SlideShare a Scribd company logo
1 of 65
Download to read offline
ทรงกลมฟ้า
Celestial sphere

INTRO TO ASTRONOMY | GROUP 1
FACULTY OF EDUCATION, CHULALONGKORN UNIVERSITY
CONTENTS
Add your text here

ทรงกลมฟ้า
สุริยวิถี

พิกัดขอบฟ้า
เส้นศูนย์สตรฟ้า
ู

การวัดระยะเชิงมุม

การสังเกตกลุมดาว
่
กลุมดาว
่
ทรงกลมฟ้า
Celestial sphere

ภาพที่ 1 แสดงทรงกลมฟ้า ทีมา : http://planetary-science.org
่

หมายถึง ทรงกลมสมมติขนาดใหญ่ มีรศมีอนันต์ โดยมีโลกอยู่ทจดศูนย์กลาง
ั
ี่ ุ
สุริยวิถี
Ecliptic

ภาพที่ 2 แสดงสุรยวิถี ทีมา : www.lesa.biz/astronomy
ิ
่

หมายถึง เส้นทางการเคลือนทีของดวงอาทิตย์บนท้องฟ้า เกิดจากการทีโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์
่ ่
่
เป็นรูปวงรี โดยทีแกนของโลกเอียง 23.5° จากแนวตังฉากกับระนาบวงโคจร
่
้
การบอกตาแหน่ง
ดวงดาว
โดยถือเอาตัวของผูสงเกต
้ ั
เป็นศูนย์กลาง
และระบบพิกด
ั

ที่มา : รายการวิทย์เทคโน
http://www.youtube.com/watch?v=_OusfQH9aeY
พิกดขอบฟ้า
ั
Horizontal coordinates

ระบบพิกดซึงใช้ในการวัดตาแหน่งของวัตถุทองฟ้า โดย ถือเอาตัวของผูสงเกตเป็นศูนย์กลาง
ั ่
้
้ ั
ของทรงกลมฟ้า โดยมีจดและเส้นสมมติบนทรงกกลมฟ้า
ุ
ภาพที่ 3 แสดงระบบพิกดขอบฟ้า ทีมา : www.lesa.biz/astronomy
ั
่
ระบบพิกดฟ้า
ั
เส้นขอบฟ้า | Horizon
จุดเหนือศีรษะ | Zenith
จุดใต้เท้า | Nadir

เส้นศูนย์สตรฟ้า
ู
เส้นเมอริเดียน | Meridian
ภาพที่ 4 แสดงระบบพิกดขอบฟ้า ทีมา : www.lesa.biz/astronomy
ั
่
เส้นขอบฟ้า | Horizon
เส้นตัดระหว่างพื้นโลกกับขอบฟ้า

ภาพที่ 5 แสดงเส้นขอบฟ้ า ที่มา : http://www.nbs.com/board/viewtopic.php?f=10&t=19214
จุดเหนือศีรษะ | Zenith
ตาแหน่งสูงสุดของทรงกลมฟ้า ซึ่งอยู่เหนือผูสังเกต
้
- จุดสูงที่สุดบนฟ้าจะอยู่เหนือ
ศีรษะพอดี
- จุดเหนือศีรษะทามุมกับผู้
สังเกตการณ์ และขอบฟ้าทุก ๆ
ด้าน เป็นมุมฉาก (90°) พอดี

ภาพที่ 6 แสดงจุดเหนือศรีษะในระบบพิกดขอบฟ้า ทีมา : www.lesa.biz/astronomy
ั
่
จุดใต้เท้า | Nadir
ตาแหน่งต่าสุดของทรงกลมฟ้า ซึ่งอยู่ใต้เท้าของผู้สังเกต

ภาพที่ 7 แสดงระบบพิกดขอบฟ้า ทีมา : www.lesa.biz/astronomy
ั
่
มุมอาซิมท (Azimuth)
ุ
เป็นมุมในแนวราบ นับจาก
ทิศเหนือ ในทิศทางตามเข็มนาฬิกา
มีคาระหว่าง 0 - 360 องศา
่

มุมเงย (Altitude)
เป็นมุมในแนวตัง นับจากเส้นขอบฟ้าขึนไปสู่
้
้
จุดเหนือศีรษะ มีคาระหว่าง 0 - 90 องศา
่
การกาหนดทิศ
หันหน้าไปทางทิศเหนือ
„ ด้านหลัง เป็นทิศใต้
„ แขนซ้าย ชี้ไปทางทิศตะวันตก
„ แขนขวา ชี้ไปทางทิศตะวันออก
ภาพที่ 9 เมือหันหน้าไปทางทิศเหนือ ทีมา : www.lesa.biz/astronomy
่
่

