SlideShare a Scribd company logo
1 of 48
Download to read offline
บทที่ 2
ปริมาณสารสัมพันธ์
(Stoichiometry)
2-1
ปริมาณสารในปฏิกิริยาเคมี
โลกจุลภาค
อะตอม & โมเลกุล
โลกมหัพภาค
กรัม
มองไม่เห็นต้อง
ใช้จินตนาการช่วย
มองเห็นและวัดได้
ปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้นในระดับอะตอมและโมเลกุล
2-2
นิยาม
1 atom 12C มีมวล 12 amu
ซึ่งทาให้
1H = 1.008 amu
16O = 16.00 amu
มวลอะตอม (Atomic mass) คือ มวลของอะตอมใน
หน่วย atomic mass units (amu)
มวลอะตอม (Atomic mass)
2-3
ตัวอย่างโจทย์
ทอง (Au) มีมวลอะตอมเป็น 16.4 เท่าของ 12C ทองมี
มวลอะตอมเป็นกี่ amu
มวลของ 1 atom 12C = 12 amu
= 16.4 x 12 amu = 197 amu
มวลของ 1 atom Au
= 16.4มวลของ 1 atom 12C
มวลของ 1 atom Au
มวลของ 1 atom 12C
X มวลของ 1 atom 12C
2-4
ในธรรมชาติ Li มี 2 ไอโซโทป คือ
7.42% 6Li (6.015 amu)
92.58% 7Li (7.016 amu)
7.42 x 6.015 + 92.58 x 7.016
100 = 6.941 amu
มวลอะตอมเฉลี่ยของ Li คือ
มวลอะตอมเฉลี่ย
2-5
6
Average atomic mass (6.941)
ตัวอย่างโจทย์
คลอรีนมีมวลอะตอมเฉลี่ยเป็น 35.5 จงคานวณเปอร์เซ็นต์ของ
35Cl ในธรรมชาติ เมื่อกาหนดให้คลอรีนในธรรมชาติมีเพียง
สองไอโซโทปคือ 35Cl และ 37Cl ซึ่งมีมวลอะตอมเป็น 34.968
amu และ 36.956 amu ตามลาดับ
1 atom 35Cl = 34.968 amu
1 atom 37Cl = 36.956 amu
1 atom Cl = 35.5 amu
กาหนดให้ X ส่วน ใน 1 atom Cl เป็น 35Cl
34.968 X amu + 36.956 (1-X) amu = 35.5 amu
X = 0.7324 = 73.2%
2-7
โมล (mole, mol) คือ ปริมาณของสสารที่ประกอบด้วย
จานวนของอนุภาคมูลฐาน (เช่น อะตอม โมเลกุล หรือ
ไอออน) เท่ากับจานวนอะตอมที่มีอยู่ใน 12.00 กรัมของ 12C
1 mol = NA = 6.0221367 x 1023
เลขอะโวกาโดร (Avogadro’s number) 2-8
Molar mass คือมวลของ
จานวน 1 โมล มีหน่วยเป็นกรัม
โมเลกุล
1 โมลของ 12C = 6.022 x 1023 อะตอมของ 12C = 12.00 g
1 12C atom = 12.00 amu
1 โมลของ 12C atoms = 12.00 g 12C
1 โมลของ Li atoms = 6.941 g of Li
สาหรับอะตอมของธาตุใด ๆ
มวลอะตอม (amu) = มวลของ 1 โมล (กรัม)
อะตอม
ไอออน
2-9
1 amu = 1.66 x 10-24 g หรือ
1 g = 6.022 x 1023 amu
x 12.00 g
6.022 x 1023 12C atoms1 amu
= 1.66 x 10-24 g
1 amu = ?g
1 12C atom
12.00 amux
1 12C atom = 12.00 amu
6.022 x 1023 12C atoms = 12.00 g
2-10
M= มวลของ 1 โมล ในหน่วย g
NA = เลขอะโวกาโดร
มวลของธาตุ
