SlideShare a Scribd company logo
1 of 55
Download to read offline
ที่มา : http://www.school.net.th/library/create-
web/10000/science/10000-371.html
ที่มา : http://www.kruphoo.com/webtech/
Rightframe1.html
ที่มา : http://utitpo.blogspot.com/p/blog-page_20.htmlที่มา :http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id
=spiritwithin&month=12-2007&date=19&group=2&gblog=65
ดวงดาว
กาแล็กซี เอกภพ
ระบบสุริยะ
1 ปีแสง กิโลเมตร
1 ปีแสง คือ ระยะทางที่แสงเดินทางได้ในเวลา 1 ปี
ใน 1 วินาทีแสงเดินทางได้ 299,792.458 กิโลเมตร
หรือประมาณ 9 ล้าน 5 แสนล้านกิโลเมตร
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการกาเนิดเอกภพมี 3 ทฤษฎี
ทฤษฎีการระเบิดครั้งใหญ่
(The Big Bang Theory)
ทฤษฎีการออสซิลเวลของเอกภพ
(The Oscillating Universe Theory)
ทฤษฎีสภาวะคงที่
(The Steady State Theory)
ทฤษฎีการออสซิลเวลของเอกภพ
(The Oscillating Universe Theory)
การขยายตัวของเอกภพนั้น กาแล็กซีเคลื่อนที่ห่างจากกันด้วย
ความเร็วสูงมาก ต่อมาก็จะมีความเร็วช้าลง และหยุดการเคลื่อนที่ในที่สุด
หลังจากนั้นกาแล็กซีก็จะกลับมายังจุดเริ่มต้น ทาให้เกิดการระเบิดใหม่อีก
ครั้งหนึ่ง ดังนั้นเอกภพจึงมีวัฏจักรของการเกิดเอกภพ
ที่มา : http://ebook.nfe.go.th/nfe_ebook/data_o_ebook/html/020/330.htm
ทฤษฎีสภาวะคงที่
(The Steady State Theory)
ผู้เริ่มแนวคิดทฤษฎี
เฟรด ฮอยล์
(Fred Hoyle)
ผู้เริ่มแนวคิดทฤษฎี
โธมัส โกลด์
(Thomas Gold)
ผู้เริ่มแนวคิดทฤษฎี
เฮอร์แมน บอนได
(Herman Bondi)
ทฤษฎีสภาวะคงที่
(The Steady State Theory)
เอกภพมิได้เกิดขึ้นมาในขณะใดขณะหนึ่งและเอกภพก็ไม่มีวันถึง
จุดอวสาน ตามทฤษฎีนี้เมื่อเอกภพขยายตัวออกไปก็จะมีสสารใหม่ถูกสร้าง
ขึ้นมาแทนที่ในอวกาศ ในบริเวณที่กาแล็กซีเคลื่อนตัวออกไป ดังนั้น
ปรากฎการณ์ของเอกภพจึงมีอยู่อย่างคงที่ แม้กาลเวลาจะผ่านไปนานเท่าใด
ก็ตาม เป็นเอกภพที่คงทนต่อการเวลาตลอดไป
ทฤษฎีการระเบิดครั้งใหญ่
(The Big Bang Theory)
ผู้เริ่มแนวคิดทฤษฎี
เลอแมทร์ (Lemaitre)
เอกภพของเรามีจุดเริ่มต้นจากการ
ระเบิดครั้งใหญ่ เมื่อประมาณ 15,000 ล้านปี
มาแล้ว กลุ่มมวลสารที่เกิดจากการระเบิดครั้ง
รุนแรงมหาศาลครั้งนี้ถูกเหวี่ยงตัวออกไป แล้ว
รวมเป็ นกลุ่มดาว เรียกว่า กาแล็กซี จากการ
ระเบิดครั้งนั้น ทาให้กาแล็กซี ยังคงเคลื่อนที่
ออกไปตลอดเวลา เมื่อเอกภพมีอายุมากขึ้น
สสารในกาแล็กซีก็จะมีน้อยลงไป การขยายตัว
ของเอกภพคงดาเนินเรื่อยๆ ไม่มีที่สิ้นสุด
ทฤษฎีการระเบิดครั้งใหญ่
(The Big Bang Theory)
อนุภาคและปฏิอนุภาคเป็นอนุภาคมูลฐานที่มีคุณสมบัติเหมือนกัน
แต่มีประจุตรงกันข้ามกัน
อนุภาคและปฏิอนุภาค
อนุภาค ปฏิอนุภาค