หันหน้าไปทางทิศตะวันตก
„ ด้านหลัง เป็นทิศตะวันออก
„ แขนซ้าย ชี้ไปทางทิศใต้
„ แขนขวา ชี้ไปทางทิศเหนือ
ภาพที่ 10 เมือหันหน้าไปทางทิศตะวันตก ทีมา : www.lesa.biz/astronomy
่
่
การวัดระยะเชิงมุม
เราไม่สามารถคาดเดาได้ว่า
วัตถุเหล่านั้นมีความระยะห่าง
จากเราเป็นระยะทางเท่าไหร่

นิยมวัดออกเป็น
ระยะเชิงมุม
(Angular distance)

โดยเหยียดแขนสุด ความกว้างระหว่างนิ้วทั้งสอง
เทียบกับมุมบนท้องฟ้าได้มุมประมาณ 18 องศา
ขนาดเชิงมุม

หลัก : หากเลื่อนลูกบอลให้ไกลออกไปจากเดิมเป็นระยะทาง 3 เท่า ขนาดเชิงมุมจะลดลงเป็น 1 ใน
3 ของขนาดที่วัดได้ครั้งแรก จากข้อมูลดังกว่าจะทาให้เราทราบถึง “ค่าขนาดเชิงมุม” (คือ อัตราส่วน
ของขนาดจริง ต่อ ระยะห่างของวัตถุ)

Flash ขนาดเชิงมุมของดวงจันทร์
http://portal.edu.chula.ac.th/lesa_cd/assets/document/LESA212/flash/flash2010/Angular%20size%20of%20moon.swf
เส้นศูนย์สูตรฟ้า
Celestial equator

เส้นสมมติที่อยู่บนวงกลมท้องฟ้า โดยขยายจากเส้นศูนย์สูตรโลกออกไปบน
ท้องฟ้าโดยรอบ
เส้นศูนย์สูตรฟ้า




มีตาแหน่งที่แน่นอนบนทรงกลมฟ้า

ระนาบเส้นศูนย์สูตรฟ้า ตั้งฉากกับแกนหมุนรอบตัวเองของโลก แต่แนวทางของ
เส้นศูนย์สูตรฟ้าจะสัมพันธ์กับตาแหน่งของผู้สังเกตบนโลก (ละติจูด)
เส้นเมอริเดียน | Meridian
เส้นสมมติบนทรงกลมฟ้าในแนวเหนือ-ใต้ ซึ่งลากผ่านจุดเหนือศีรษะ

ภาพที่ 8 แสดงระบบพิกดขอบฟ้ า ที่มา http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet2/knowledge_math/time_per_earth.htm
ั
เส้นเมอริเดียน | Meridian
เส้นสมมติบนทรงกลมฟ้าในแนวเหนือ-ใต้ ซึ่งลากผ่านจุดเหนือศีรษะ

หากลากเส้นเชื่อมทิศตะวันออกไปยังทิศ
ตะวันตก โดยให้เส้นสมมตินั้นตั้งฉากกับ
ขั้วฟ้าเหนือโดยตลอด จะได้เส้นศูนย์สูตร
ฟ้าซึ่งแบ่งท้องฟ้าออกเป็นซีกฟ้าเหนือและ
ซีกฟ้าใต้

ภาพที่ 4 แสดงระบบพิกดขอบฟ้า ทีมา : www.lesa.biz/astronomy
ั
่
ละติจด 0 ° N
ู
ผู้สังเกตการณ์อยู่ที่เส้นศูนย์สูตร
(ละติจูด 0° N)
ดาวเหนืออยู่บนเส้นขอบฟ้าพอดี
ดาวขึ้น ‟ ตก ในแนวในตั้งฉากกับ
พื้นโลก
ละติจด 13° N
ู
ผู้สังเกตการณ์อยู่ที่ กรุงเทพฯ
(ละติจูด 13° N )
ดาวเหนืออยู่สูงเหนือเส้นขอบฟ้า 13 °
ดาวขึ้น ‟ ตก ในแนวเฉียงไปทางใต้ 13 °
ละติจด 90 ° N
ู
ผู้สังเกตการณ์อยู่ที่ขั้วโลกเหนือ
(ละติจูด 90 ° N)
ดาวเหนืออยู่สูงเหนือเส้นขอบฟ้า 90 °
ดาวเคลื่อนที่ในแนวขนานกับพื้นโลก
ขั้วฟ้าเหนือจะอยู่สูงจากขอบฟ้าเท่ากับละติจูดที่
ผู้สังเกตการณ์อยู่
Right ascention
 ค่ามุมของเส้นวงกลมซึ่ง

