SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
บทที่ 11
ปัญหาและแนวโน้มในการพัฒนาหลักสูตร
มโนทัศน์(Concept)
หลักสูตรมีที่มาจากการวิเคราะห์เชื่อมโยงข้อมูลพื้นฐานด้านต่างๆ ทั้งด้านปรัชญาการศึกษา
ด้านจิตวิทยา ด้านสังคม เศรษฐกิจ การเมือง ด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี ด้านสาขาวิชา เป็นต้น
นอกจากนี้ยังมีทฤษฎีหลักสูตรที่เกี่ยวข้องที่มาจากศาสตร์ในสาขาที่เกี่ยวข้อง จึงกล่าวได้
หลักสูตรมีที่มาจากความรู้ในหลากหลายสาขาวิชา
และผู้ที่มีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตรก็มาจากนักวิชาการหลากหลายสาขา
การพัฒนาหลักสูตรจึงเกี่ยวข้องกับองค์ประกอบดังกล่าวนี้
ในบทบาทของครูผู้สอนจะต้องให้ความสาคัญกับกระบวนการพัฒนาหลักสูตร
ปัญหาของการพัฒนาหลักสูตร
เกิดจากบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนการสอนไม่เข้าใจกระบวนการของการพัฒนาหลักสูตร
ผลการเรียนรู้(Learning Outcome)
1. มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาและแนวโน้มในการพัฒนาหลักสูตร
2. มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวโน้มในการพัฒนาหลักสูตร ในศตวรรษที่ 21
สาระเนื้อหา(Content)
ปัญหาและแนวโน้มของการพัฒนาหลักสูตร
1. ปัญหาของการพัฒนาหลักสูตร
ปัญหาของการพัฒนาหลักสูตร คือปัญหาที่เกิดขึ้นในกระบวนการพัฒนาหลักสูตร
ที่เป็นปัญหาอันเกิดจากการร่วมคิด ร่วมทา ร่วมกันสร้างหลักสูตร และร่วมกันนาหลักสูตรไปใช้
มีดังนี้
1. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาหลักสูตร ไม่เข้าใจบทบาทหน้าที่ของตน
2. ขาดการประสานงานหน้าที่ดีระหว่างหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาหลักสูตร
3. ผู้บริหารระดับต่างๆ เห็นว่าหลักสูตรเป็นหน้าที่ของหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยเฉพาะ
การพัฒนาหลักสูตร หน้า 2
4. ปัญหาการไม่เปลี่ยนแปลงการเรียนการสอนของครูตามแนวทางของหลักสูตร
5. ปัญหาการเผยแพร่หลักสูตร การสื่อสารทาความเข้าใจในหลักสูตรที่พัฒนาขึ้นใหม่
2. แนวโน้มของการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้ประสบความสาเร็จโดยสร้างความเข้มแข็งให้แก่ผู้เกี่ยวข้อ
ง โ ด ย เ ฉ พ า ะ ค รู ผู้ ส อ น
และผู้บริหารสถานศึกษาให้มีความเชี่ยวชาญในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาโดยความร่วมมือระห
ว่างสถานศึกษาที่มีบริบทใกล้เคียงกันตามมิติความต้องการจาเป็ นของแต่ละสถานศึ กษา
มีกิจกรรมร่วมมือกันในการให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกันด้านการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน
การพัฒ น าห ลัก สู ตร แ ละ กิจก รรมอื่ น ๆ ที่ส่ง ผลต่อ การพัฒ น าคุณ ภ าพ ผู้เรี ยน
ก า ร พั ฒ น า ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า
ซึ่งหมายถึงกระบวนการสร้างแผนหรือแนวทางในการจัดมวลประสบการณ์ที่จัดทาโดยบุคคลหรือค
ณะบุคคลในระดับสถานศึกษาเพื่อใช้พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถตามมาตรฐานการเรียนรู้
ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย
ส่วนที่เป็นหลักสูตรแกนกลางที่กาหนดจากส่วนกลางที่ปรากฏในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2544 และส่วนที่เกี่ยวกับสภาพชุมชนและท้องถิ่นซึ่งพัฒนาโดยเขตพื้นที่การศึกษา
และส่วน เพิ่มเติมที่สถานศึกษาพัฒน าขึ้น เพื่อให้สอดคล้องเห มาะ สมกับความสน ใจ
ความต้อง การและ ความถนั ดของ ผู้เรี ยน รวมทั้ งความเห มาะ ส มกับสภ าพ สัง คม
กระบวนการใช้หลักสูตรสถานศึกษาและการประเมินผลการใช้หลักสูตรสถานศึกษาโดยการศึกษาให้
มากขึ้นแนวโน้มการพัฒนาหลักสูตรในปัจจุบันมุ่งเน้นให้มีการพัฒนาหลักสูตรระดับท้องถิ่นมากขึ้น
และเปิดโอกาสให้แต่ละท้องถิ่นสามารถพัฒนาหลักสูตรให้เหมาะสมกับความต้องการและเอกลักษณ์
ประจาท้องถิ่นของตน เพื่อให้ผู้เรียนที่อยู่ในท้องถิ่นนั้น ๆ ได้รับประโยชน์อย่างแท้จริง
รวมทั้งยังเป็นการปลูกฝังให้ผู้เรียนมีความรักและความผูกพันกับท้องถิ่นของตนมากขึ้นด้วย(มสธ,
2536)
เมื่อกล่าวถึงแนวโน้มของการพัฒนาหลักสูตร มีประเด็นสาคัญเกี่ยวข้อง 2 ประเด็นคือ
ข้อมูลที่นามาเป็น พื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร กับการวิจัยทางการศึกษา โดยจะพบว่า
ในระยะเวลาประมาณ 10 ปี และจากการศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้องสรุปได้ดังนี้
รายงานการศึกษาวิจัยในช่วงทศวรรษ 1940 และ 1950 มุ่งศึกษา ตัวแปรทานาย
จากคุณสมบัติของครู มีความเชื่อว่าครูที่มีคุณสมบัติมีแนวโน้มที่จะสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนี้
การพัฒนาหลักสูตร หน้า 3
1) เสียง รูปร่างหน้าตา 2) ความมั่นคงทางอารมณ์ 3) ความน่าเชื่อถือ 4) ความอบอุ่น และ 5)
ความกระตือรือร้น
ต่อมาผลการศึกษาวิจัยความมีประสิทธิภาพของครู ในช่วงทศวรรษ 1960 และ 1970
ได้ข้อสรุปและเสนอแนะในการพัฒนาวิชาชีพด้วย การนิเทศแบบคลินิก (ClinicalSupervision)
เทคนิควิธีการสังเกตการสอนชั้นเรียน เป็นต้น
ต่ อ ม า ใ น ท ศ ว ร ร ษ 1 9 8 0 เ ม เ ด อ ลี น ฮั น เ ต อ ร์ ( Madeline Hunter)
และคณะมหาวิทยาลัยยูซีแอลเอใช้หลักทฤษฎีเป็นฐาน (Theory-based) ในการเรียนการสอน
สรุ ปได้ดังนี้ 1) การสอน มีรากฐาน มาจากทฤษฎีการเรียน รู้แบบพ ฤติกรรมนิ ยม 2)
การอนุมานจากแนวคิดในด้านการเรียนรู้ เช่น แรงจูงใจ (Motivation) ความทรงจา (Retention)
การถ่ายโอนความรู้ (Transfer) เป็นต้น
แ ล ะ ผ ล ก า ร ศึ ก ษ า วิ จั ย ใ น ช่ ว ง ท ศ ว ร ร ษ 1 9 8 0 แ ล ะ 1 9 9 0
การเปลี่ยนแปลงทัศนะการเรียนรู้แบบพฤติกรรมนิยม(Behaviorist) เป็นการเรียนรู้ด้วยปัญญา
