SlideShare a Scribd company logo
1 of 45
Download to read offline
http://school.obec.go.th/lamnam/suriyu.jpg
สูตรเคมี
จุดประสงค์
อธิบายความหมายและยกตัวอย่างสูตรเคมีแต่ละประเภทได้
คานวณหามวลเป็นร้อยละของธาตุองค์ประกอบจากสูตรเคมี
คานวณหาสูตรเอมพิริคัลและสูตรโมเลกุล
คานวณอัตราส่วนโดยมวลของธาตุตามกฎสัดส่วนคงที่
สูตรเคมี
สูตรเคมี ( chemical formula )
น้า
H2O
น้าตาลซูโครส
C12H22O11จุนสี
CuSO4.5H2O
ทอง
Au
ทบทวนการเรียกชื่อสาร
สารโคเวเลนต์ สารไอออนิก
N2O5
N2O4
N2O5
NO2
NO
HCl
H2S
NaCl
CaO
BaCl2
Na2O
MgCO3
CuO
Cu2O
ทบทวนการเรียกชื่อสาร
สารโคเวเลนต์ สารไอออนิก
N2O5 dinitrogen pentoxide
N2O4 dinitrogen tetroxide
N2O dinitrogen monoxide
NO2 nitrogen dioxide
NO nitrogen monoxide
HCl hydrogen chloride
H2S hydrogen sulfide
NaCl sodium chloride
CaO calcium oxide
BaCl2 barium chloride
Na2O sodium oxide
MgCO3 magnesium carbonate
CuO copper(II)oxide
Cu2O copper(I)oxide
:
สูตรเคมี
สูตรโมเลกุล
Molecular Formula
สูตรโครงสร้าง
Structural Formula
สูตรเอมพิริคัล
Empirical Formula
Benzene
สูตรโมเลกุล
สูตรเอมพิริคัล
สูตรโครงสร้าง:
C6H6
CH
สูตรโมเลกุล
สูตรเอมพิริคัล สูตรโครงสร้าง:
H2O2
HO
O O
H
H
สูตรโมเลกุล
สูตรเอมพิริคัล สูตรโครงสร้าง:
C2H4O2
CH2O
C C
O
OH H
H
H
CH3COOH
Acetic acid หรือ กรดน้าส้ม
สูตรโมเลกุล:
สูตรเอมพิริคัล:
สูตรโครงสร้าง:
C C
O
OH H
H
H
C2H4O2
CH2O
CH3COOH
สูตรโครงสร้างแบบย่อ
Condens Structural Formular
คานวณโมเลกุลของ 3-chloroperbenzoic acid
3-chloroperbenzoic acid
Structural Formula:
C7H5O3Clสูตรโมเลกุลของ 3-chloroperbenzoic acid
มวลโมเลกุล = (7xC)+(5xH)+(3xO)+Cl
= (7x12)+(5x1)+(3x16)+35.5
C
C
C
C
C
C
C
H
H
H H
= 172.5
สูตรโมเลกุล
C2H6OEthanol Dimethyl ether
สูตรโครงสร้างแบบย่อ
CH3CH2OH CH3OCH3
C O
H
H
H
CH
H
H
C
H
CH
H
H
O
H
Hสูตรโครงสร้างแบบเต็ม
สารบางชนิดอาจมีสูตรโมเลกุลเหมือนกัน
สูตรโครงสร้างสามารถใช้บอกชนิดของสารได้
C2H5OH (CH3)2O
สูตรEmpirical
Glucose
C6H12O6 (C6H12O6)
CH2O
สูตรโมเลกุล
การหาสูตรเอมพิริคัล Empirical
Formula
ทาเป็นสัดส่วน
อย่างต่า
Benzene = C6H6
Acetylene = C2H2
(CH)n (CH)n
สูตรEmpirical
C CH H
สารบางชนิดอาจมีสูตรเอมพิริคัลเหมือนกัน
แต่สูตรโมเลกุลต่างกัน
สูตรโมเลกุล
สูตรเอมพิริคัลจึงไม่อาจบอกโมเลกุลที่แท้จริงของสารได้
n=6
n =2
The law of conservation of mass
This law states that, despite
chemical reactions or
physical transformations,
mass is conserved — that
is, it cannot be created or
destroyed — within an isolated
system. In other words, in a
chemical reaction, the mass
of the products will always be
equal to the mass of the
reactants.
Antoine – Laurent Lavoisier ค.ศ. 1774