ลากมาจากขั้วฟ้าเหนือไป
ยังขั้วฟ้าใต้ตั้งฉากกับ
เส้นศูนย์สูตรฟ้า

 วัดไรต์แอสเซนชันไปทางตะวันออกตามเส้นศูนย์สูตรฟ้าเท่านั้น

นิยมวัดเป็นชั่วโมง จึง
เรียกเส้นดังกล่าวว่าวงกลมชั่วโมง (สัญลักษณ์ h) มีค่า 0 ถึง 24 ชั่วโมง
(เท่ากับ 360 °)
Declination
 ค่ามุมที่วัดจากเส้น

ศูนย์สูตรฟ้า หรือ
เส้นเดคลิเนชัน 0
ไปทางเหนือหรือทาง
ใต้

 มุมที่วัดไปทางเหนือจะให้มีค่าเป็นบวก

ส่วนมุมที่วัดไปทางใต้จะให้มีค่าเป็นลบ
สุริยวิถี
Ecliptic

หมายถึง เส้นทางการเคลือนทีของดวงอาทิตย์บนท้องฟ้า เกิดจากการทีโลกโคจรรอบดวง
่
่
่
อาทิตย์เป็นรูปวงรี โดยทีแกนของโลกเอียง 23.5° จากแนวตังฉากกับระนาบวงโคจร
่
้
ภาพที่ 2 แสดงสุรยวิถี ทีมา : www.lesa.biz/astronomy
ิ
่
จุดที่ระนาบทั้งสองตัดกันว่า “อีควินอกซ์”(Equinox)
โดยจะมีอยู่ด้วยกันสองจุดคือ "วสันตวิษุวต" หรือ อีควินอกซ์ฤดูใบไม้ผลิ (Vernal equinox)”
ั
และ “ศารทวิษุวต" หรือ อีควินอกซ์ฤดูใบไม้รวง (Autumnal equinox)”
ั ิ
่
"ครีษมายัน" หรือ โซลสทิสฤดู
ร้อน (Summer solstice)
ตาแหน่งที่เส้นสุริยวิถีอยู่หางจากเส้น
่
ศูนย์สูตรฟ้าไปทางขั้วฟ้าเหนือมากที่สุด
“เหมายัน" หรือ โซลสทิสฤดู
หนาว (Winter solstice) ตาแหน่งที่เส้นสุ
ริยวิถีอยู่ห่างจากเส้นศูนย์สตรฟ้า ไปทางขั้ว
ู
ฟ้าใต้มากที่สุด
ระนาบสุริยวิ ถีตดกับระนาบศูนย์สูตรฟ้ า
ั
วิดีโอสรุป
ระบบพิกัดฟ้า
ที่มา :
https://www.youtube.com/wa
tch?v=pus1ojJluVE
กลุ่มดาว
นิทานดาว
กลุมดาวนายพรานในความเชือของแต่ละวัฒนธรรม
่
่
กลุมดาวในความหมายที่แท้จริง
่
กลุมดาวในความหมายทีแท้จริง
่
่
ดาวฤกษ์บนท้องฟ้า

แท้จริงมีขนาดไม่เท่ากัน และอยู่หางจากโลก
่
ของเรา ด้วยระยะทางทีแตกต่างกันออกไป
่
และเนื่องจากดาวฤกษ์แต่ละดวงอยู่หางจากเรามาก เราจึง
่
มองเห็นเป็นเพียงจุดแสง ที่มีสและความสว่าง แตกต่างกัน
ี
กลุมดาวค้างคาว (cassiopeia)
่
การหาตาแหน่งดาวเหนือ
ดาวเหนือ
polaris star
ภาพโดย : ศุภฤกษ์ คฤหานนท์
การเคลือนทีของ
่ ่
กลุมดาว
่
รอบขัวฟ้าเหนือ
้
ภาพโดย : ศุภฤกษ์ คฤหานนท์
ภาพโดย : ศุภฤกษ์ คฤหานนท์
การเคลือนทีของ
่ ่
กลุมดาวรอบขัว
่
้
ฟ้าเหนือ
ภาพโดย : ศุภฤกษ์ คฤหานนท์
การหาดาวเหนือจาก
กลุมดาวหมีใหญ่
่
การหาดาวเหนือจาก
กลุมดาวหมีใหญ่
่
การหาดาวเหนือจากกลุ่มดาวหมีใหญ่
การหาดาวเหนือ
จากกลุมดาว
่
ค้างคาว
การหาดาวเหนือ
จากกลุมดาว
่
นายพราน
การหาดาวเหนือ
จากกลุมดาว
่
นายพราน
การหาดาวเหนือ
จากกลุมดาว
่
นายพราน
การหาดาวเหนือ
จากกลุมดาว
่
นายพราน
การสังเกตกลุ่มดาวสว่าง