(m)
จานวนโมล
ของธาตุ (n)
จานวนอะตอม
ของธาตุ (N)
m/M nNA
nM N/NA
ความสัมพันธ์ระหว่าง มวล โมล และ อะตอม
2-11
การคานวณเกี่ยวกับมวลอะตอมและโมล
โพแทสเซียม (K) มวล 0.551 g มีกี่อะตอม ?
1 โมล K = 39.10 g K
1 โมล K = 6.022 x 1023 อะตอม K
0.551 g K 1 mol K
39.10 g K
x x 6.022 x 1023 atoms K
1 mol K
= 8.49 x 1021 อะตอม K
2-12
ตัวอย่างโจทย์
ตะกั่ว (Pb) 1.00 x 1012 อะตอม มีมวลเป็นกี่กรัม ?
มวล 1 mol Pb = 207.2 g
1 mol Pb = 6.022 x 1023 atom Pb
1.00 x 1012 atom Pb 1 mol Pb
6.022 x 1023 atom Pb
x 207.2 g
1 mol Pb
x
= 3.44 x 10-10 g
2-13
มวลโมเลกุล (หรือน้าหนักโมเลกุล) คือ ผลรวมของมวล
อะตอม (amu) ทั้งหมด
SO2
1S 32.07 amu
2O + 2 x 16.00 amu
SO2 64.07 amu
สาหรับโมเลกุลใด ๆ
มวลโมเลกุล (amu) = มวลของ 1 โมล (grams)
1 โมเลกุล SO2 = 64.07 amu
1 โมล SO2 = 64.07 g SO2 2-14
การคานวณเกี่ยวกับมวลโมเลกุล
72.5 g ของ C3H8O มี H อยู่กี่อะตอม ?
1 mol C3H8O = (3 x 12) + (8 x 1) + 16 = 60 g C3H8O
1 mol H = 6.022 x 1023 atoms H
5.82 x 1024 atoms H
1 mol C3H8O molecules = 8 mol H atoms
72.5 g C3H8O
1 mol C3H8O
60 g C3H8Ox
8 mol H atoms
1 mol C3H8Ox
6.022 x 1023 H atoms
1 mol H atomsx =
มวล C3H8O โมล C3H8O โมล H อะตอม H
2-15
ตัวอย่างโจทย์
คานวณจานวนโมเลกุลของน้า 2.56 mL
1 g H2O = 1 mL H2O (ความหนาแน่น)
1 mol H2O = 18.016 g H2O (มวลโมเลกุล)
1 mol H2O = 6.022 x 1023 molecules H2O
2.56 mL H2O 1 g H2O
1 mL H2Ox 1 mol H2O
18.016 g H2Ox
6.022 x 1023 molecules H2O
1 mol H2Ox
= 8.56 x 1022 molecules H2O
2-16
17
KE = 1/2 x m x v2
v = (2 x KE/m)1/2
F = q x v x B
Light
Light
Heavy
Heavy
2-17
การใช้แมสสเปกโทรมิเตอร์เพื่อพิสูจน์
แหล่งที่มาของทองที่ถูกโขมย
2-18
ตัวอย่างโจทย์
ระบุจานวนและตาแหน่งสัญญานของไอออน H2S+ ใน
แมสสเปกตรัม ถ้าในธรรมชาติ ไฮโดรเจนมี 2ไอโซโทป
คือ 1H และ 2H ส่วนซัลเฟอร์มี 4 ไอโซโทปคือ 32S, 33S,
34S และ 36S
1H1H 34 35 36 38
1H2H หรือ 2H1H 35 36 37 39
2H2H 36 37 38 40
32S 33S 34S 36S
7 สัญญานที่ตาแหน่ง 34, 35, 36, 37, 38, 39 และ 40
2-19
n คือ จานวนโมลอะตอมของธาตุในหนึ่งโมลโมเลกุลของ
สารประกอบ
C2H6O
%C = 2 x (12.01 g)
46.07 g x 100% = 52.14%
%H = 6 x (1.008 g)
46.07 g x 100% = 13.13%
%O = 1 x (16.00 g)
46.07 g x 100% = 34.73%