อิเล็กตรอน (e-) โพซิตรอน (e+)
ควาร์ก แอนติควาร์ก
นิวทริโน แอนตินิวทริโน
โฟตอน -
ควาร์ก เป็นอนุภาคมูลฐานที่เล็กที่สุด ก่อกาเนิดอนุภาคพื้นฐาน และ
ควาร์กที่รวมตัวกันเป็นโปรตอนและนิวตรอนเป็นควาร์กชนิดเดียวกัน คือ
ควาร์กบน และควาร์กล่าง
ควาร์กบน มีประจุไฟฟ้ า เท่ากับ +
ควาร์กล่าง มีประจุไฟฟ้ า เท่ากับ -
ควาร์ก (Quark)
ควาร์ก (Quark)
โปรตอน ประกอบด้วยควาร์กบน 2 ตัว
และควาร์กล่าง 1 ตัว ทาให้โปรตอนมี
ประจุไฟฟ้ า +1
นิวตรอน ประกอบด้วยควาร์กบน 1 ตัว
และควาร์กล่าง 2 ตัว ทาให้นิวตรอนมี
ประจุไฟฟ้ า 0 หรือเป็นกลางทางไฟฟ้ า
นิวเคลียสของไฮโดรเจน
P
นิวเคลียสของไฮโดรเจน
ประกอบด้วยโปรตอน (p)
1 อนุภาค
นิวเคลียสของฮีเลียม
ประกอบด้วย
โปรตอน (p) 2 อนุภาค
นิวตรอน (n) 2 อนุภาค
นิวเคลียสของฮีเลียม
อะตอมของไฮโดรเจน อะตอมของฮีเลียม
อะตอมของไฮโดรเจนและฮีเลียม
ทฤษฎีการระเบิดครั้งใหญ่
(The Big Bang Theory)
ภาพ บิกแบงและวิวัฒนาการของเอกภพ
ที่มา : http://www.vcharkarn.com/lesson/view.php?id=1081
อุณหภูมิ (K)
1032
1027
1013
108
104
102
3
บิกแบง
เกิดโปรตอน (นิวเคลียสไฮโดรเจน) และนิวตรอน
เกิดนิวเคลียสของฮีเลียม
เกิดอะตอมของธาตุไฮโดรเจนและฮีเลียม
เกิดกาแล็กซี
ปัจจุบัน
เวลา
0 10-43วินาที 10-32วินาที 10-6วินาที 3 นาที 300,000ปี 1,000ล้านปี 15,000ล้านปี
ควาร์ก, นิวทริโน, อิเล็กตรอน, โฟตอนและปฏิอนุภาคมูลฐาน
ควาร์ก, นิวทริโน, อิเล็กตรอน, โฟตอนและปฏิอนุภาคมูลฐาน
การระเบิดครั้ง
ยิ่งใหญ่มีอุณหภูมิ
1032 เคลวิน
เกิดอนุภาคและ
ปฏิอนุภาค เช่น ควาร์ก
อิเล็กตรอน
ควาร์กรวมตัวกันเป็น
โปรตอน (นิวเคลียสของ
ไฮโดรเจน) และนิวตรอน
นิวเคลียสของไฮโดรเจนและ
ฮีเลียมจะดึงอิเล็กตรอนเข้ามาอยู่
ในวงโคจร เกิดเป็นอะตอมของ
ไฮโดรเจนและฮีเลียม
ธาตุไฮโดรเจนและฮีเลียมรวมตัว
กันเป็นดาวฤกษ์และกาแล็กซี
อุณหภูมิลดลงประมาณ 3 เคลวิน
หลักฐานที่สนับสนุนทฤษฎีบิกแบง
การค้นพบอุณหภูมิหรือพลังงานพื้นหลังของเอกภพ
การขยายตัวของเอกภพ
การขยายตัวของเอกภพ
เอดวิน พาวเวลล์ ฮับเบิล
(Edwin Powell Hubble)
การขยายตัวของเอกภพ
ข้อมูลที่แสดงอยู่ในตารางด้านล่างคือข้อมูลจากรายงานทางวิชาการของ เอ็ดวิน ฮับเบิ้ลที่เผยแพร่ในปี
ค.ศ. 1929 ข้อมูลนี้ได้แสดงความสัมพันธ์แบบเส้นตรงซึ่งทาาให้ฮับเบิ้ลได้สรุปว่าเอกภพกาาลังขยายตัวออกอยู่ในปัจจุบัน
(Hubble, Edwin, "A Relation between Distance and Radial Velocity among Extra-Galactic Nebulae " , Proceedings
of the National Academy of Sciences of the United States of America, Volume 15, Issue 3, pp. 168-173, 1929)
ตาราง แสดงข้อมูลของเทห์ฟ้ าที่ เอ็ดวิน ฮับเบิ้ล ใช้ในการวิเคราะห์หากฏฮับเบิ้ล NGC ในตารางเป็นอักษรย่อ