(Cognitive Learning Theory)
สถานศึกษาใดที่มุ่งมั่นพัฒนาในด้านการประเมินที่มีประสิทธิภาพและการพัฒนาวิชาชีพการสอนจึงต้
อ ง เ ริ่ ม ด้ ว ย ก า ร ก า ห น ด ม า ต ร ฐ า น ก า ร ส อ น ซึ่ ง ส ะ ท้ อ น สิ่ ง ที่ ค รู ค ว ร รู้
ใ น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ห น่ ว ย ง า น ห รื อ อ ง ค์ ก ร วิ ช า ชี พ ค รู ที่ เ รี ย ก ว่า
คุรุ สภ าได้เสน อกฎห มายที่เกี่ยวข้องกับผู้บริ หาร ครู และ บุคลากรทางการศึกษ า
เพื่อให้มีความรู้สมรรถนะความสามารถในการจัดการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพ
ดังนั้น แน วโน้มของการพัฒนาห ลักสู ตรอาจพิจารณาได้จากผลการศึกษาวิจัย
และข้อมูลพื้นฐานด้านต่าง ๆ ที่นามาใช้การพัฒนาหลักสูตร
แนวโน้มของหลักสูตร
อ อ น ส ไ ต น์ ( Ornstein, Allan C. 1994 : 4-20)
ได้เส น อ แน วคิ ดเกี่ยวกับ แ น ว โน้ มข อง ห ลักสู ตรไ ว้ว่า ห ลัก สู ต รใ น อ น าค ต
เนื้ อห าวิช าจะ ถูกลดความส าคัญ ลง โดยเฉพ าะ เนื้ อห าวิช าที่ แยกแบบโดดเดี่ยว
แ ต่จ ะ มี ลั ก ษ ณ ะ ป ร ะ ส ม ป ร ะ ส า น ม า ก ขึ้ น แ ล ะ มี ลัก ษ ณ ะ เป็ น อ ง ค์ ร ว ม
ถึ ง แ ม้ ว่า ข อ บ ข่ า ย เนื้ อ ห า วิ ช า ใ น ห ลั ก สู ต ร แ บ บ ดั้ ง เ ดิ ม จ ะ ยั ง ค ง อ ยู่
แ ต่ จ ะ มี ลั ก ษ ณ ะ ก า ร บู ร ณ า ก า ร ข้ า ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ เ พิ่ ม ขึ้ น
ความรู้ไม่สามารถพิ จารณาใ น แง่มุมของ รายละเอียดปลีกย่อยหรื อความต่อเนื่ อง
การพัฒนาหลักสูตร หน้า 4
แต่จะมีความเป็ น ส ห วิท ยาการและ ห ลากห ลายมิติยิ่ง ขึ้น ความรู้จะ บูรณ าการกัน
ค ว า ม รู้ มี ม า ก ก ว่ า แ ห ล่ ง ค ว า ม รู้ ภ า พ แ ล ะ เ สี ย ง เ ท่ า นั้ น
และ มีความน่าเชื่ อถื อน้ อ ยจากสื่ อที่ เป็ น ก ารพูด และ การสื่ อ สารด้วยตัวอัก ษ ร
ออนสไตน์ได้สรุปไว้ว่าแนวโน้มของหลักสูตรมีดังต่อไปนี้
1.การศึกษาในรูปแบบอีเล็กทรอนิกส์ (Electronic Education) ความเจริญก้าวหน้าของ
วีดิทัศน์ สามารถน ามาใช้เป็ น เครื่ องมือใน การเรียน การสอน ได้ วีดิโอเทป คา สเสท
และดิสค์สามารถนามาใช้สอนได้ทั้งในห้องเรียน ห้องสมุด ศูนย์เรียนรู้ และที่บ้านของนักเรียน
วีดิทัศน์ มีความสะดวกที่นามาเรียน ได้ตลอดเวลา ซึ่งจะช่วยไม่ให้พลาดบทเรียน ไปได้
มี วี ดิ ทั ศ น์ บ ท เ รี ย น วิ ช า ต่ า ง มี จ า น ว น ม า ก นั บ เ ป็ น จ า น ว น พั น
นอกจากนี้โรงเรียนหลายแห่งและครูจานวนมากที่สามารถผลิตสื่อการสอนวิชาที่ตนเองรับผิดชอบใน
รูปของ วีดิทัศน์ จากความเจริญก้าวหน้าทางเทคโน โลยี สามารถที่จะ พิมพ์ วีดิทัศน์
หรือภ าพ จากจอภาพ ใ น รูปของ ภ าพ ถ่าย ตาราง กราฟ หรือรูปภาพ ใ น แบบต่าง ๆ
ลงในกระดาษสาหรับศึกษาต่อไปได้
วีดิทัศน์ยังสามารถนาใช้ผ่านระบบคอมพิวเตอร์ที่ช่วยให้สามารถเรียนได้ในลักษณะแบบจาล
องเหตุการณ์ที่เป็นจริง มีการโต้ตอบกัน สามารถนาเสนอได้เช่นเดียวกันกับการสอนให้ชั้นเรียน
บ ท เรี ย น ค อมพิ วเต อ ร์ ส ามารถ ใ ห้ ค าต อบ ถู ก ห รื อ ผิด ใ ห้ กับ ผู้เรี ยน ได้ทั น ที
ห รื อ ใ น ก ร ณี ที่ ผู้ เ รี ย น เ ลื อ ก ค า ต อ บ
โปรแกรมคอมพิวเตอร์สามารถให้ผู้เรียนเห็นคาตอบและสามารถเลือกทางเลือกที่กาหนดให้ปฏิบัติได้
ต า ม ที่ โ ป ร แ ก ร ม ก า ห น ด ไ ว้
นอกจากนี้วีดิทัศน์ยังสามารถใช้เป็นบทเรียนเรียนแบบรายบุคคลหรือแบบกลุ่มย่อยก็ได้
ความรู้ในรูปแบบอีเล็กทรอนิกส์นี้ยังสามารถจัดเก็บไว้ในสถานที่ที่ผู้เรียนสามารถเข้าถึงได้โ
ดยผ่านระบบเครือข่าย ใคร ๆ ก็สามารถเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศและสามารถใช้ประโยชน์ได้
2. ก า ร รู้ เ ท ค โ น โ ล ยี ( Technical Literycy)
โ ร ง เรี ย น ใ น ปั จ จุ บั น เห็ น ค ว าม ส าคั ญ ใ น วิ วัฒ น า ก าร ข อ ง เท ค โ น โ ล ยี
จึงได้ให้การศึกษากับบุคลากรเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ อีเล็กทรอนิกส์ เลเซอร์ และหุ่นยน ต์
การรู้คอมพิวเตอร์ (Computer Literacy) เป็นทักษะพื้นฐานเพิ่มขึ้นจากทักษะการอ่านออก เขียนได้
คิดเลขเป็น หรือรู้จักกันว่า 3Rs
ใน วิถีทางเศรษฐกิจที่ใช้เทคโน โลยีขั้น สู ง ผู้ปฏิบัติง าน ต้องมีการศึกษาที่ดี
ต้องมีปัญญาที่ดีกว่า มีทักษะการสื่อสารและการทางานเป็นทีม บ้านและที่ทางานจะมีเครื่องคิดเลข
ค อ ม พิ ว เต อ ร์ เ ค รื่ อ ง แ ฟ ก ซ์ แ ล ะ เ ค รื่ อ ง มื อ อี เล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ สิ่ ง ต่า ง ๆ
การพัฒนาหลักสูตร หน้า 5
เหล่านี้ จะนาสู่จุดวิกฤติของคนที่ไม่สามารถใช้เครื่องมืออุปกรณ์ต่าง ๆนี้ ให้ทางาน ได้
จึ ง มี ค ว า ม จ า เ ป็ น ที่ ภ า ค อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ล ะ รั ฐ บ า ล
จะได้ร่วมกันสร้างโรงเรียนหรือสถาบันการศึกษาที่มีหลักสูตรในการเตรียมคนเข้าสู่ตลาดแรงงานที่ใ
ช้เทคโนโลยีดังกล่าวนี้ ในอนาคตการศึกษาจะเป็นการสร้างนักวิทยาศาสตร์เพื่อที่จะสามารถออกแบบ
พัฒนาและประยุกต์เทคโนโลยีได้ในอนาคต
สมาคมครูวิทยาศาสตร์แห่งช าติ (The NationalScience Teachers Association : NSTA)
ได้อนุมัติหลักสูตรเรียกว่า Science/Technology/Society ซึ่งไม่ได้มุ่งเน้นเพียงวิทยาศาสตร์เท่านั้น
ห า ก แ ต่ ใ ห้ ค ว า ม ส า คั ญ กั บ สั ง ค ม แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี
ตัวอย่างหนึ่งของจุดประสงค์โปรแกรมนี้ก็เพื่อช่วยนักศึกษาจัดการกับผลกระทบของเทคโนโลยีในชีวิ
ตประจาวัน
ความจาเป็ น ที่จะต้องเพิ่มแผนพัฒน าแห่งชาติแบบมีส่วน ร่วม ของการศึกษา
อุ ต ส า ห ก ร ร มแ ล ะ รั ฐ บ าล ก าร ป ร ะ เมิ น ค ว ามต้ อ ง ก าร อ า ชี พ ใ น อ น าค ต
และแผนความร่วมมือกันของโรงเรียนหรือสถานศึกษา