52.14% + 13.13% + 34.73% = 100.0%
n x มวลของธาตุ 1 โมล
มวลของสารประกอบ 1 โมลx 100%=
เปอร์เซ็นต์ของธาตุองค์ประกอบในสารประกอบ
2-20
การหาสูตรสัดส่วน
(สูตรอัตราส่วน สูตรอย่างง่าย
สูตรเอมไพริคัล หรือสูตรโมเลกุล)
2-21
g CO2 mol CO2 mol C g C
g H2O mol H2O mol H g H
g of O = g of sample – (g of C + g of H)
เผาไหม้ ethanol 11.5 g
ได้ CO2 22.0 g และ H2O 13.5 g
0.5 mol C = 6.0 g C
1.5 mol H = 1.5 g H
4.0 g O = 0.25 mol O
สูตรอัตราส่วน C0.5H1.5O0.25
ทาให้เป็นจานวนเต็มโดยคูณด้วย 4
สูตรอัตราส่วน C2H6O
22/44 x 1/1
13.5/18 x 2/1
x 12
x 1
11.5 6.0 1.5 4/16
2-22
ตัวอย่างโจทย์
ต้องใช้ไอโอดีน ( I2) กี่กรัม เพื่อให้ทาปฏิกิริยาพอดีกับ
อะลูมิเนียม (Al) 20.4 กรัม แล้วเกิดเป็น AlI3
1 mol Al = 26.98 g Al
2 mol Al สมมูลกับ 3 mol I2 เพื่อเกิดเป็นAlI3 1 mol
mol I2 = 253.8 g I2
20.4 g Al
26.98 g Al
1 mol Alx 3 mol I2
2 mol Al
x
1 mol I2
253.8 g I2x
= 288 g I2
2-23
ตัวอย่างโจทย์
ปุ๋ ยไนโตรเจนสามารถเตรียมได้จากสารเคมีหลายชนิด เช่น
ยูเรีย [(NH2)2CO], แอมโมเนียมไนเตรต (NH4NO3), กัวนิดีน
[HNC(NH2)2] และแอมโมเนีย (NH3)สารตัวใดมีเปอร์เซนต์
ไนโตรเจนสูงที่สุด
ยูเรีย : 14.01 x 2
14.01 x 2 + 1.008 x 4 + 12.01 + 16.00
x 100 = 46.7% N
NH4NO3: 14.01 x 2
14.01 x 2 + 1.008 x 4 + 16.00 x 3
x 100 = 35.0% N
กัวนิดีน: 14.01 x 3
14.01 x 3 + 1.008 x 5 + 12.01
x 100 = 71.1% N
NH3: 14.01
14.01 + 1.008 x 3 x 100 = 82.3% N
2-24
ปฏิกิริยาระหว่าง H2 กับ O2 เกิดเป็น H2O อาจแสดงได้ดังนี้
ปฏิกิริยาเคมี (chemical reaction) คือ กระบวนการเปลี่ยนแปลงที่
ทาให้เกิดสารที่ต่างจากสารตั้งต้น ซึ่งมักจะแสดงโดยใช้ สมการ
เคมี (chemical equation) ที่ประกอบด้วยสัญลักษณ์ทางเคมีและ
ลูกศรชี้ทิศทางการเปลี่ยนแปลง
reactants products
2-25
ความหมายของสมการเคมี
2 Mg + O2 2 MgO
2 อะตอมของ Mg + 1 โมเลกุลของ O2 ให้ 2 โมเลกุลของ MgO
2 โมลของ Mg + 1 โมลของ O2 ให้ 2 โมลของ MgO
48.6 กรัมของ Mg + 32.0 กรัมของ O2 ให้ 80.6 กรัมของ MgO
ไม่ใช่
2 กรัมของ Mg + 1 กรัมของ O2 ให้ 2 กรัมของ MgO 2-26
1. เขียนสูตรโมเลกุลที่ถูกต้องของตัวทาปฏิกิริยาไว้ทางซ้ายมือ
และเขียนสูตรโมเลกุลที่ถูกต้องของผลิตภัณฑ์ไว้ทางขวามือ
Ethane ทาปฏิกิริยากับออกซิเจนเกิดเป็นคาร์บอนไดออกไซด์
และน้า
C2H6 + O2 CO2 + H2O