ที่มา HTTP://WWW.LESA.BIZ/ASTRONOMY/CELESTIAL-PHERE/CONSTELLATIONS/BRIGHT-STARS
การเริมต้นดูดาว
่
หาทิศเหนือให้พบ
จับจุดจากดาวฤกษ์ที่สว่างเสียก่อน
แล้วจึงค่อยมองหารูปทรงของกลุ่มดาว

สังเกตการเคลื่อนที่ของกลุ่มดาว
จากซีกฟ้าตะวันออกไปยังซีกฟ้าตะวันตก
การหาจากกลุมดาวหมีใหญ่
่

ภาพที่ 1 กลุ่มดาวสว่างรอบกลุ่มดาวหมีใหญ่
กลุมดาวหมีใหญ่
่
กลุมดาวหมีเล็ก
่
กลุมดาวหญิงสาว
่
กลุมดาวคนเลียงสัตว์
่
้
สามเหลียมฤดูหนาว
่
กลุมดาวนายพราน
่
กลุมดาวหมาเล็ก
่
กลุมดาวหมาใหญ่
่
สามเหลียมฤดูรอน
่
้
กลุมดาวนกอินทรีย์
่
กลุมดาวพิณ
่
กลุ่มดาวหงส์
จัดทาโดย
อาสุระ
ยอ
โสรัตยาทร
มะโนสร
เนียมบุญ
สิงหะเสนา

นางสาวสุภัทรา
5443722327
นางสาวมารียะห์
5343770327
นางสาวเจิดจิรั°ิต์
554 35377 27
นางสาวชนัดดา
554 35428 27
นายภาคภูมิ
554 36710 27
นายสิทธิชัย
554 37299 27
วิชาดาราศาสตร์ขั้นนา
คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

More Related Content

What's hot

บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะTa Lattapol
 
ใบงาน เรื่อง พลังงงาน
ใบงาน เรื่อง พลังงงานใบงาน เรื่อง พลังงงาน
ใบงาน เรื่อง พลังงงานTanachai Junsuk
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)Pinutchaya Nakchumroon
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าThaweekoon Intharachai
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบบทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบJariya Jaiyot
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะPinutchaya Nakchumroon
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงTa Lattapol
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3Jariya Jaiyot
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงพัน พัน
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Dew Thamita
 
ดวงอาทิตย์ The sun
ดวงอาทิตย์  The sunดวงอาทิตย์  The sun
ดวงอาทิตย์ The sunnative
 

What's hot (20)

แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
ใบงาน เรื่อง พลังงงาน
ใบงาน เรื่อง พลังงงานใบงาน เรื่อง พลังงงาน
ใบงาน เรื่อง พลังงงาน
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบบทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
 
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
ดวงอาทิตย์ The sun
ดวงอาทิตย์  The sunดวงอาทิตย์  The sun
ดวงอาทิตย์ The sun
 

Similar to ทรงกลมฟ้า

ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะkalita123
 
ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2kominoni09092518
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะratchaneeseangkla
 
รวมปฏิสัมพันธ์.pptx
รวมปฏิสัมพันธ์.pptxรวมปฏิสัมพันธ์.pptx
รวมปฏิสัมพันธ์.pptxKru Bio Hazad
 
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้าWichai Likitponrak
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1Jariya Jaiyot
 
ดาราศาสตร์1
ดาราศาสตร์1ดาราศาสตร์1
ดาราศาสตร์1onchalermpong
 

Similar to ทรงกลมฟ้า (20)

Contentastrounit3
Contentastrounit3Contentastrounit3
Contentastrounit3
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
รวมปฏิสัมพันธ์.pptx
รวมปฏิสัมพันธ์.pptxรวมปฏิสัมพันธ์.pptx
รวมปฏิสัมพันธ์.pptx
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
42101 3
42101 342101 3
42101 3
 
ม611(แก้)
ม611(แก้)ม611(แก้)
ม611(แก้)
 
ม611(แก้)
ม611(แก้)ม611(แก้)
ม611(แก้)
 
ม611(แก้)
ม611(แก้)ม611(แก้)
ม611(แก้)
 
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1
 
Contentastrounit4
Contentastrounit4Contentastrounit4
Contentastrounit4
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
Astro & space technology
Astro & space technologyAstro & space technology
Astro & space technology
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5  เอกภพบทที่ 5  เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 
ดาราศาสตร์1
ดาราศาสตร์1ดาราศาสตร์1
ดาราศาสตร์1
 

ทรงกลมฟ้า