3. ก า ร เ รี ย น รู้ ต ล อ ด ชี วิ ต ( Lifelong Learning)
แนวโน้มของการเรียนรู้ตลอดชีวิตเป็นความจาเป็นกับสังคมสมัยใหม่อันเป็นผลสืบเนื่องจากความรู้ที่
มี ม า ก ม า ย ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ข อ ง สั ง ค ม อ ย่ า ง ร ว ด เ ร็ ว
การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีและเศรษฐกิจที่มีผลต่อประชาชนในการประกอบอาชีพที่ปรับเปลี่ยน
ไ ป สู่ ก า ร พั ฒ น า ใ ห ม่ที่ มี ผ ล ต่ อ เ ป้ า ห ม า ย ข อ ง บุ ค ค ล แ ล ะ สั ง ค ม
การศึกษาจะมีความต่อเนื่ องตลอดชีวิตไม่ใช่เป็ น เพี ยงการศึกษาใน โรงเรียนเท่านั้ น
การศึกษาผู้ใหญ่จึงถูกคาดหวังเพิ่มขึ้นในปีคริสต์ศตวรรษที่ 1990s
4. ก า ร ศึ ก ษ า น า น า ช า ติ ( International Education)
สังคมอเมริกันถือได้ว่าความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาได้มาจากประเทศต่างๆ และได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับ
“ห มู่ บ้ า น โ ล ก ( global village)
กล่าวถึงมาตรฐานของการดารงชีวิตและเศรษฐกิจของชาติ(อเมริกัน)มีความเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ที่เกิ
ดขึ้นในที่อื่นๆ ของโลก
การสื่อสารผ่านดาวเทียมและบรรยากาศ รายการโทรทัศน์ เครือข่ายซุปเปอร์คอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีเลเซอร์ และการเดินทางด้วยเครื่องบิน เจ็ต ช่วยให้ดูเหมือนว่าโลกแคบลง
ความจาเป็นในการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศมีมากยิ่งขึ้น ภาษาพูดที่รู้จักกันส่วนใหญ่คือ
ภาษาจีน กลาง รองลงมาคือภาษาอังกฤษ ฮิน ดี และสเปน ภาษาญี่ปุ่ น (อัน ดับที่ 10)
การพัฒนาหลักสูตร หน้า 6
และภาษาเยอรมันและฝรั่งเศส การฝึกอบรมนักศึกษาในสหรัฐอเมริกาให้เรียนรู้ภาษาต่าง
ๆมีผลต่อความเจริญเติบโตทางด้านการค้าของสหรัฐอเมริกาและความเข้าใจในตลาดการค้าโลก
5.สิ่งแวดล้อมศึกษา (EnvironmentalEducation) ผลจากปัญหาต่างๆ อาทิ มลภาวะ น้าเสีย
ประชากรที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ภาวะทุพโภชนาการ และแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ เป็นต้น
ปั ญ ห า ต่ า ง ๆ
เหล่านี้นาไปสู่ความต้องการความรู้และโปรแกรมใหม่ในสาขาวิชานิเวศวิทยาและสิ่งแวดล้อมศึกษา
ถึ ง แ ม้ว่า เ ดิ ม ที มี วิ ช า ที่ เกี่ ย ว ข้ อ ง คื อ ธ ร ณี วิท ย า ชี ว วิ ท ย า ภู มิ ศ า ส ต ร์
แต่ความต้องการความรู้ที่มีความหมายและมีความสัมพันธ์กับการแก้ปัญหาชีวิตและความเป็นอยู่ของ
มวลมนุษย์ในยามคับขันหรือช่วงเวลาเร่งด่วน
โรงเรียน หรือสถาบัน การศึกษาควรได้ทาหน้ าที่เตรียมผู้เรี ยน สู่โลกอน าคต
โดยช่วยให้เข้าใจในปฏิสัมพันธ์ระหว่างวิทยาศาสตร์ สังคมและการเมืองว่าเป็นอย่างไร
ด้วยเหตุที่ว่าความรู้ที่มีอยู่ไม่มั่นใจว่าใช้ได้อย่างเหมาะสม หลักสูตรต้องให้เกิดเจตคติ คุณค่า
และ ค วามคิ ดเชิง จริ ยธรรม ที่ช่วยใ ห้ มีพ ฤ ติกรรมที่ รับ ผิดช อบ ต่อ สิ่ ง แ วดล้อ ม
การเรียนรู้เกี่ยวกับนิเวศวิทยาต้องการการมองโลกยุคใหม่แบบบูรณาการรู้ว่าอย่างไรที่เป็นการทาลาย
รู้ ว่ า วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ สั ง ค ม แ ล ะ ก า ร เ มื อ ง
จะนามาบูรณาการกันอย่างไรที่จะช่วยให้ลดปัญหาหรือนาไปสู่แนวทางการแก้ไข สิ่งต่างๆ
โรงเรียนในอนาคตจะต้องนาแนวคิดดังกล่าวข้างต้นนี้มาให้ผู้เรียนได้เรียนรู้โดยเฉพาะการศึกษาเกี่ยว
กับสิ่งแวดล้อม
6. ก า ร ศึ ก ษ า เ กี่ ย ว กั บ นิ ว เ ค ลี ย ร์ ( Nuclear Education)
ประเทศสหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียต รัสเซียถือว่าเป็ นประเทศที่เป็นผู้นาด้านนิวเคลียร์
น อ ก จ า ก นั้ น ป ร ะ เ ท ศ จี น เ ก า ห ลี เ ห นื อ เ ย อ ร มั น นี แ ล ะ ฝ รั่ ง เ ศ ส
นับได้ว่ามีการขายความรู้ด้านนิวเคลียร์ให้กับประเทศโลกที่สาม
การใช้พลังงานนิวเคลียร์ในทางสันติ ได้แก่โรงไฟฟ้า การใช้ประโยชน์ทางการแพทย์
ก า ร บ า บั ด ด้ ว ย ก า ร ฉ า ย รั ง สี
ความรู้เรื่องหลังงานนิวเคลียร์มีความจาเป็นว่าพลังงานดังกล่าวนี้มีผลกระทบต่ออากาศ อาหาร
และ น้ าอย่าง ไร กรณี ที่มีการรั่วไห ลจะ มีผลกระ ท บใน ขอบ เขตห่าง ไกลเพี ยงใ ด
และความเข้มข้นของรังสีที่เป็นอันตรายต่อมนุษย์ทั้งที่อยู่ใกล้และไกลออกไปนับพันไมล์
ดังนั้นหลักสูตรที่ให้ความสาคัญกับการศึกษาเกี่ยวกับนิวเคลียร์ถูกบรรจุไว้ในหลักสูตรโลกศึกษา(Glo
bally Oriented Curriculum)
การพัฒนาหลักสูตร หน้า 7
7. สุ ข ศึ ก ษ าแ ล ะ ก า รดู แ ล สุ ข ภ าพ ก า ย (Health Education and Physical Fitness)
แนวโน้มเกี่ยวกับสุขภาพของประชากรชาวอเมริกันจะต้องได้รับความรู้จากหลักสูตรใหม่ๆ
ตัวอย่างที่ชัดเจนคือนักการศึกษานาประเด็นเกี่ยวกับภูมิคุ้มกันบกพร่องที่รู้กันในชื่อว่า AIDS
(acquired immunodeficiency syndrome) นามาให้ความรู้กับผู้เรียน บรรจุเป็นเรื่องหนึ่งในหลักสูตร
ถึงแม้ว่าในสังคมอมริกันประชากรวัยผู้ใหญ่มีนิสัยรักการออกกาลังกายเพื่อสุขภาพด้วยการเล่
น กี ฬ า แ ล ะ ก า ร ดู แ ล สุ ข ภ า พ ร่ า ง ก า ย ( Fitness)
จุดประสงค์เบื้องต้นของโปรแกรมมุ่งให้มีความสนุกสนานและด้านการสังคมในกิจกรรมกีฬา
ไม่ได้มุ่งการแข่งขันเพื่อชัยชนะ มุ่งเพียงให้เป็นพฤติกรรมการออกกาลังกายเป็นสาคัญ
8.ก า ร ศึ ก ษ า ต่ า ง ด้ า ว ( Immigrant Education)
สังคมอเมริกัน หลังสงครามโลกครั้งที่สองมีชาวต่างด้าวเข้ามาอาศัยอยู่เป็ น จานวนมาก
นัยสาคัญของคน ต่างด้าวจานวน มากมาจากครอบครัวที่เรียกว่า “ยากจน(structurally poor)”
เด็กที่มาจากประเทศต่าง ๆ จะถูกตีตราว่า “ด้อยความสามารถในการเรียนรู้(learningdisabled or
“slow”