2. เติมตัวเลขสัมประสิทธิ์หน้าสูตรโมเลกุลของสารแต่ละตัว
เพื่อให้จานวนอะตอมของธาตุทางซ้ายและขวามือของ
สมการเท่ากัน ห้ามเปลี่ยนตัวเลขห้อยในสูตรโมเลกุล
เด็ดขาด
2C2H6 ไม่ใช่ C4H12
การดุลสมการเคมี
2-27
การดุลสมการเคมี
3. เริ่มต้นจากการดุลอะตอมของธาตุที่พบในแต่ละข้างของ
สมการเพียงข้างละหนึ่งสาร
C2H6 + O2 CO2 + H2O เริ่มด้วย C หรือ H ไม่ใช่ O
คูณ CO2 ด้วย 2 C2H6 + O2 2CO2 + H2O
คูณ H2O ด้วย 3 C2H6 + O2 2CO2 + 3H2O
2-28
4. ดุลอะตอมของธาตุที่พบในแต่ละข้างของสมการ
มากกว่าหนึ่งสาร
C2H6 + O2 2CO2 + 3H2O
คูณ O2 by 7
2 C2H6+ O2 2CO2 + 3H2O7
2
ทาให้เป็นจานวนเต็ม
โดยคูณสมการด้วย 2 2C2H6 + 7O2 4CO2 + 6H2O
การดุลสมการเคมี
1x2 = 2 2x2 + 3x1 = 7
2-29
5. ตรวจดูจานวนอะตอมของธาตุทุกตัวว่าดุลแล้วหรือไม่
2C2H6 + 7O2 4CO2 + 6H2O
4 C (2 x 2) 4 C
12 H (2 x 6) 12 H (6 x 2)
14 O (7 x 2) 14 O (4 x 2 + 6)
การดุลสมการเคมี
โครงสร้างของ ethane
2-30
ตัวอย่างโจทย์
ดุลสมการเคมีต่อไปนี้
N2O5 N2O4 + O2
1
2
N2O5 N2O4 + O22 2
CH4 + 4 Br2 CBr4 + 4 HBr
4 N
10 O
4 N
8 O 2 O
1 C
4 H
8 Br
1 C
4 Br
4 H
4 Br
x 2
2-31
1. เขียนและดุลสมการเคมี
2. แปลงมวลสารที่ทราบให้เป็นโมล
3. ใช้สัมประสิทธิ์ในสมการเคมีคานวณโมลสารที่ต้องการหา
4. แปลงโมลสารที่ต้องการหาให้เป็นมวลในหน่วยที่กาหนด
การคานวณมวลสารในปฏิกิริยาเคมี
2-32
ตัวอย่างโจทย์
ต้องใช้แอมโมเนีย (NH3) กี่กิโลกรัม เพื่อเตรียมแอมโมเนียมซัลเฟต
(NH4)2SO4 1.0 กิโลกรัม จากปฏิกิริยาต่อไปนี้
2 NH3 (g) + H2SO4 (aq) (NH4)2SO4 (aq)
1 mol (NH4)2SO4 = 132.2 g (NH4)2SO4
1 mol (NH4)2SO4 ต้องใช้ 2 mol NH3
1 mol NH3 = 17.03 g NH3
1 kg (NH4)2SO4 132.2 g (NH4)2SO4
1 mol (NH4)2SO4x 2 mol NH3
1 mol (NH4)2SO4
x
1 mol NH3
17.03 g NH3x = 0.258 kg NH3 2-33
พิจารณาปฏิกิริยาการเผาไหม้ของเมทธานอล
2CH3OH + 3O2 2CO2 + 4H2O
การเผาไหม้ของเมทธานอล 209 g จะเกิดน้าขึ้นกี่กรัม ?
กรัม CH3OH โมล CH3OH โมล H2O กรัม H2O
มวลโมเลกุล
CH3OH
สัมประสิทธิ์ มวลโมเลกุล
H2O
209 g CH3OH 1 mol CH3OH
32.0 g CH3OHx 4 mol H2O
2 mol CH3OH
x
18.0 g H2O
1 mol H2Ox = 235 g H2O
2-34
6 เขียวใช้หมด
เหลือ 6 แดง
(6)
(12)
Limiting Reagents
2-35
36
คานวณมวลของ Al2O3 ที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยาของ Al
124 g กับ Fe2O3 601 g
2Al + Fe2O3 Al2O3 + 2Fe