ศึกษามวลของสารในระบบปิด และสรุปเป็นกฎว่า
“ มวลรวมของสารในปฏิกิริยาเคมี ก่อนการเกิดปฏิกิริยา
เท่ากับมวลรวมของสารหลังการเกิดปฏิกิริยา ”
เมื่อเผาโลหะแมกนีเซียม 2.64 กรัม ในอากาศ ได้แมกนีเซียมออกไซด์
เกิดขึ้น 4.40 กรัม จงหามวลของแก๊สออกซิเจนที่ทาปฏิกิริยาพอดีกับ
โลหะแมกนีเซียม
โลหะแมกนีเซียม + แก๊สออกซิเจน → แมกนีเซียมออกไซด์
2.64 g
4.40 g
? g
มวลแก๊สออกซิเจน = มวลแมกนีเซียมออกไซด์ – มวลโลหะแมกนีเซียม
มวลก่อน
เกิดปฏิกิริยา
มวลหลัง
เกิดปฏิกิริยา
มวลแก๊สออกซิเจนที่ทาปฏิกิริยาพอดี = 4.40 – 2.64 = 1.76 กรัม
กฎทรงมวล “มวลก่อนเกิดปฏิกิริยา = มวลหลังเกิดปฏิกิริยา”
Use the LAW OF CONSERVATION OF MASS to fill out the missing
information in the table below
Reaction Reactant(s) Product(s)
1) H2 + O2 → H2O
mass
3.4g 10g
2) CH4 + O2 → CO2 + H2O
mass
12.2g 14g 20.0g
3) HgO → Hg + O2
mass
23.6g 13.0g
4) Li + O2 → Li2O
mass
5.7g 24.6g
5) C3H6 + O2 → CO2 + H2O
mass
18.9g 11.1g 15.6g
6) Al(OH)3 → Al2O3 + H2O
mass
21.8g 9.7g
7) HCl + NaOH → H2O + NaCl
Mass
2.87g 3.75g 1.98g
13.4 g
6.2 g
10.6 g
18.9 g
14.4 g
31.5 g
2.86 g
Joseph Proust ค.ศ. 1802
“ It stated that chemical compounds are
formed of constant and defined ratios of
elements, as determined by mass. ”
โจเซฟ เพราสต์ พ.ศ. 2345
“ อัตราส่วนโดยมวลของธาตุที่รวมเป็นสารประกอบ
หนึ่งๆจะมีค่าคงที่เสมอ”
As an example,
any sample of pure
water contains 11.11%
hydrogen and 88.89%
oxygen by mass. It does
not matter where the
sample of water came
from or how it was
prepared
16
12
32
12
มวล(กรัม)
C : O = 3 : 4
C : O = 3 : 8
อัตราส่วนโดยมวลอะตอม
ตารางแสดงปริมาณของทองแดงกับกามะถันที่ทาปฏิกิริยาพอดีกัน
ครั้งที่ มวลของสารที่ทาปฏิกิริยาพอดีกัน
Cu (g) S (g)
1
2
3
4
5
1.0
1.9
2.9
4.0
4.9
0.5
1.0
1.5
2.0
2.5
อัตราส่วนโดย
มวล Cu:S
2 :1
1.9 :1
1.93 :1
2 :1
1.96 :1
เฉลี่ย 1.958 : 1ในการทดลองแต่ละครั้ง อัตราส่วนโดยมวลของ
Cu : S มีค่าเท่าใด และมีค่าเฉลี่ยเท่าใด ~ 2 : 1
ตารางแสดงปริมาณของทองแดงกับกามะถันที่ทาปฏิกิริยาพอดีกัน
ครั้งที่ มวลของสารที่ทาปฏิกิริยาพอดีกัน
Cu (g) S (g)
1
2
3
4
5
1.0
1.9
2.9
4.0
4.9
0.5
1.0
1.5
2.0
2.5
มวลรวม
สารประกอบ
1.5
2.9
4.4
6.0
7.4
จงหาร้อยละโดยมวลของทองแดง และกามะถัน
ที่เป็นองค์ประกอบ ในแต่ละการทดลอง
ร้อยละโดยมวล
Cu S
66.66
65.51
65.91
66.66
66.22
33.33
34.48
34.09
33.33
33.78
• A 78.0 g sample of an unknown compound contains
12.4 g of hydrogen. What is the percent by mass of
hydrogen in the compound? สารตัวอย่าง 78.0 กรัม
ประกอบด้วยไฮโดรเจน 12.4 กรัม จงหาร้อยละโดยมวล
ของไฮโดรเจน
ร้อยละโดยมวล H = มวลH
x100
มวลสารประกอบ
= x100
12.4
78
= 15.89%
• If 1.0 g of hydrogen reacts completely with 19.0 g of