เพื่อช่วยให้คนต่างด้าวที่เข้ามาใหม่นักการศึกษาให้คาแนะนาว่าโรงเรียนควรได้จัดหลักสูตรสองภาษา
( Bilingual programs)
หลักสูตรพหุวัฒนธรรมจะช่วยให้เด็กต่างด้าวได้เรียนรู้และอยู่ในสังคมใหม่ได้ดียิ่งขึ้น
9. ภู มิ ศ า ส ต ร์ ย้ อ น ก ลั บ ( The Return of Geography)
การศึกษาเกี่ยวกับเรื่องนี้ เป็ นผลมาจากการตีพิมพ์หนังสือชื่อ Nation atRisk ในปี ค.ศ.1983
เด็กอเมริกัน จะ ได้เรียน รู้เรื่อง ราวเกี่ยวโลกรอบ ตัวเรา รวมถึงภูมิศาสตร์พื้ น ฐาน
มีการทบทวน สาระสาคัญทางภูมิศาสตร์ อาทิเรื่อง back tobasic, การเรียน รู้วัฒนธรรม
นิ เ ว ศ วิ ท ย า ศึ ก ษ า แ ล ะ โ ล ก ศึ ก ษ า เ รื่ อ ง ร า ว ต่ า ง ๆ
ที่ศึกษาเล่าเรียนจะเป็นพลังขับเคลื่อนให้รู้จักบทบาทของตนเองเพิ่มยิ่งขึ้น
10.การศึกษาในช่วงเกรดกลาง (Middle-Grade Education) ผู้เรียนที่อายุระหว่าง 10–15 ปี
ซึ่ ง เป็ น วัย ที่ เป ลี่ ย น แ ป ล ง ค ว ามเจ ริ ญ เติ บ โต แ ล ะ พั ฒ น า ก ารอ ย่าง รว ด เร็ ว
การศึกษาที่จัดให้เป็นการศึกษาเกี่ยวกับ ก่อนจะเป็นวัยรุ่น(Preadolescents) และวัยรุ่นตอนต้น(early
adolescents) เ มื่ อ เ ป รี ย บ เ ที ย บ กั บ โ ร ง เ รี ย น มั ธ ย ม ( secondary school)
โรงเรียนเกรดกลางมุ่งให้ความสาคัญกับการเรียนรู้สังคมหรือสังคมประกิต( Socialization)
ไม่เน้นวิชาการ แต่ให้ความสาคัญกับ intramuralsport แต่ก็ไม่เน้น interscholastic or competitive
sports ถึ ง แ ม้ ว่ า โ ร ง เ รี ย น เ ก ร ด ก ล า ง จ ะ มี อ ยู่ โ ด ย ทั่ ว ไ ป
แต่ห ลัก สู ต รใ ห ม่ที่ เห ม าะ ส ม กับ ก ลุ่ม เด็ ก ดัง ก ล่าวนี้ จ าเป็ น ต้อ ง พั ฒ น าขึ้ น
การพัฒนาหลักสูตร หน้า 8
ก า ร พั ฒ น า ค รู ผู้ ส อ น จ ะ ต้ อ ง ป รั บ เ ป ลี่ ย น
โปรแกรมการพัฒน าครูจะต้องมีความแตกต่างจากครูประถมศึกษาและมัธยมศึกษา
ใ น อ น า ค ต ส ถ า บั น ก า ร ผ ลิ ต ค รู จ ะ ต้ อ ง มุ่ ง พั ฒ น า ค ว า ม รู้
ทักษะที่จาเป็นสาหรับการสอนโรงเรียนเกรดกลาง(Middle school)
11. ก า ร ศึ ก ษ า ส า ห รั บ ผู้ สู ง อ า ยุ ( Aging Education)
สั ง ค ม ปั จ จุ บั น จ า น ว น ป ร ะ ช า ก ร ผู้ สู ง อ า ยุ เ พิ่ ม ขึ้ น อ ย่ า ง ร ว ด เ ร็ ว
นักการศึกษามีความเชื่อว่าโรงเรียนจะต้องสอนให้ผู้เรียนเข้าใจปัญหาและความคาดหวังของผู้สูงอายุ
และช่วยให้มีความรักต่อผู้สูงอายุ(ทั้งพ่อแม่และปู่ย่าตายาย)
ในโรงเรียนจะต้องประสมประสานผู้สูงอายุทั้งผู้ที่มีความประสงค์จะเกษียณอายุและผู้เกษียณ
อายุจากง าน ป ระ จามาช่วยง าน ใ น โรง เรี ยน ใ น รูป แบบ อาส าสมัคร ผู้ช่วยสอ น
และแหล่งทรัพยากรบุคคลในการเรียนรู้
12.ธุ รกิจการศึกษา(For-ProfitEducation) โรงเรียน หรือสถาน ศึกษารูปแบบต่าง
ๆเกิดขึ้น มากมาย ทั้งใน รูปแบบของเอกชน และห น่วยงาน ที่ตั้งขึ้น เฉพ าะกิจ อาทิ
สถาน เลี้ยงเด็กเล็ก(nursery) ศูน ย์รับเลี้ยงเด็กช่วงเวลากลางวัน และช่วงหลังเลิกเรียน
ศู น ย์ กี ฬ า แ ล ะ โ ค ช เ อ ก ช น ศู น ย์ ติ ว เ ต อ ร์ แ ฟ ร น ไ ช ส์
วิทยาลัยเอกชนเพื่อให้บริการแนะแนว(ในการเลือกมหาวิทยาลัย) สถาบันติวเตอร์สอบ SAT
แ ล ะ ก า ร ท ด ส อ บ เ พื่ อ ข อ รั บ ใ น รั บ ร อ ง ป ร ะ ก อ บ วิ ช า ชี พ
ทั้งหมดที่กล่าวมานี้เป็นการนาการศึกษาเข้าสู่ตลาดการค้าที่มีการเก็บค่าธรรมเนียมในการศึกษา
จากผู้เรียนโดยตรง
13.การศึกษาเพื่ออนาคต (FuturisticEducation) จากงานเขียนของทอฟเลอร์(Toffler 1970)
ที่กล่าวถึงอนาคตว่ามีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วไม่สามารถที่กาหนดขอบข่ายของการเปลี่ยนแปลง
ไ ด้ เ ล ย นั้ น จึ ง น า ม า เ ป็ น ห ลั ก ก า ร ข อ ง ค ว า ม มุ่ง ห ม า ย ก า ร ศึ ก ษ า
ที่จะต้องเพิ่มขีดความสามารถของผู้เรียนแต่ละคนเพื่อที่ผู้เรียนแต่ละคนสามารถปรับตัวเข้ากับการเปลี่
ยนแปลงที่ต่อเนื่อง
แนวทางหนึ่งในการเตรียมตัวผู้เรียนในอนาคตก็คือช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง
โปรแกรมหรือรายวิชาใหม่จะถูกเรียกว่า การศึกษาเล่าเรียนเพื่ออนาคต( Futuristic studies)
จ ะ เ ริ่ ม ใ น ร ะ ดั บ อุ ด ม ศึ ก ษ า แ ล ะ มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ใ น โ อ ก า ส ต่ อ ไ ป
สาระสาคัญของการศึกษาดังกล่าวนี้พิจารณาจากความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและสถานการณ์ใ
นสังคมโดยไม่มีการแบ่งแยก แต่เป็ นทั้งสององค์ประกอบที่ช่วยในการตัดใจใน อนาคต
โ ด ย ทั่ ว ไ ป ก า ร ม อ ง อ น า ค ต ไ ม่ ใ ช่ ภ า ร กิ จ ที่ เ ล็ ก ๆ
การพัฒนาหลักสูตร หน้า 9
แต่เป็นการนาเสนออนาคตที่มีจุดประสงค์การเรียนรู้โดยปกติทั่วไปที่ช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และนาไ
ปใช้โดยปรับให้เหมาะสมกับตนเองในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
นักการศึกษาได้นาเสนอแน วคิดเกี่ยวกับทักษะที่จาเป็ นในอน าคตที่เรียกกัน ว่า
ทั ก ษ ะ ใ น ศ ต ว ร ร ษ ที่ 21
หลักสูตรหรือรายวิชาที่เรียนก็ควรที่จะได้พิจารณาให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ตามมาตรฐานดังกล่าวนี้
หลักสูตรต้องวางแผนเพื่อการบรรลุทักษะในศตวรรษที่ 21
ในปี 1983 สมาคมการพัฒนาหลักสูตรและการนิเทศ (Associationfor Supervision and
curriculum development :ASCD) ได้เผยแพร่บทความวิจัย ของ Benjamin I.Troutman and Robert
D.Palombo เรื่อง IdentifyingFutures Trendsin Curriculum Planning โดยศึกษาจากกลุ่มตัวอย่าง 36
ค น จ า ก โ ร ง เ รี ย น Virginia Beach Public Schools ข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ ส รุ ป ไ ด้ ว่ า
ในอนาคตวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจะเป็นตัวชี้การเปลี่ยนแปลงหลักสูตร อันเป็ นผลจาก