มวล Al โมล Al โมล Fe2O3
ที่ต้องใช้
มวล Fe2O3
ที่ต้องใช้
124 g 601 g ?
ถ้ามวล Fe2O3
ที่ต้องใช้
< มวล Fe2O3
ที่มีในปฏิกิริยา
Alเป็น
limiting reagent
Fe2O3 เป็น
limiting reagent
ถ้ามวล Fe2O3
ที่ต้องใช้
> มวล Fe2O3
ที่มีในปฏิกิริยา
การคานวณเมื่อมี Limiting Reagents
2-36
124 g Al
1 mol Al
27.0 g Alx 1 mol Fe2O3
2 mol Al
x
Al 124 g ต้องใช้ Fe2O3 367 g
160. g Fe2O3
1 mol Fe2O3
x
= 367 g Fe2O3
เนื่องจากในปฏิกิริยามี Fe2O3 601 g ดังนั้น Fe2O3 จึงมี
มากเกินพอ และ Al เป็น limiting reagent
2Al + Fe2O3 Al2O3 + 2Fe
124 g 601 g ?
2-37
ใช้มวลของ limiting reagent (Al) มาคานวณมวล
ผลิตภัณฑ์ (AlO3) ที่เกิดขึ้น
g Al mol Al mol Al2O3 g Al2O3
124 g Al 1 mol Al
27.0 g Al
x 1 mol Al2O3
2 mol Alx 102 g Al2O3
1 mol Al2O3
x
= 234 g Al2O3
2Al + Fe2O3 Al2O3 + 2Fe
2-38
ผลผลิตตามทฤษฎี (Theoretical Yield) คือ ปริมาณของ
ผลิตภัณฑ์ที่ควรจะเกิดถ้า limiting reagent ทาปฏิกิริยา
หมด
ผลผลิตจริง (Actual Yield) คือ ปริมาณผลิตภัณฑ์ที่
เกิดขึ้นจริง
% Yield =
Actual Yield
Theoretical Yield
x 100
เปอร์เซ็นต์ผลผลิต
2-39
ตัวอย่างโจทย์
โรงงานอุตสาหกรรมแห่งหนึ่งเตรียมเอทธิลีน (C2H4) โดยการให้
ความร้อนเฮกเซน (C6H14) ดังสมการ โดยมีเปอร์เซนต์ผลผลิต
ของเอทธิลีนเป็น 42.5% ถ้าต้องการเอทธิลีน 481 กรัม จะต้องใช้
เฮกเซนกี่กรัม
C6H14 C2H4 + ผลิตภัณฑ์อื่น
1 mol C2H4 = 28.05 g C2H4
1 mol C6H14 ให้ผลผลิตสูงสุด 3 mol C2H4
1 mol C6H14 = 86.17 g C6H14
x 481 g C2H4 28.05 g C2H4
1 mol C2H4x 1 mol C6H14
3 mol C2H4
x
1 mol C6H14
86.17 g C6H14x = 1.16 x 103 g C6H14
42.5
100
2-40
ตัวอย่างโจทย์
แอมโมเนียมซัลเฟต [(NH4)2SO4] เป็นปุ๋ ยไนโตรเจนซึ่ง
อาจเตรียมได้จากปฏิกิริยา 2 ขั้นตอนดังต่อไปนี้
2 NH3 + CO2 + H2O (NH4)2CO3
(NH4)2CO3 +CaSO4 (NH4)2SO4 + CaCO3
คานวณหาเปอร์เซนต์ผลผลิต เมื่อใช้แอมโมเนีย 50 g
และแคลเซียมซัลเฟต 300 g สามารถผลิต
แอมโมเนียมซัลเฟตได้ 150 กรัม
2-41
ปฏิกิริยารวม
2 NH3 + CO2 + H2O + CaSO4 (NH4)2SO4 + CaCO3
มวล NH3 โมล NH3
โมล CaCO3
ที่ต้องใช้
มวล CaCO3
ที่ต้องใช้
50.0 g NH3
1 mol NH3
17.03 g NH3
x
1 mol CaSO4
2 mol NH3
x 136.15 g CaSO4
1 mol CaSO4
x
= 200 g CaSO4
ดังนั้น NH3 เป็น limiting reagent
50 g 300 g
2-42
2 NH3 + CO2 + H2O + CaSO4 (NH4)2SO4 + CaCO3