ของแคตตาล๊อกของเทห์ฟ้ าซึ่งมีชื่อว่า The New General Catalogue ส่วนตัวเลขที่แสดงอยู่ด้านหลังคือ ตัวเลขลาดับของ
เทห์ในแคตตาล๊อกนั้น
การขยายตัวของเอกภพ
กราฟแสดงความสัมพันธ์แบบเส้นตรงของข้อมูลจากรายงานวิชาการของฮับเบิ้ล จากความสัมพันธ์แบบ
เป็นเส้นตรงนี้เองทาให้ฮับเบิ้ลเป็นบุคคลแรกที่สามารถสรุปได้ว่าเอกภพกาาลังขยายตัวอยู่ในปัจจุบันผลงานชิ้นนี้ทาา ให้
เขาได้รับรางวัล Awards Bruce Medal ในปี ค.ศ. 1938 รางวัล Gold Medal of the Royal Astronomical Society ในปี
ค.ศ. 1940 และรางวัล Merit for outstanding contribution to ballistics research ในปี ค.ศ. 1946
จากกราฟ พบว่า ความสัมพันธ์ดังกล่าวมีลักษณะเป็น
เส้นตรง ซึ่งหมายความว่า ความเร็วในการเคลื่อนที่ถอยหลัง( v )
จะแปรผันตรงกับระยะห่างจากกาแล็กซีนั้น ( D )
----- (1)
----- (2)
กฎของฮับเบิล ; ----- (3)
เมื่อ H คือ ค่าคงตัวของฮับเบิล
การขยายตัวของเอกภพ
0
0
แนวคิดเบื้องต้นบิกแบง(Big Bang) ตามกฎฮับเบิล
ในปัจจุบันเอก
ภพกาลังขยายตัว
แสดงว่าในอดีตเอกภพต้องมีขนาดเล็กกว่า
ในปัจจุบัน
ดังนั้น ณ จุดเริ่มต้นเอกภพควร
มีขนาดเป็นจุดและมีความหนาแน่น
เฉลี่ยมหาศาล และมีอุณหภูมิสูงมาก ๆ
รวมทั้งความหน่าแน่น
เฉลี่ยของสสารทั้งหมด
ในเอกภพในอดีต ต้อง
มีค่ามากกว่าในปัจจุบัน
จึงเรียก ณ จุดกาเนิดของเอกภพนี้ว่าการระเบิดใหญ่ หรือบิกแบง
การประมาณอายุของเอกภพจากกฎของฮับเบิล
อัตราเร็วในการเคลื่อนที่ของกาแล็กซีใดๆ (v)
หาได้จากระยะทางที่กาแล็กซีนั้นเคลื่อนที่ได้ (D) ต่อ
เวลาในการเคลื่อนที่นั้น (t)
จากกฎของฮับเบิล
สามารถประมาณอายุของเอกภพ ได้จากสมการ
ภาพแสดงแนวความคิดของการกาาเนิดเอกภพที่เรียกว่า “บิกแบง” จากกฏของฮับเบิ้ลที่กล่าวว่าเอกภพกาาลัง
ขยายตัวออกอยู่ในปัจจุบัน ดังนั้นในอดีตเอกภพจึงควรมีขนาดเป็นจุดซึ่งเล็กๆมาก จากนั้นเอกภพจึงขยายตัวออกอย่าง
รวดเร็วจากจุดจุดนี้ ในภาพจะเห็นได้ว่าช่องว่างระหว่างกาแล็กซีเท่านั้นที่ขยายตัวออก กาแล็กซีไม่ได้มีขนาดพิ่มขึ้นจากการ
ขยายตัวของเอกภพ
ที่มา : http://2.bp.blogspot.com/-d3UCSlQ98FA/TuZC02dHinI/AAAAAAAACjg/QmgGgLkso58/s1600/
การขยายตัวของเอกภพ
การค้นพบอุณหภูมิหรือพลังงานพื้นหลังของเอกภพ
อาร์โน เพนเซียส
(Arno Penzias)
รอเบิร์ต วิลสัน
(Robert Wilson)
จอร์จ กามอฟ ทานายว่า …
ถ้าเอกภพมีจุดกาเนิดมาจากบิกแบงแล้ว
จะต้องพบการแผ่รังสีที่เหลือในอวกาศ โดยที่
เอกภพจะแผ่พลังงานออกมาในรูปของคลื่น
แม่เหล็กไฟฟ้ าที่มีความถี่สูงมาก จากนั้นเมื่อเวลา
ผ่านไปการแผ่รังสีของเอกภพก็จะมีความถี่ลดลง
เหลือเป็นคลื่นไมโครเวฟที่มีความถี่ 160 กิโลเฮิรตซ์
การค้นพบอุณหภูมิหรือพลังงานพื้นหลังของเอกภพ
เป็นการค้นพบโดยบังเอิญ เมื่อกาลังทดสอบระบบเครื่องรับ