การขยายความรู้ที่เป็ น ไปอย่างรวดเร็ว และความรู้มีความเป็ นศาสตร์เฉพาะการเพิ่มขึ้น
ซึ่ ง มี ก า ร ศึ ก ษ า ผ ล ต่ อ ห ลั ก สู ต ร ใ น 3 ป ร ะ เ ด็ น คื อ 1)
ค ว า ม เ ป็ น ค ว า ม รู้ ที่ ร่ ว ม กั น ข อ ง วิ ท ย า ก า ร ที่ เ จ ริ ญ ก้ า ว ห น้ า 2)
ความสมดุลระหว่างความยากลาบากในการได้มาของข้อเท็จจริงกับการพัฒนาทักษะกระบวนการ 3)
เอกสารความรู้ที่ใช้เป็นแหล่งความรู้ในหลักสูตร จากขอบข่ายดังกล่าวนี้กลุ่มตัวอย่างจากโรงเรียน
VirginiaBeachPublicSchools ให้ความเห็นว่าแนวโน้มในอนาคตที่มีผลต่อการวางแผนหลักสูตรมี
15 ประเด็น คือ
1. ทักษะพื้นฐานทางวิชาการ(Basic AcademicSkills)จะต้องให้ความสาคัญเพิ่มขึ้นกับ
ทักษะการสื่อสาร คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ โดยเฉพาะหลักสูตรอาชีวศึกษา
2. คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศอื่น ๆ (ComputersandOther Information
Technologies) ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เ ท ศ อื่ น ๆ
มีรวมกันเป็นหนึ่งเดียวกันแล้วอุปมาดั่งเช่นเป็นพาหนะขับเคลื่อนการศึกษาสาหรับผู้เรียนทุกคน
การพัฒนาแผนสาหรับการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมในระบบโรงเรียน Virginia Beach
Public Schools ตั้งแต่อนุบาลถึงเกรดสิบสอง
3. ค ว า ม ยื ด ห ยุ่ น ข อ ง ห ลั ก สู ต ร ( Curriculum Flexibility)
ให้โอกาสอันยิ่งใหญ่ที่มั่งคั่งสมบูรณ์และรวดเร็วจากหลักสูตร สาหรับอนุบาลถึงเกรดสิบสอง
การพัฒนาหลักสูตร หน้า 10
4. ก า ร ท บ ท ว น ห ลั ก สู ต ร ( Curriculum Revision)
พั ฒ น า แ ผ น ป ฏิ บั ติ ก า ร ที่ แ น่ ใ จ ว่า ส า ม า ร ถ ด า เ นิ น ก า ร ต่ อ ไ ป ไ ด้
หลักสูตรได้รับการทบทวนและมีการประเมินอย่างเป็นระบบ
5. ค ว า ม เ ป็ น ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย ( Democratic Ideals)
ทาความเข้าใจและให้ความสาคัญกับกระบวนการประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม
6. โ ป ร แ ก ร ม ส า ห รั บ เ ด็ ก เ ล็ ก ( Early Childhood Programs)
ข ย า ย โ ป ร แ ก ร ม ส า ห รั บ เ ด็ ก เ ล็ ก ( เ ด็ ก ก่ อ น อ นุ บ า ล )
ที่ให้ความสาคัญกับการพัฒนาประสบการณ์การเรียนรู้
7. การมองอนาคต (FuturesPerspective) การรวมขอบเขตสาระเป็นหลักสูตรเดียว
โดยสิ่งต่าง ๆ เหล่านั้นเป็นประเด็นสะท้อนและอธิบายประเด็นร่วมสมัย แนวโน้มอนาคต
และความสัมพันธ์ระหว่างปัจจุบันกับเหตุการณ์ที่ผ่านไปและทางเลือกในอนาคต
8. สั ม พั น ธ ภ า พ ร ะ ดั บ ส า ก ล ( Global Interrelationships)
ให้ความสาคัญ กับมุมมองของ ความสัมพัน ธ์ ระ หว่าง เศรษฐกิจ และ วัฒน ธรรม -
ชาติพันธุ์ของมนุษย์ที่หลักสูตรต้องมีความหลากหลาย
9. ก า ร เ รี ย น รู้ ต ล อ ด ชี วิ ต ( Lifelong Learning)
ขยายโอกาสสาหรับสมาชิกของชุมชนในเขตพื้นที่บริการของโรงเรียนที่สนใจเรียนรู้ในรูปแบบกิจกร
รมการเรียนรู้ตลอดชีวิต
10. สื่อมวลชน(MassMedia) ให้ความสาคัญกับทักษะในการวิเคราะห์วิจารณ์ การฟัง
และการดู ที่เกี่ยวข้องกับการแปลความหมายจากสื่อ
11. ก า ร เ ติ ม เ ต็ ม บุ ค ลิ ก ภ า พ ( Personal Fulfillment)
โร ง เรี ย น เป็ น ส ถ าน ที่ อั น ยิ่ ง ใ ห ญ่ ที่ จ ะ ส ร้ าง ค ว าม คิ ด ต่อ ต น เอ ง เชิ ง บ ว ก
และพัฒนาสัมพันธภาพระหว่างบุคคล
12. การประยุกต์กระบวน การ (Process Approach) หลักสูตรมุ่งที่การแก้ปัญหา
การตัดสินใจ ความคิดสร้างสรรค์ และทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะการนาไปใช้ การวิเคราะห์
สังเคราะห์ และประเมินค่า
13. การพัฒ น าที มงาน (Staff Development) เพิ่ มโอกาสใ ห้พัฒ น าที มงาน
โดยเฉพาะเรื่องเกี่ยวกับเทคโนโลยี
14. ใ ช้ ชุ ม ช น ( Use of Community)
เพิ่มบทบาทของผู้ปกครองและแหล่งเรียน รู้ในชุมชน ใน การจัดโปรแกรมการศึกษา
เชื่อมโยงการเรียนรู้ในชั้นเรียนกับประสบการณ์ในชุมชน
การพัฒนาหลักสูตร หน้า 11
15. ก า ร อ า ชี ว แ ล ะ อ า ชี พ ศึ ก ษ า ( Vocational and Career Education)
แน่ใจว่าการศึกษาอาชีวและอาชีพสะท้อนการเปลี่ยนแปลงมโนทัศน์ในการทางานและสร้างแรงบันด
าลใจให้กับผู้เรียน
สรุป(Summary)
ปัญหาและแนวโน้มการพัฒนาหลักสูตรพิจารณาได้จากข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
ที่ถูกรวบรวมวิเคราะห์เชื่อมโยงเป็นชุดของจุดประสงค์การเรียนรู้ ที่ใช้ในการวางแผนพัฒนาหลักสูตร
และนาไปออกแบบหลักสูตร โดยการอธิบายเหตุผลการได้มาของสาระความรู้ในหลักสูตร
ที่ มี เ ห ตุ ผ ล ป ร ะ ก อ บ ห ลั ก วิ ช า โ ด ย อ า ศั ย ท ฤ ษ ฎี ก า ร เ รี ย น รู้ ต่ า ง ๆ
และนักพัฒนาหลักสูตรนามากาหนดเป้าหมายการพัฒนาผู้เรียน กาหนดสาระเนื้อหาและผลการเรียนรู้
ข้อมูลต่างๆ เหล่านี้สามารถเป็นแนวทางช่วยให้อธิบายแนวโน้มของหลักสูตรได้
ตรวจสอบทบทวน(Self-Test)
1. ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรเกี่ยวข้องกับปัญหาและแนวโน้มของหลักสูตรได้
หรือไม่อย่างไร ข้อมูลพื้นฐานด้านใดที่เป็นปัญหาและแนวโน้มที่มีผลต่อหลักสูตรมากที่สุด
2. ข้อมูลที่ได้จากการวิจัย และประเมินหลักสูตรเป็นตัวชี้นา หรือเป็นปัจจัยสาคัญที่มี
อิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงหลักสูตรในอนาคต ได้หรือไม่ มากน้อยเพียงใด
กิจกรรม(Activity)
1. สืบค้นจากหนังสือหรือในระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เรื่อง ปัญหาและแนวโน้มของ
หลักสูตร
2. ศึกษาทาความเข้าใจเพิ่มเติมจากวิจารณ์ พานิช. วิถีการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
กรุงเทพฯ : มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์ 2555.
การพัฒนาหลักสูตร หน้า 12