fluoride. What is the mass of the compound formed?
What is the percent by mass of hydrogen in the
compound formed? ถ้าไฮโดรเจน 1.0 กรัม ทาปฏิกิริยาพอดีกับ
ฟลูออรีน 19.0 กรัม จะเกิดสารประกอบกี่กรัม และร้อยละโดย
มวลของไฮโดรเจนในสารประกอบมีค่าเท่าไร
กฎทรงมวล “มวลก่อนเกิดปฏิกิริยา = มวลหลังเกิดปฏิกิริยา”
ไฮโดรเจน 1.0 กรัม + ฟลูออรีน 19.0 กรัม → สารประกอบ .... กรัม
จะเกิดสารประกอบ 20 กรัม
ร้อยละโดยมวล H =
มวลH
x100
มวลสารประกอบ
=
1.0
20
x100 = 5.0%
• A 134.50 g sample of aspirin is made up of 6.03 g of
hydrogen, 80.70 g of carbon, and 47.77 g of oxygen.
What is the percent by mass of each element in aspirin?
ยาแอสไพริน 134.50 กรัม เตรียมได้จาก ไฮโดรเจน 6.30 กรัม คาร์บอน
80.70 กรัม และ ออกซิเจน 7.77 กรัม จงหาร้อยละโดยมวลของแต่ละธาตุ
องค์ประกอบในแอสไพริน
ร้อยละโดยมวล H = มวลH
x100
มวลแอสไพริน
= x100
6.03
134.50
= 4.48%
ร้อยละโดยมวล C = มวลC
x100
มวลแอสไพริน
= x100
80.70
134.50
= 60%
ร้อยละโดยมวล O = ?
• Aluminum oxide has a composition of 52.9% aluminum
and 47.1% oxygen by mass. If 16.4 g of aluminum reacts
with oxygen to form aluminum oxide, what mass of
oxygen reacts?
• อะลูมิเนียมออกไซด์มีองค์ประกอบเป็นอะลูมิเนียมร้อยละ 52.9 และ
ออกซิเจนร้อยละ 47.1 โดยมวล ถ้านาอะลูมิเนียม 16.4 กรัม มาทา
ปฏิกิริยากับออกซิเจนจนเกิดเป็นอะลูมิเนียมออกไซด์ จะต้องใช้
ออกซิเจนกี่กรัม อะลูมิเนียมออกไซด์
ออกซิเจนร้อยละ 47.1อะลูมิเนียมร้อยละ 52.9
อะลูมิเนียม 16.4 กรัม ออกซิเจน ......... กรัม
ต้องใช้ออกซิเจน 14.60 กรัม
percent by massof A= xn molar massof A x100
molar massof compound
จานวนอะตอมธาตุในสูตร
มวลของธาตุใน
สารประกอบ
ร้อยละของธาตุใน
สารประกอบ
6 อะตอม C
6x12 = 72 g/mol
ร้อยละโดยมวล C
= 92.3 %
6 อะตอม H
6x1= 6 g/mol
ร้อยละโดยมวล H
= 7.7 %
เบนซีนมีสูตรโมเลกุล C6H6 จงหาร้อยละธาตุองค์ประกอบ
6 6
มวลC
x100
มวลสูตร C H 6 6
มวลH
x100
มวลสูตร C H
= x100
72
78
= x100
6
78
จานวนอะตอมธาตุในสูตร
มวลของธาตุใน
สารประกอบ
ร้อยละของธาตุใน
สารประกอบ
2 อะตอม C
2x12 = 24 g/mol
ร้อยละโดยมวล C
= 92.3 %
2 อะตอม H
2x1= 2 g/mol
ร้อยละโดยมวล H
= 7.7 %
อะเซติลีนมีสูตรโมเลกุล C2H2 จงหาร้อยละธาตุองค์ประกอบ
2 2
มวลC
x100
มวลสูตร C H
= x100
24
26
2 2
มวลH
x100
มวลสูตร C H
= x100
2
26
แอมโมเนียมไนเตรต
NH4NO3
ยูเรีย
CO(NH2)2
แอมโมเนียมซัลเฟต
(NH4)2SO4
2 x N = 2x14 = 28
4 x H = 4x1 = 4
3 x O = 3x16 = 48
มวลสูตร = 80
1 x C = 1x12 = 12
1 x O = 1x16 = 16
2 x N = 2x14 = 28
4 x H = 4x1 = 4
มวลสูตร = 60
2 x N = 2x14 = 28
8 x H = 8x1 = 8
1 x S = 1x32 = 32
4 x O = 4x16 = 64
มวลสูตร = 132
สารประกอบ แอมโมเนียมไนเตรต ยูเรีย และ
แอมโมเนียมซัลเฟต สารใดมีมวลเป็นร้อยละของ
ไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบมากที่สุด
80
28
60
28
132
28
35100
80
28
=x 7.46100
60
28
=x 2.21100
132
28
=x
สัดส่วนของ N = สัดส่วนของ N = สัดส่วนของ N =
% ของ N =% ของ N = % ของ N =
แอมโมเนียมไนเตรต
NH4NO3
ยูเรีย
CO(NH2)2
แอมโมเนียมซัลเฟต
(NH4)2SO4
2 x N = 2x14 = 28
4 x H = 4x1 = 4
3 x O = 3x16 = 48
มวลสูตร = 80
1 x C = 1x12 = 12
1 x O = 1x16 = 16
2 x N = 2x14 = 28
4 x H = 4x1 = 4
มวลสูตร = 60
2 x N = 2x14 = 28
8 x H = 8x1 = 8
1 x S = 1x32 = 32
4 x O = 4x16 = 64
มวลสูตร = 132
จงหาร้อยละโดยมวลของน้าในผลึก Na2CO3.10H2O
มวลของผลึก
Na2CO3.10H2O
2 Na = 2 x 23 = 46
1 C = 1 x 12 = 12
3 O = 3 x 16 = 48
10 H2O = 10 x 18 = 180
(2 Na)+(1 C)+(3 O)+(10 H2O) = 286
= =
(10x18)g H O2%โดยมวลของนา้้ x100 62.94
286g Na CO .10H O2 3 2
EXC 4.6
การคานวณหาสูตรเอมพิริคัลและสูตรโมเลกุล
สิ่งที่ต้องรู้ในการคานวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
ชนิดธาตุ
องค์ประกอบ
อัตราส่วนโดย
มวลของธาตุ
แต่ละชนิด
คานวณหา
อัตราส่วนโดย
โมลของธาตุ
สูตรเอมพิริคัลสูตรโมเลกุล
มวลโมเลกุล
สารประกอบชนิดหนึ่งประกอบด้วยโซเดียม 22.9 % โบรอน 21.6 % โดย
มวล ที่เหลือเป็นออกซิเจน ถ้ามวลโมเลกุลของสารประกอบเท่ากับ 201.2 จง
หาสูตรเอมพิริคัลและสูตรโมเลกุล
ธาตุองค์ประกอบ
อัตราส่วนโดยมวล
อัตราส่วนโดยโมล
ทาเป็นสัดส่วนอย่างต่า
ทาเป็นสัดส่วน ที่ปัดเศษได้
สูตรเอมพิริคัล
Na OB
22.9 21.6 55.5
1x2 = 2 2x2 = 4 3.48x2 = 6.96
0.995÷0.995=1 2÷0.995=2 3.468÷0.995=3.48
Na2B4O7
23
22.9
16
55.5
10.8
21.6= 0.995 = 2 = 3.468
สูตรโมเลกุล = (สูตรเอมพิริคัล )n
มวลโมเลกุล = (มวลสูตรเอมพิริคัล )n
มวลโมเลกุล
มวลสูตรเอมพิริคัล
n =
สูตรโมเลกุล = (สูตรเอมพิริคัล )n
มวลโมเลกุล = (มวลสูตรเอมพิริคัล )n
201.2 = [ (23 x 2 ) + (10.8 x 4) + (16 x 7) ]n
201.2 = (201.2 )n n = 1
สูตรโมเลกุล = ( Na2B4O7 )1
สูตรโมเลกุล = Na2B4O7
การหาสูตร
โมเลกุล
ในการเผาตัวอย่างสารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดหนึ่งพบว่าให้แก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ 0.0497 กรัม และ ไอน้า0.0244 กรัม ถ้าสารตัวอย่างมีมวล
โมเลกุล 58 จงหามวลของสารตัวอย่าง สูตรเอมพิริคัลและสูตรโมเลกุล
หามวลของ H จาก
H2O 1 โมล มี H = 2 g
หามวลของ C จาก
CO2 1 โมล มี C= 12 g C = g0.0135
2COg44
Cg12x2COg0.0497 =
H = g0.0027O2Hg18
Hg2xO2Hg0.0244 =
มวลสารตัวอย่าง = มวล C + H = 0.0135 + 0.0027 = 0.0162 g
CxHy CO2 H2O+
ธาตุองค์ประกอบ
อัตราส่วนโดยมวล
อัตราส่วนโดยโมล
ทาเป็นสัดส่วนอย่างต่า
ทาเป็นสัดส่วน ที่ปัดเศษได้
สูตรเอมพิริคัล
C H
0.0135 0.0027
0.0011÷0.0011 = 1 0.0027÷0.0011=2.454
0.0135÷12 = 0.0011 0.0027÷1 = 0.0027
1 x 2 = 2 2.454 x 2 = 4.908 ~5
C2H5
หาสูตรเอมพิริคัล