สัญญาณของกล้องโทรทัศน์วิทยุ
มีสัญญาณรบกวนสัญญาณวิทยุในช่วงของคลื่นไมโครเวฟ
ตลอดเวลา
สัญญาณรบกวนนั้นเป็ นสัญญาณที่มาจากอวกาศ ซึ่งมี
สเปกตรัมคล้ายกับสเปกตรัมการแผ่รังสีของวัตถุดา (blackbody
radiation) ที่มีอุณหภูมิ 2.73 เคลวิน
เพื่อยืนยันการค้นพบของ อาร์โน เพนเซียส และ
โรเบิร์ต วิลสัน นักวิทยาศาสตร์ส่งดาวเทียมโคบี ไป
สารวจอวกาศอีกครั้ง
การค้นพบอุณหภูมิหรือพลังงานพื้นหลังของเอกภพ
พบว่าคลื่นไมโครเวฟนี้ มีการกระจายตัวสม่าเสมอ
ในทุกทิศทางจากอวกาศ และสอดคล้องกับการแผ่รังสี
ของวัตถุดาที่อุณหภูมิ 2.73 เคลวิน หรือพบคลื่นในช่วง
ความถี่ 160 กิโลเฮิรตซ์
คลื่นไมโครเวฟพื้นหลังจากอวกาศนี้ ก็คือการ
แผ่พลังงานที่เหลือ หลังการเกิดบิกแบง ดังนั้น คลื่น
ไมโครเวฟพื้นหลังจากอวกาศจึงเป็ นอีกข้อหนึ่งที่
สนับสนุนทฤษฎีบิกแบงได้เป็นอย่างดี
กาแล็กซี (Galaxy)
กาแล็กซี(Galaxy)
กาแล็กซี คือ อาณาจักรหรือระบบของ
ดาวฤกษ์จานวนนับแสนล้านดวง อยู่รวมกันด้วย
แรงโน้มถ่วงระหว่างมวลสารทั้งหมดที่อยู่ภายใน
กาแล็กซีกับหลุมดามวลยวดยิ่ง ที่อยู่ ณ ศูนย์กลาง
ของกาแล็กซี กาแล็กซีเกิดหลังบิกแบงประมาณ
1,000 ล้านปี
2. กาแล็กซีไม่มีรูปแบบ (irregular galaxy)
1.กาแล็กซีปกติ (regular galaxy)
นักดาราศาสตร์แบ่งกาแล็กซี
ออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ
แผนภาพส้อมเสียง (tuning-fork diagram) ซึ่งเสนอโดย เอ็ดวิน ฮับเบิล ในปี ค.ศ.1926
ที่มา: http://hubble.nasa.gov/art/overview/hubble_bio/tuning_fork_diagram.jpg
กาแล็กซีปกติ เป็นกาแล็กซีที่มีรูปแบบ
กาแล็กซีปกติ เป็นกาแล็กซีที่มีรูปแบบ
ลักษณะย่อย ตัวอย่างการระบุลักษณะ เกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่งโดยสังเขป
a Sa,SBa ศูนย์กลางของกาแล็กซีสว่างมาก การ
แขนชิดกัน
b Sb,SBb ศูนย์กลางของกาแล็กซีสว่างรองลงมา
แขนกังหันมีการกระจายตัวออกเล็กน้อย
c Sc,SBc ศูนย์กลางของกาแล็กซีสว่างน้อย แขน
กังหันกระจายตัวออกชัดเจน
1. กาแล็กซีรี(eliptical galaxy) เป็นกาแล็กซีที่มี
รูปร่างค่อนข้างเรียบ มีการกระจายของแสงจากดาวฤกษ์
อย่างสม่าเสมอทั่วทั้งกาแล็กซี มีรูปร่างเป็ นทรงรี ใช้
สัญลักษณ์ E0 - E7
กาแล็กซีปกติ แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม
กาแล็กซีทรงรี ESO 325-G004 ซึ่งถ่ายภาพโดยกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล
ที่มา: http://en.wikipedia.org/wiki/Elliptical_galaxy
2. กาแล็กซีชนิดกังหัน (spiral galaxy) มีลักษณะ
แบนคล้ายจานสองใบประกบเข้าหากัน จะมีจุดกลาง
สว่างและมีแขนหมุนวนรอบแกนกลาง ใช้สัญลักษณ์ Sa
Sb และSc บางกาแล็กซีจะมีคาน เรียกว่า กาแล็กซี
กังหันแบบมีคาน(barred Spiral galaxy) คล้ายชนิด