More Related Content

What's hot

Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
การผลิตสื่อวีดิทัศน์บรรยายเนื้อหา
การผลิตสื่อวีดิทัศน์บรรยายเนื้อหาการผลิตสื่อวีดิทัศน์บรรยายเนื้อหา
การผลิตสื่อวีดิทัศน์บรรยายเนื้อหาKittipun Udomseth
 
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้Aon Onuma
 

What's hot (8)

Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
การผลิตสื่อวีดิทัศน์บรรยายเนื้อหา
การผลิตสื่อวีดิทัศน์บรรยายเนื้อหาการผลิตสื่อวีดิทัศน์บรรยายเนื้อหา
การผลิตสื่อวีดิทัศน์บรรยายเนื้อหา
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
 

Similar to บทที่ 11

บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11kanwan0429
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่Ailada_oa
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1Ailada_oa
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7benty2443
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7nattawad147
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524gam030
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7wanneemayss
 

Similar to บทที่ 11 (20)

บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
project
projectproject
project
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
Ch 2
Ch 2Ch 2
Ch 2
 

More from wanneemayss

บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9wanneemayss
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8wanneemayss
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7wanneemayss
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6wanneemayss
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5wanneemayss
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4wanneemayss
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1wanneemayss
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2wanneemayss
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรมwanneemayss
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10wanneemayss
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9wanneemayss
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8wanneemayss
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6wanneemayss
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5wanneemayss
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4wanneemayss
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3wanneemayss
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2wanneemayss
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1wanneemayss
 

More from wanneemayss (19)