More Related Content

What's hot

ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงพัน พัน
 
การเขียนสูตรโครงสร้าง
การเขียนสูตรโครงสร้างการเขียนสูตรโครงสร้าง
การเขียนสูตรโครงสร้างMaruko Supertinger
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อากาศ
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อากาศวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อากาศ
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อากาศKatewaree Yosyingyong
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม Terapong Piriyapan
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนSukanya Nak-on
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนThepsatri Rajabhat University
 
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหารวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหารKatewaree Yosyingyong
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2oraneehussem
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
เลขออกซิเดชัน
เลขออกซิเดชันเลขออกซิเดชัน
เลขออกซิเดชันzhezazzz
 
บทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีบทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีoraneehussem
 
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลManchai
 
ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า Faris Singhasena
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมีการคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมีพัน พัน
 
ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)Manchai
 

What's hot (20)

ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 
การเขียนสูตรโครงสร้าง
การเขียนสูตรโครงสร้างการเขียนสูตรโครงสร้าง
การเขียนสูตรโครงสร้าง
 
โมล ม.4
โมล ม.4โมล ม.4
โมล ม.4
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อากาศ
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อากาศวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อากาศ
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อากาศ
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
 
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหารวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
 
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
เลขออกซิเดชัน
เลขออกซิเดชันเลขออกซิเดชัน
เลขออกซิเดชัน
 
บทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีบทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมี
 
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
 
Echem 1 redox
Echem 1 redoxEchem 1 redox
Echem 1 redox
 
ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมีการคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
 
ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)
 

Similar to 4 chem formular

บทที่ 4 stoichiometry.ppt
บทที่ 4 stoichiometry.pptบทที่ 4 stoichiometry.ppt
บทที่ 4 stoichiometry.pptLeeMinho84
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์Chicciiz Pu
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)oraneehussem
 