กังหัน แต่มีแขนออกมาจากแกนกลางก่อน ใช้สัญลักษณ์
SBa SBb และ SBc
กาแล็กซีปกติ แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม
http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=6607
http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=6607
3. กาแล็กซีลูกสะบ้า (lenticular galaxy) มี
รูปร่างคล้ายเลนส์นูน มีใจกลางสว่าง ใช้สัญลักษณ์ S0
กาแล็กซีปกติ แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม
ภาพขวาแสดงกาแล็กซีลูกสะบ้า NGC5866 ภาพซ้ายแสดงกาแล็กซีลูกสะบ้า NGC 2787
ที่มา: http://en.wikipedia.org/wiki/Lenticular_galaxy
กาแล็กซีไม่มีรูปแบบ (irregular galaxy)
เป็นกาแลกซี่ที่มีรูปร่างไม่แน่นอน และแตกต่างจากกาแล็กซีปกติ
กาแล็กซีแมกเจนแลนใหญ่ (Large Magellanic Cloud) ซึ่งเป็นกาแล็กซี
ไม่มีรูปแบบสังเกตได้ง่ายทางซีกฟ้ าใต้
ที่มา: http://en.wikipedia.org/wiki/Large_Magellanic_Clo
กาแล็กซีแมกเจนแลนเล็ก (Small Magellanic Cloud) ซึ่งเป็น
กาแล็กซีแคระ (dwarfgalaxy) สังเกตได้ง่ายทางซีกฟ้ าใต้
ที่มา: http://en.wikipedia.org/wiki/Small_Magellanic_Cloud
กาแล็กซีทางช้างเผือก
กาแล็กซีทางช้างเผือก
เป็ นกาแล็กซีแบบมีแกน
ประกอบด้วย ดาวฤกษ์
จานวนนับพันล้านดวง
ดาวฤกษ์แต่ละดวงอาจจะมี
ดาวเคราะห์อีกหลายดวง
และระบบสุริยะของเรา
ก็เป็นสมาชิกหนึ่งในนั้นที่มา : http://www.atom.rmutphysics.com/charud/oldnews/0/278/cosmos/115.htm
กาแล็กซีทางช้างเผือก
ของเรามีขนาดเส้นผ่าน
ศูนย์ กลาง 100,000 ปี แสง
มีรัศมี 50,000 ปี แสง และ
หนาประมาณ 2,000 ปีแสง
ที่มา : http://www.vcharkarn.com/lesson/view.php?id=1082
ทางช้างเผือก
ช่วงเวลาในการสังเกตทางช้างเผือก
สังเกตทางช้างเผือกได้ดีที่สุดช่วง ปลายเดือนเมษายน-เดือน
มิถุนายน เพราะช่วงหลังจากนี้จะเข้าฤดูฝน
ในช่วงฤดูฝน (กรกฎาคม-สิงหาคม) ทางช้างเผือกจะสว่างที่สุด
ปรากฏทางทิศใต้พาดผ่านไปทิศเหนือ ถ้าฟ้ าเปิดจะมีโอกาสเห็น
ช่วงปลายเดือนเมษายน-ต้นเดือนตุลาคม จะเห็นทางช้างเผือกบริเวณ
กลุ่มดาวแมงป่ องและกลุ่มดาวคนยิงธนู ทางช้างเผือกช่วงนี้สว่างและ
สวยงาม เนื่องจากเป็ มุมมองที่เรามองเข้าไปยังศูนย์กลางของทาง
ช้างเผือก
ทางช้างเผือกประกอบด้วยดาวฤกษ์ที่เป็ นเพียง
ส่วนหนึ่งของกาแล็กซีทางช้างเผือก โดยมีลักษณะเป็น
ลายฝ้ าขาว พาดผ่านกลุ่มดาวต่างๆ
ทางช้างเผือก
ที่มา : http://www.vcharkarn.com/lesson/view.php?id=1082
ทางช้างเผือก
ทางช้างเผือก
ทางช้างเผือก
กาแล็กซีเพื่อนบ้าน
กาแล็กซีแอนโดรเมดา กาแล็กซีแมกเจลแลนใหญ่
เป็นกาแล็กซีที่อยู่ใกล้กาแล็กซีทางช้างเผือก
กาแล็กซีเพื่อนบ้าน
กาแล็กซีแมกเจลแลนเล็ก
เป็นกาแล็กซีที่อยู่ใกล้กาแล็กซีทางช้างเผือก