บท11
บท11บท11
บท11
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 

บทที่ 11

  • 1. บทที่ 11 ปัญหาและแนวโน้มในการพัฒนาหลักสูตร มโนทัศน์(Concept) หลักสูตรมีที่มาจากการวิเคราะห์เชื่อมโยงข้อมูลพื้นฐานด้านต่างๆ ทั้งด้านปรัชญาการศึกษา ด้านจิตวิทยา ด้านสังคม เศรษฐกิจ การเมือง ด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี ด้านสาขาวิชา เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีทฤษฎีหลักสูตรที่เกี่ยวข้องที่มาจากศาสตร์ในสาขาที่เกี่ยวข้อง จึงกล่าวได้ หลักสูตรมีที่มาจากความรู้ในหลากหลายสาขาวิชา และผู้ที่มีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตรก็มาจากนักวิชาการหลากหลายสาขา การพัฒนาหลักสูตรจึงเกี่ยวข้องกับองค์ประกอบดังกล่าวนี้ ในบทบาทของครูผู้สอนจะต้องให้ความสาคัญกับกระบวนการพัฒนาหลักสูตร ปัญหาของการพัฒนาหลักสูตร เกิดจากบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนการสอนไม่เข้าใจกระบวนการของการพัฒนาหลักสูตร ผลการเรียนรู้(Learning Outcome) 1. มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาและแนวโน้มในการพัฒนาหลักสูตร 2. มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวโน้มในการพัฒนาหลักสูตร ในศตวรรษที่ 21 สาระเนื้อหา(Content) ปัญหาและแนวโน้มของการพัฒนาหลักสูตร 1. ปัญหาของการพัฒนาหลักสูตร ปัญหาของการพัฒนาหลักสูตร คือปัญหาที่เกิดขึ้นในกระบวนการพัฒนาหลักสูตร ที่เป็นปัญหาอันเกิดจากการร่วมคิด ร่วมทา ร่วมกันสร้างหลักสูตร และร่วมกันนาหลักสูตรไปใช้ มีดังนี้ 1. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาหลักสูตร ไม่เข้าใจบทบาทหน้าที่ของตน 2. ขาดการประสานงานหน้าที่ดีระหว่างหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาหลักสูตร 3. ผู้บริหารระดับต่างๆ เห็นว่าหลักสูตรเป็นหน้าที่ของหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยเฉพาะ
  • 2. การพัฒนาหลักสูตร หน้า 2 4. ปัญหาการไม่เปลี่ยนแปลงการเรียนการสอนของครูตามแนวทางของหลักสูตร 5. ปัญหาการเผยแพร่หลักสูตร การสื่อสารทาความเข้าใจในหลักสูตรที่พัฒนาขึ้นใหม่ 2. แนวโน้มของการพัฒนาหลักสูตร การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้ประสบความสาเร็จโดยสร้างความเข้มแข็งให้แก่ผู้เกี่ยวข้อ ง โ ด ย เ ฉ พ า ะ ค รู ผู้ ส อ น และผู้บริหารสถานศึกษาให้มีความเชี่ยวชาญในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาโดยความร่วมมือระห ว่างสถานศึกษาที่มีบริบทใกล้เคียงกันตามมิติความต้องการจาเป็ นของแต่ละสถานศึ กษา มีกิจกรรมร่วมมือกันในการให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกันด้านการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน การพัฒ น าห ลัก สู ตร แ ละ กิจก รรมอื่ น ๆ ที่ส่ง ผลต่อ การพัฒ น าคุณ ภ าพ ผู้เรี ยน ก า ร พั ฒ น า ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า ซึ่งหมายถึงกระบวนการสร้างแผนหรือแนวทางในการจัดมวลประสบการณ์ที่จัดทาโดยบุคคลหรือค ณะบุคคลในระดับสถานศึกษาเพื่อใช้พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถตามมาตรฐานการเรียนรู้ ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย ส่วนที่เป็นหลักสูตรแกนกลางที่กาหนดจากส่วนกลางที่ปรากฏในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 และส่วนที่เกี่ยวกับสภาพชุมชนและท้องถิ่นซึ่งพัฒนาโดยเขตพื้นที่การศึกษา และส่วน เพิ่มเติมที่สถานศึกษาพัฒน าขึ้น เพื่อให้สอดคล้องเห มาะ สมกับความสน ใจ ความต้อง การและ ความถนั ดของ ผู้เรี ยน รวมทั้ งความเห มาะ ส มกับสภ าพ สัง คม กระบวนการใช้หลักสูตรสถานศึกษาและการประเมินผลการใช้หลักสูตรสถานศึกษาโดยการศึกษาให้ มากขึ้นแนวโน้มการพัฒนาหลักสูตรในปัจจุบันมุ่งเน้นให้มีการพัฒนาหลักสูตรระดับท้องถิ่นมากขึ้น และเปิดโอกาสให้แต่ละท้องถิ่นสามารถพัฒนาหลักสูตรให้เหมาะสมกับความต้องการและเอกลักษณ์ ประจาท้องถิ่นของตน เพื่อให้ผู้เรียนที่อยู่ในท้องถิ่นนั้น ๆ ได้รับประโยชน์อย่างแท้จริง รวมทั้งยังเป็นการปลูกฝังให้ผู้เรียนมีความรักและความผูกพันกับท้องถิ่นของตนมากขึ้นด้วย(มสธ, 2536) เมื่อกล่าวถึงแนวโน้มของการพัฒนาหลักสูตร มีประเด็นสาคัญเกี่ยวข้อง 2 ประเด็นคือ ข้อมูลที่นามาเป็น พื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร กับการวิจัยทางการศึกษา โดยจะพบว่า ในระยะเวลาประมาณ 10 ปี และจากการศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้องสรุปได้ดังนี้ รายงานการศึกษาวิจัยในช่วงทศวรรษ 1940 และ 1950 มุ่งศึกษา ตัวแปรทานาย จากคุณสมบัติของครู มีความเชื่อว่าครูที่มีคุณสมบัติมีแนวโน้มที่จะสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนี้
  • 3. การพัฒนาหลักสูตร หน้า 3 1) เสียง รูปร่างหน้าตา 2) ความมั่นคงทางอารมณ์ 3) ความน่าเชื่อถือ 4) ความอบอุ่น และ 5) ความกระตือรือร้น ต่อมาผลการศึกษาวิจัยความมีประสิทธิภาพของครู ในช่วงทศวรรษ 1960 และ 1970 ได้ข้อสรุปและเสนอแนะในการพัฒนาวิชาชีพด้วย การนิเทศแบบคลินิก (ClinicalSupervision) เทคนิควิธีการสังเกตการสอนชั้นเรียน เป็นต้น ต่ อ ม า ใ น ท ศ ว ร ร ษ 1 9 8 0 เ ม เ ด อ ลี น ฮั น เ ต อ ร์ ( Madeline Hunter) และคณะมหาวิทยาลัยยูซีแอลเอใช้หลักทฤษฎีเป็นฐาน (Theory-based) ในการเรียนการสอน สรุ ปได้ดังนี้ 1) การสอน มีรากฐาน มาจากทฤษฎีการเรียน รู้แบบพ ฤติกรรมนิ ยม 2) การอนุมานจากแนวคิดในด้านการเรียนรู้ เช่น แรงจูงใจ (Motivation) ความทรงจา (Retention) การถ่ายโอนความรู้ (Transfer) เป็นต้น แ ล ะ ผ ล ก า ร ศึ ก ษ า วิ จั ย ใ น ช่ ว ง ท ศ ว ร ร ษ 1 9 8 0 แ ล ะ 1 9 9 0 การเปลี่ยนแปลงทัศนะการเรียนรู้แบบพฤติกรรมนิยม(Behaviorist) เป็นการเรียนรู้ด้วยปัญญา (Cognitive Learning Theory) สถานศึกษาใดที่มุ่งมั่นพัฒนาในด้านการประเมินที่มีประสิทธิภาพและการพัฒนาวิชาชีพการสอนจึงต้ อ ง เ ริ่ ม ด้ ว ย ก า ร ก า ห น ด ม า ต ร ฐ า น ก า ร ส อ น ซึ่ ง ส ะ ท้ อ น สิ่ ง ที่ ค รู ค ว ร รู้ ใ น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ห น่ ว ย ง า น ห รื อ อ ง ค์ ก ร วิ ช า ชี พ ค รู ที่ เ รี ย ก ว่า คุรุ สภ าได้เสน อกฎห มายที่เกี่ยวข้องกับผู้บริ หาร ครู และ บุคลากรทางการศึกษ า เพื่อให้มีความรู้สมรรถนะความสามารถในการจัดการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพ ดังนั้น แน วโน้มของการพัฒนาห ลักสู ตรอาจพิจารณาได้จากผลการศึกษาวิจัย และข้อมูลพื้นฐานด้านต่าง ๆ ที่นามาใช้การพัฒนาหลักสูตร แนวโน้มของหลักสูตร อ อ น ส ไ ต น์ ( Ornstein, Allan C. 1994 : 4-20) ได้เส น อ แน วคิ ดเกี่ยวกับ แ น ว โน้ มข อง ห ลักสู ตรไ ว้ว่า ห ลัก สู ต รใ น อ น าค ต เนื้ อห าวิช าจะ ถูกลดความส าคัญ ลง โดยเฉพ าะ เนื้ อห าวิช าที่ แยกแบบโดดเดี่ยว แ ต่จ ะ มี ลั ก ษ ณ ะ ป ร ะ ส ม ป ร ะ ส า น ม า ก ขึ้ น แ ล ะ มี ลัก ษ ณ ะ เป็ น อ ง ค์ ร ว ม ถึ ง แ ม้ ว่า ข อ บ ข่ า ย เนื้ อ ห า วิ ช า ใ น ห ลั ก สู ต ร แ บ บ ดั้ ง เ ดิ ม จ ะ ยั ง ค ง อ ยู่ แ ต่ จ ะ มี ลั ก ษ ณ ะ ก า ร บู ร ณ า ก า ร ข้ า ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ เ พิ่ ม ขึ้ น ความรู้ไม่สามารถพิ จารณาใ น แง่มุมของ รายละเอียดปลีกย่อยหรื อความต่อเนื่ อง
