 3) (2 x) ตัวอย่างที่ 2 จงหาเซตคาตอบของสมการ 2 8 3 (2 x ) (2 x) x 2 (x 3) วิธีทา เพราะว่า 3 3 (2 3x ) 2 8 3 2 2 ดังนั้น x (x 2 3) = 2 3x 3 2 x 3x 3x 2 = 0 2 (x 2)(x x 1) = 0 ……………………….* 25
  • 27. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ 2 1 3 เพราะว่า (x 2 x 1) x ดังนั้น (x 2 x 1) 0 2 4 จากสมการ * และ (x 2 x 1) 0 ทาให้สรุปได้ว่า x 2 0 นั่นคือ x 2 เมื่อตรวจสอบคาตอบ จะได้ว่า x 2 สอดคล้องกับสมการที่กาหนดให้ ดังนัน เซตคาตอบของสมการนี้คือ ้ {2} 26
  • 28. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ เมื่อผู้เรียนได้ดูสื่อเกี่ยวกับเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนตรรกยะแล้ว เพื่อให้แน่ใจว่าเรา เข้าใจอย่างถ่องแท้และเกิดทักษะ จึงควรทาแบบฝึกหัดเพิ่มเติมดังต่อไปนี้ 27
  • 29. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ แบบฝึกหัดที่ 2 เรื่อง เลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนตรรกยะ 1. จงหาค่าของจานวนต่อไปนี้ (โดยให้อยู่ในรูปที่ตัวส่วนไม่ติดกรณฑ์) 1 2 1 1 8 3 27 3 22 33 1.1 1 1.2 1 36 2 4 6 1 1 3 2 3 8 2 6 147 1.3 1 1.4 3 2 32 1 2 96 3 3 27 75 54 1.5 1.6 6 8 50 12 8 6 1 ( 3 2 )( 2 3) 1.7 1.8 2 3 3 2 ( 5 1)(2 5) 2. ให้ x และ y เป็นจานวนจริงบวก จงทาให้อยู่ในรูปอย่างง่ายและมีเลขชี้กาลังเป็นจานวนบวก 2 4 1 2 2.1 3x 3 2x 3 2.2 4x 5 5x 3 2 4 2 1 1 2 2.3 3x 3 2x 3 2.4 2x 2 3x 3 4 1 3 2 2 6 12x y 3 2 5x 4 y3 2.5 5 7 2.6 6 7 27x 3 y 2 125x 5 y 2 3. จงทาให้ส่วนของจานวนในข้อต่อไปนี้อยู่ในรูปที่ไม่มีเครื่องหมายกรณฑ์ที่สองปรากฏอยู่ 12 3 3.1 3.2 5 8 3 2 2 3 5 2 7 3 3.3 3.2 7 5 3 2 2 3 28