More Related Content

What's hot

ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงพัน พัน
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดPinutchaya Nakchumroon
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีwebsite22556
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศSupaluk Juntap
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2dnavaroj
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Supaluk Juntap
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3Jariya Jaiyot
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2Wichai Likitponrak
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกwebsite22556
 
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)Thitaree Samphao
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพบทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพnarongsakday
 

What's hot (20)

ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
 
ดิน
ดินดิน
ดิน
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5  เอกภพบทที่ 5  เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
 
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพบทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
 

Viewers also liked

เล่ม 5 แนวทางการพัฒนาการวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
เล่ม 5 แนวทางการพัฒนาการวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์เล่ม 5 แนวทางการพัฒนาการวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
เล่ม 5 แนวทางการพัฒนาการวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์Chay Kung
 
Astronomy 05
Astronomy 05Astronomy 05
Astronomy 05Chay Kung
 
แนวทางการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษา
แนวทางการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษาแนวทางการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษา
แนวทางการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษาChay Kung
 
เล่มที่ 2 แนวทางการจัดการเรียนรู้
เล่มที่ 2 แนวทางการจัดการเรียนรู้เล่มที่ 2 แนวทางการจัดการเรียนรู้
เล่มที่ 2 แนวทางการจัดการเรียนรู้Chay Kung
 
Astronomy VII
Astronomy VIIAstronomy VII
Astronomy VIIChay Kung
 
ตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องการอ่าน สำหรับการสอบ PISA
ตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องการอ่าน สำหรับการสอบ PISAตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องการอ่าน สำหรับการสอบ PISA
ตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องการอ่าน สำหรับการสอบ PISAChay Kung
 
เล่มที่ 1 แนวทางการบริหารจัดการหลักสูตร
เล่มที่ 1 แนวทางการบริหารจัดการหลักสูตรเล่มที่ 1 แนวทางการบริหารจัดการหลักสูตร
เล่มที่ 1 แนวทางการบริหารจัดการหลักสูตรChay Kung
 
Plate tectonics
Plate tectonicsPlate tectonics
Plate tectonicsChay Kung
 
เล่มที่ 4 แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
เล่มที่ 4 แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเล่มที่ 4 แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
เล่มที่ 4 แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนChay Kung
 
เล่ม 6 แนวทางการพัฒนาและประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ตามหลักสูตรแกนกล...
เล่ม 6 แนวทางการพัฒนาและประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ตามหลักสูตรแกนกล...เล่ม 6 แนวทางการพัฒนาและประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ตามหลักสูตรแกนกล...
เล่ม 6 แนวทางการพัฒนาและประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ตามหลักสูตรแกนกล...Chay Kung
 