Onet เคมี M6
Onet เคมี M6Onet เคมี M6
Onet เคมี M6oraneehussem
 
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometryปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - StoichiometryDr.Woravith Chansuvarn
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีPreeyapat Lengrabam
 
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์oraneehussem
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2Tanchanok Pps
 
เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์Pipat Chooto
 
สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนสารประกอบไฮโดรคาร์บอน
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนKrusek Seksan
 

Similar to 4 chem formular (20)

5 chem formular
5 chem formular5 chem formular
5 chem formular
 
Metal
MetalMetal
Metal
 
1 atomic weight
1 atomic weight1 atomic weight
1 atomic weight
 
บทที่ 4 stoichiometry.ppt
บทที่ 4 stoichiometry.pptบทที่ 4 stoichiometry.ppt
บทที่ 4 stoichiometry.ppt
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
1482139114.ppt
1482139114.ppt1482139114.ppt
1482139114.ppt
 
Chap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometryChap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometry
 
3 the mole 2018
3 the  mole 20183 the  mole 2018
3 the mole 2018
 
2 the mole
2 the  mole2 the  mole
2 the mole
 
9 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 569 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 56
 
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
 
Onet เคมี M6
Onet เคมี M6Onet เคมี M6
Onet เคมี M6
 
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometryปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
 
Chap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometryChap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometry
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมี
 
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
 
เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์
 
สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนสารประกอบไฮโดรคาร์บอน
สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
 

More from Saipanya school

Atomic model ruth & bohr
Atomic model ruth & bohrAtomic model ruth & bohr
Atomic model ruth & bohrSaipanya school
 
Titration curve & buffer solution
Titration curve & buffer solutionTitration curve & buffer solution
Titration curve & buffer solutionSaipanya school
 
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาการคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาSaipanya school
 
พันธะโลหะ
พันธะโลหะพันธะโลหะ
พันธะโลหะSaipanya school
 
พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 Saipanya school
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent BondSaipanya school
 
สุ่มนักเรียนนำเสนอชุด A
สุ่มนักเรียนนำเสนอชุด Aสุ่มนักเรียนนำเสนอชุด A
สุ่มนักเรียนนำเสนอชุด ASaipanya school
 
4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลายSaipanya school
 

More from Saipanya school (20)

Atomic model ruth & bohr
Atomic model ruth & bohrAtomic model ruth & bohr
Atomic model ruth & bohr
 
Chem equation
Chem equation  Chem equation
Chem equation
 
Titration curve & buffer solution
Titration curve & buffer solutionTitration curve & buffer solution
Titration curve & buffer solution
 
Echem 2 redox balance
Echem 2 redox balanceEchem 2 redox balance
Echem 2 redox balance
 
Concentration ..2018
Concentration ..2018Concentration ..2018
Concentration ..2018
 
Concentration 2018
Concentration 2018Concentration 2018
Concentration 2018
 
Empirical exc. sp
Empirical exc. spEmpirical exc. sp
Empirical exc. sp
 
Stoichem 002
Stoichem 002 Stoichem 002
Stoichem 002
 
Stoichem 001
Stoichem 001Stoichem 001
Stoichem 001
 
Mole review
Mole review Mole review
Mole review
 
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาการคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
 
พันธะโลหะ
พันธะโลหะพันธะโลหะ
พันธะโลหะ
 
พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
 
สุ่มนักเรียนนำเสนอชุด A
สุ่มนักเรียนนำเสนอชุด Aสุ่มนักเรียนนำเสนอชุด A
สุ่มนักเรียนนำเสนอชุด A
 
เฉลย โมล
เฉลย โมลเฉลย โมล
เฉลย โมล
 
ว 30222 ม.5
ว 30222 ม.5ว 30222 ม.5
ว 30222 ม.5
 
4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย
 
6 colligative
6 colligative6 colligative
6 colligative
 
3 concentration
3 concentration3 concentration
3 concentration
 

4 chem formular