ผลผลิต
ตามทฤษฎี
50.0 g NH3
1 mol NH3
17.03 g NH3
x 1 mol (NH4)2SO4
2 mol NH3
x
132.15 g (NH4)2SO4
1 mol (NH4)2SO4
x
=
= 194 g (NH4)2SO4
% Yield =
50.0 g 300 g
limiting reagent excess
150 g
actual yield
150 g (NH4)2SO4
194 g (NH4)2SO4
x 100 = 77 %
2-43
การบ้าน
1. จงหาน้าหนักโมเลกุลของสารต่อไปนี้ (ตอบเป็นเลขนัยสาคัญ
3 หรือ 4 ตัว และกาหนด Na = 22.99, S = 32.06, C = 12.01,
H = 1.01, O = 16.01 และ Cu = 63.55)
1.1 Na2S
1.2 C6H12O6
1.3 (CuSO4.5H2O)2
2. สารชนิดหนึ่งมีธาตุ C และ H เท่านั้น เป็นองค์ประกอบ เมื่อนา
สารนี้จานวน 1.20 กรัม มาเผาจนปฏิกิริยาเกิดขึ้นอย่างสมบูรณ์
พบว่า เกิด CO2 3.60 กรัม และ H2O 1.96 กรัม จงหาสูตร
อย่างง่ายของสารนี้ 2-44
3. สังกะสี (Zn) และกามะถัน (S) ทาปฏิกิริยากันดังสมการ
Zn + S ZnS
เมื่อนา Zn 12.0 กรัม มาทาปฏิกิริยากับ S 6.50 กรัม จะได้ ZnS
อย่างมากที่สุดกี่กรัม ธาตุใดเป็นสารกาหนดปริมาณ ธาตุใดเหลือ
จากปฏิกิริยา และเหลือกี่กรัม (Zn = 65.4, S = 32)
4. ออกไซด์หนึ่งของไนโตรเจน มีไนโตรเจน 30.4% เป็น
องค์ประกอบ จงหาสูตรเอมพิริกัลของสารนี้ และถ้าน้าหนัก
โมเลกุลของสารนี้เท่ากับ 92 จงหาสูตรโมเลกุลของสารนี้
(N = 14, O = 16)
2-45
5. จงดุลสมการต่อไปนี้
5.1 ZnS + HCl ZnCl2 + H2S
5.2 HCl + Cr CrCl3 + H2
5.3 Al + Fe3O4 Al2O3 + Fe
5.4 H2 + Br2 HBr
5.5 Na2S2O3 + I2 NaI + Na2S4O6
6. แก๊สชนิดหนึ่งประกอบด้วย C 85.7% และ H 14.3% ถ้าแก๊สนี้
มีความหนาแน่น 2.50 g/dm3 ที่ STP สูตรโมเลกุลของสารนี้เป็น
เท่าใด
2-46
7. นาสารผสม KClO3 กับ KCl หนัก 5 กรัม ไปเผา จะได้แก๊ส
ออกซิเจนสลายตัวออกมาเท่ากับ 1120 cm3 ที่ STP จงคานวณ
หามวลเป็นร้อยละของ KCl ในสารผสมดังกล่าว (K = 39,
Cl = 35.5, O = 16)
8. ปฏิกิริยาสันดาปของ C3H6 42 กรัม แยกน้าออกได้ 18 กรัม
จงหาร้อยละของน้าที่ได้
9. สารพอลิเมอร์ X มีสูตร Br3C6H3(C8H8)n ค่าของ n แปรผัน
ตามสภาวะของการเตรียม ถ้าสารพอลิเมอร์ X ที่เตรียมได้มี
โบรมีน 10.46% ค่าของ n จะมีค่าเท่าใด
2-47
10. กาหนดให้ปฏิกิริยาการเผาไหม้ของเอทานอล (C2H5OH)
และแก๊สโซลีน (C8H18) ให้พลังงานเป็น 1380 และ 5928 kJ/mol
ตามลาดับ ถ้าแก๊สโซฮอลเป็นเชื้อเพลิงที่ประกอบด้วยเอทานอล
และแก๊สโซลีน โดยมีเอทานอล 10% โดยน้าหนัก แก๊สโซฮอล
และแก๊สโซลีนจะให้พลังงานต่างกันกี่กิโลจูลต่อหนึ่งกิโลกรัม
2-48