เล่มที่ 3 แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
เล่มที่ 3 แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้เล่มที่ 3 แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
เล่มที่ 3 แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้Chay Kung
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑Chay Kung
 
Astronomy 04
Astronomy 04Astronomy 04
Astronomy 04Chay Kung
 
Astronomy 03
Astronomy 03Astronomy 03
Astronomy 03Chay Kung
 
Astronomy 01
Astronomy 01Astronomy 01
Astronomy 01Chay Kung
 
Astronomy 02
Astronomy 02Astronomy 02
Astronomy 02Chay Kung
 
Astronomy VI
Astronomy VIAstronomy VI
Astronomy VIChay Kung
 

Viewers also liked (17)

เล่ม 5 แนวทางการพัฒนาการวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
เล่ม 5 แนวทางการพัฒนาการวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์เล่ม 5 แนวทางการพัฒนาการวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
เล่ม 5 แนวทางการพัฒนาการวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
 
Astronomy 05
Astronomy 05Astronomy 05
Astronomy 05
 
แนวทางการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษา
แนวทางการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษาแนวทางการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษา
แนวทางการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษา
 
เล่มที่ 2 แนวทางการจัดการเรียนรู้
เล่มที่ 2 แนวทางการจัดการเรียนรู้เล่มที่ 2 แนวทางการจัดการเรียนรู้
เล่มที่ 2 แนวทางการจัดการเรียนรู้
 
Astronomy VII
Astronomy VIIAstronomy VII
Astronomy VII
 
ตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องการอ่าน สำหรับการสอบ PISA
ตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องการอ่าน สำหรับการสอบ PISAตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องการอ่าน สำหรับการสอบ PISA
ตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องการอ่าน สำหรับการสอบ PISA
 
เล่มที่ 1 แนวทางการบริหารจัดการหลักสูตร
เล่มที่ 1 แนวทางการบริหารจัดการหลักสูตรเล่มที่ 1 แนวทางการบริหารจัดการหลักสูตร
เล่มที่ 1 แนวทางการบริหารจัดการหลักสูตร
 
Plate tectonics
Plate tectonicsPlate tectonics
Plate tectonics
 
เล่มที่ 4 แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
เล่มที่ 4 แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเล่มที่ 4 แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
เล่มที่ 4 แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 
เล่ม 6 แนวทางการพัฒนาและประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ตามหลักสูตรแกนกล...
เล่ม 6 แนวทางการพัฒนาและประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ตามหลักสูตรแกนกล...เล่ม 6 แนวทางการพัฒนาและประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ตามหลักสูตรแกนกล...
เล่ม 6 แนวทางการพัฒนาและประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ตามหลักสูตรแกนกล...
 
เล่มที่ 3 แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
เล่มที่ 3 แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้เล่มที่ 3 แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
เล่มที่ 3 แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
 
Astronomy 04
Astronomy 04Astronomy 04
Astronomy 04
 
Astronomy 03
Astronomy 03Astronomy 03
Astronomy 03
 
Astronomy 01
Astronomy 01Astronomy 01
Astronomy 01
 
Astronomy 02
Astronomy 02Astronomy 02
Astronomy 02
 
Astronomy VI
Astronomy VIAstronomy VI
Astronomy VI
 

Similar to Astronomy V (7)

Contentastrounit2
Contentastrounit2Contentastrounit2
Contentastrounit2
 
กำเนิดเอกภพ
กำเนิดเอกภพกำเนิดเอกภพ
กำเนิดเอกภพ
 
Lesson7
Lesson7Lesson7
Lesson7
 
กำเนิดเอกภพ
กำเนิดเอกภพกำเนิดเอกภพ
กำเนิดเอกภพ
 
บทที่ 3 เอกภพ
บทที่ 3 เอกภพบทที่ 3 เอกภพ
บทที่ 3 เอกภพ
 
Bigbang
BigbangBigbang
Bigbang
 
สื่อประกอบการสอน เอกภพ
สื่อประกอบการสอน เอกภพสื่อประกอบการสอน เอกภพ
สื่อประกอบการสอน เอกภพ
 

Astronomy V