More Related Content

What's hot

การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2Wichai Likitponrak
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนพัน พัน
 
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีพัน พัน
 
พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 Saipanya school
 
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊สWijitta DevilTeacher
 
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์oraneehussem
 
แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมี
แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมีแบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมี
แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมีApinya Phuadsing
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนSukanya Nak-on
 
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์Gawewat Dechaapinun
 
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมลเอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมลChuanchen Malila
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202พัน พัน
 
บทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสบทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสoraneehussem
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์Arocha Chaichana
 

What's hot (20)

การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
Punmanee study 4
Punmanee study 4Punmanee study 4
Punmanee study 4
 
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
 
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57
 
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
 
แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมี
แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมีแบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมี
แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมี
 
Mole
MoleMole
Mole
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
 
Chem equation
Chem equation  Chem equation
Chem equation
 
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
 
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมลเอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์
 
แก๊สอุดมคติ
แก๊สอุดมคติแก๊สอุดมคติ
แก๊สอุดมคติ
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
 
บทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสบทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบส
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 

Similar to Chap 2 stoichiometry

Similar to Chap 2 stoichiometry (20)

Chap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometryChap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometry
 
Metal
MetalMetal
Metal
 
2 the mole
2 the  mole2 the  mole
2 the mole
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 
9 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 569 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 56
 
Ec electrochem-text
Ec electrochem-textEc electrochem-text
Ec electrochem-text
 
Ec electrochem-text
Ec electrochem-textEc electrochem-text
Ec electrochem-text
 
Chem electrochemistry
Chem electrochemistryChem electrochemistry
Chem electrochemistry
 
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
 
Electrochem
ElectrochemElectrochem
Electrochem
 
3 the mole 2018
3 the  mole 20183 the  mole 2018
3 the mole 2018
 
09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า
 
09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า
 
09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า
 
เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์
 
Echem 1 redox
Echem 1 redoxEchem 1 redox
Echem 1 redox
 
4 chem formular
4 chem formular4 chem formular
4 chem formular
 
สรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมีสรุปวิชาเคมี
สรุปวิชาเคมี
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมี
 
1 atomic weight
1 atomic weight1 atomic weight
1 atomic weight
 

More from Gawewat Dechaapinun

เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰Gawewat Dechaapinun
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰Gawewat Dechaapinun
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรGawewat Dechaapinun
 
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณบทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณGawewat Dechaapinun
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรGawewat Dechaapinun
 
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์Gawewat Dechaapinun
 
Chapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlChapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlGawewat Dechaapinun
 
Chapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsChapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsGawewat Dechaapinun
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesGawewat Dechaapinun
 

More from Gawewat Dechaapinun (20)

Chapter 5 glazes defects
Chapter 5 glazes defectsChapter 5 glazes defects
Chapter 5 glazes defects
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
 
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณบทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
 
งานนำเสนอ7
งานนำเสนอ7งานนำเสนอ7
งานนำเสนอ7
 
งานนำเสนอ6
งานนำเสนอ6งานนำเสนอ6
งานนำเสนอ6
 
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5
 
งานนำเสนอ4
งานนำเสนอ4งานนำเสนอ4
งานนำเสนอ4
 
Chapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlChapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and control
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
Chapter 2.3 glaze calculations
Chapter 2.3 glaze calculationsChapter 2.3 glaze calculations
Chapter 2.3 glaze calculations
 
Chapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsChapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classifications
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
 

Chap 2 stoichiometry