  • 4. การพัฒนาหลักสูตร หน้า 4 แต่จะมีความเป็ น ส ห วิท ยาการและ ห ลากห ลายมิติยิ่ง ขึ้น ความรู้จะ บูรณ าการกัน ค ว า ม รู้ มี ม า ก ก ว่ า แ ห ล่ ง ค ว า ม รู้ ภ า พ แ ล ะ เ สี ย ง เ ท่ า นั้ น และ มีความน่าเชื่ อถื อน้ อ ยจากสื่ อที่ เป็ น ก ารพูด และ การสื่ อ สารด้วยตัวอัก ษ ร ออนสไตน์ได้สรุปไว้ว่าแนวโน้มของหลักสูตรมีดังต่อไปนี้ 1.การศึกษาในรูปแบบอีเล็กทรอนิกส์ (Electronic Education) ความเจริญก้าวหน้าของ วีดิทัศน์ สามารถน ามาใช้เป็ น เครื่ องมือใน การเรียน การสอน ได้ วีดิโอเทป คา สเสท และดิสค์สามารถนามาใช้สอนได้ทั้งในห้องเรียน ห้องสมุด ศูนย์เรียนรู้ และที่บ้านของนักเรียน วีดิทัศน์ มีความสะดวกที่นามาเรียน ได้ตลอดเวลา ซึ่งจะช่วยไม่ให้พลาดบทเรียน ไปได้ มี วี ดิ ทั ศ น์ บ ท เ รี ย น วิ ช า ต่ า ง มี จ า น ว น ม า ก นั บ เ ป็ น จ า น ว น พั น นอกจากนี้โรงเรียนหลายแห่งและครูจานวนมากที่สามารถผลิตสื่อการสอนวิชาที่ตนเองรับผิดชอบใน รูปของ วีดิทัศน์ จากความเจริญก้าวหน้าทางเทคโน โลยี สามารถที่จะ พิมพ์ วีดิทัศน์ หรือภ าพ จากจอภาพ ใ น รูปของ ภ าพ ถ่าย ตาราง กราฟ หรือรูปภาพ ใ น แบบต่าง ๆ ลงในกระดาษสาหรับศึกษาต่อไปได้ วีดิทัศน์ยังสามารถนาใช้ผ่านระบบคอมพิวเตอร์ที่ช่วยให้สามารถเรียนได้ในลักษณะแบบจาล องเหตุการณ์ที่เป็นจริง มีการโต้ตอบกัน สามารถนาเสนอได้เช่นเดียวกันกับการสอนให้ชั้นเรียน บ ท เรี ย น ค อมพิ วเต อ ร์ ส ามารถ ใ ห้ ค าต อบ ถู ก ห รื อ ผิด ใ ห้ กับ ผู้เรี ยน ได้ทั น ที ห รื อ ใ น ก ร ณี ที่ ผู้ เ รี ย น เ ลื อ ก ค า ต อ บ โปรแกรมคอมพิวเตอร์สามารถให้ผู้เรียนเห็นคาตอบและสามารถเลือกทางเลือกที่กาหนดให้ปฏิบัติได้ ต า ม ที่ โ ป ร แ ก ร ม ก า ห น ด ไ ว้ นอกจากนี้วีดิทัศน์ยังสามารถใช้เป็นบทเรียนเรียนแบบรายบุคคลหรือแบบกลุ่มย่อยก็ได้ ความรู้ในรูปแบบอีเล็กทรอนิกส์นี้ยังสามารถจัดเก็บไว้ในสถานที่ที่ผู้เรียนสามารถเข้าถึงได้โ ดยผ่านระบบเครือข่าย ใคร ๆ ก็สามารถเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศและสามารถใช้ประโยชน์ได้ 2. ก า ร รู้ เ ท ค โ น โ ล ยี ( Technical Literycy) โ ร ง เรี ย น ใ น ปั จ จุ บั น เห็ น ค ว าม ส าคั ญ ใ น วิ วัฒ น า ก าร ข อ ง เท ค โ น โ ล ยี จึงได้ให้การศึกษากับบุคลากรเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ อีเล็กทรอนิกส์ เลเซอร์ และหุ่นยน ต์ การรู้คอมพิวเตอร์ (Computer Literacy) เป็นทักษะพื้นฐานเพิ่มขึ้นจากทักษะการอ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็น หรือรู้จักกันว่า 3Rs ใน วิถีทางเศรษฐกิจที่ใช้เทคโน โลยีขั้น สู ง ผู้ปฏิบัติง าน ต้องมีการศึกษาที่ดี ต้องมีปัญญาที่ดีกว่า มีทักษะการสื่อสารและการทางานเป็นทีม บ้านและที่ทางานจะมีเครื่องคิดเลข ค อ ม พิ ว เต อ ร์ เ ค รื่ อ ง แ ฟ ก ซ์ แ ล ะ เ ค รื่ อ ง มื อ อี เล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ สิ่ ง ต่า ง ๆ
  • 5. การพัฒนาหลักสูตร หน้า 5 เหล่านี้ จะนาสู่จุดวิกฤติของคนที่ไม่สามารถใช้เครื่องมืออุปกรณ์ต่าง ๆนี้ ให้ทางาน ได้ จึ ง มี ค ว า ม จ า เ ป็ น ที่ ภ า ค อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ล ะ รั ฐ บ า ล จะได้ร่วมกันสร้างโรงเรียนหรือสถาบันการศึกษาที่มีหลักสูตรในการเตรียมคนเข้าสู่ตลาดแรงงานที่ใ ช้เทคโนโลยีดังกล่าวนี้ ในอนาคตการศึกษาจะเป็นการสร้างนักวิทยาศาสตร์เพื่อที่จะสามารถออกแบบ พัฒนาและประยุกต์เทคโนโลยีได้ในอนาคต สมาคมครูวิทยาศาสตร์แห่งช าติ (The NationalScience Teachers Association : NSTA) ได้อนุมัติหลักสูตรเรียกว่า Science/Technology/Society ซึ่งไม่ได้มุ่งเน้นเพียงวิทยาศาสตร์เท่านั้น ห า ก แ ต่ ใ ห้ ค ว า ม ส า คั ญ กั บ สั ง ค ม แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี ตัวอย่างหนึ่งของจุดประสงค์โปรแกรมนี้ก็เพื่อช่วยนักศึกษาจัดการกับผลกระทบของเทคโนโลยีในชีวิ ตประจาวัน ความจาเป็ น ที่จะต้องเพิ่มแผนพัฒน าแห่งชาติแบบมีส่วน ร่วม ของการศึกษา อุ ต ส า ห ก ร ร มแ ล ะ รั ฐ บ าล ก าร ป ร ะ เมิ น ค ว ามต้ อ ง ก าร อ า ชี พ ใ น อ น าค ต และแผนความร่วมมือกันของโรงเรียนหรือสถานศึกษา 3. ก า ร เ รี ย น รู้ ต ล อ ด ชี วิ ต ( Lifelong Learning) แนวโน้มของการเรียนรู้ตลอดชีวิตเป็นความจาเป็นกับสังคมสมัยใหม่อันเป็นผลสืบเนื่องจากความรู้ที่ มี ม า ก ม า ย ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ข อ ง สั ง ค ม อ ย่ า ง ร ว ด เ ร็ ว การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีและเศรษฐกิจที่มีผลต่อประชาชนในการประกอบอาชีพที่ปรับเปลี่ยน ไ ป สู่ ก า ร พั ฒ น า ใ ห ม่ที่ มี ผ ล ต่ อ เ ป้ า ห ม า ย ข อ ง บุ ค ค ล แ ล ะ สั ง ค ม การศึกษาจะมีความต่อเนื่ องตลอดชีวิตไม่ใช่เป็ น เพี ยงการศึกษาใน โรงเรียนเท่านั้ น การศึกษาผู้ใหญ่จึงถูกคาดหวังเพิ่มขึ้นในปีคริสต์ศตวรรษที่ 1990s 4. ก า ร ศึ ก ษ า น า น า ช า ติ ( International Education) สังคมอเมริกันถือได้ว่าความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาได้มาจากประเทศต่างๆ และได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับ “ห มู่ บ้ า น โ ล ก ( global village) กล่าวถึงมาตรฐานของการดารงชีวิตและเศรษฐกิจของชาติ(อเมริกัน)มีความเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ที่เกิ ดขึ้นในที่อื่นๆ ของโลก การสื่อสารผ่านดาวเทียมและบรรยากาศ รายการโทรทัศน์ เครือข่ายซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีเลเซอร์ และการเดินทางด้วยเครื่องบิน เจ็ต ช่วยให้ดูเหมือนว่าโลกแคบลง ความจาเป็นในการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศมีมากยิ่งขึ้น ภาษาพูดที่รู้จักกันส่วนใหญ่คือ ภาษาจีน กลาง รองลงมาคือภาษาอังกฤษ ฮิน ดี และสเปน ภาษาญี่ปุ่ น (อัน ดับที่ 10)
  • 6. การพัฒนาหลักสูตร หน้า 6 และภาษาเยอรมันและฝรั่งเศส การฝึกอบรมนักศึกษาในสหรัฐอเมริกาให้เรียนรู้ภาษาต่าง ๆมีผลต่อความเจริญเติบโตทางด้านการค้าของสหรัฐอเมริกาและความเข้าใจในตลาดการค้าโลก 5.สิ่งแวดล้อมศึกษา (EnvironmentalEducation) ผลจากปัญหาต่างๆ อาทิ มลภาวะ น้าเสีย ประชากรที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ภาวะทุพโภชนาการ และแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ เป็นต้น ปั ญ ห า ต่ า ง ๆ เหล่านี้นาไปสู่ความต้องการความรู้และโปรแกรมใหม่ในสาขาวิชานิเวศวิทยาและสิ่งแวดล้อมศึกษา ถึ ง แ ม้ว่า เ ดิ ม ที มี วิ ช า ที่ เกี่ ย ว ข้ อ ง คื อ ธ ร ณี วิท ย า ชี ว วิ ท ย า ภู มิ ศ า ส ต ร์ แต่ความต้องการความรู้ที่มีความหมายและมีความสัมพันธ์กับการแก้ปัญหาชีวิตและความเป็นอยู่ของ มวลมนุษย์ในยามคับขันหรือช่วงเวลาเร่งด่วน โรงเรียน หรือสถาบัน การศึกษาควรได้ทาหน้ าที่เตรียมผู้เรี ยน สู่โลกอน าคต โดยช่วยให้เข้าใจในปฏิสัมพันธ์ระหว่างวิทยาศาสตร์ สังคมและการเมืองว่าเป็นอย่างไร ด้วยเหตุที่ว่าความรู้ที่มีอยู่ไม่มั่นใจว่าใช้ได้อย่างเหมาะสม หลักสูตรต้องให้เกิดเจตคติ คุณค่า และ ค วามคิ ดเชิง จริ ยธรรม ที่ช่วยใ ห้ มีพ ฤ ติกรรมที่ รับ ผิดช อบ ต่อ สิ่ ง แ วดล้อ ม การเรียนรู้เกี่ยวกับนิเวศวิทยาต้องการการมองโลกยุคใหม่แบบบูรณาการรู้ว่าอย่างไรที่เป็นการทาลาย รู้ ว่ า วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ สั ง ค ม แ ล ะ ก า ร เ มื อ ง จะนามาบูรณาการกันอย่างไรที่จะช่วยให้ลดปัญหาหรือนาไปสู่แนวทางการแก้ไข สิ่งต่างๆ โรงเรียนในอนาคตจะต้องนาแนวคิดดังกล่าวข้างต้นนี้มาให้ผู้เรียนได้เรียนรู้โดยเฉพาะการศึกษาเกี่ยว กับสิ่งแวดล้อม 6. ก า ร ศึ ก ษ า เ กี่ ย ว กั บ นิ ว เ ค ลี ย ร์ ( Nuclear Education) ประเทศสหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียต รัสเซียถือว่าเป็ นประเทศที่เป็นผู้นาด้านนิวเคลียร์ น อ ก จ า ก นั้ น ป ร ะ เ ท ศ จี น เ ก า ห ลี เ ห นื อ เ ย อ ร มั น นี แ ล ะ ฝ รั่ ง เ ศ ส นับได้ว่ามีการขายความรู้ด้านนิวเคลียร์ให้กับประเทศโลกที่สาม การใช้พลังงานนิวเคลียร์ในทางสันติ ได้แก่โรงไฟฟ้า การใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ ก า ร บ า บั ด ด้ ว ย ก า ร ฉ า ย รั ง สี ความรู้เรื่องหลังงานนิวเคลียร์มีความจาเป็นว่าพลังงานดังกล่าวนี้มีผลกระทบต่ออากาศ อาหาร และ น้ าอย่าง ไร กรณี ที่มีการรั่วไห ลจะ มีผลกระ ท บใน ขอบ เขตห่าง ไกลเพี ยงใ ด และความเข้มข้นของรังสีที่เป็นอันตรายต่อมนุษย์ทั้งที่อยู่ใกล้และไกลออกไปนับพันไมล์ ดังนั้นหลักสูตรที่ให้ความสาคัญกับการศึกษาเกี่ยวกับนิวเคลียร์ถูกบรรจุไว้ในหลักสูตรโลกศึกษา(Glo bally Oriented Curriculum)
  • 7. การพัฒนาหลักสูตร หน้า 7 7. สุ ข ศึ ก ษ าแ ล ะ ก า รดู แ ล สุ ข ภ าพ ก า ย (Health Education and Physical Fitness) แนวโน้มเกี่ยวกับสุขภาพของประชากรชาวอเมริกันจะต้องได้รับความรู้จากหลักสูตรใหม่ๆ ตัวอย่างที่ชัดเจนคือนักการศึกษานาประเด็นเกี่ยวกับภูมิคุ้มกันบกพร่องที่รู้กันในชื่อว่า AIDS (acquired immunodeficiency syndrome) นามาให้ความรู้กับผู้เรียน บรรจุเป็นเรื่องหนึ่งในหลักสูตร ถึงแม้ว่าในสังคมอมริกันประชากรวัยผู้ใหญ่มีนิสัยรักการออกกาลังกายเพื่อสุขภาพด้วยการเล่ น กี ฬ า แ ล ะ ก า ร ดู แ ล สุ ข ภ า พ ร่ า ง ก า ย ( Fitness) จุดประสงค์เบื้องต้นของโปรแกรมมุ่งให้มีความสนุกสนานและด้านการสังคมในกิจกรรมกีฬา ไม่ได้มุ่งการแข่งขันเพื่อชัยชนะ มุ่งเพียงให้เป็นพฤติกรรมการออกกาลังกายเป็นสาคัญ 8.ก า ร ศึ ก ษ า ต่ า ง ด้ า ว ( Immigrant Education) สังคมอเมริกัน หลังสงครามโลกครั้งที่สองมีชาวต่างด้าวเข้ามาอาศัยอยู่เป็ น จานวนมาก นัยสาคัญของคน ต่างด้าวจานวน มากมาจากครอบครัวที่เรียกว่า “ยากจน(structurally poor)” เด็กที่มาจากประเทศต่าง ๆ จะถูกตีตราว่า “ด้อยความสามารถในการเรียนรู้(learningdisabled or “slow” เพื่อช่วยให้คนต่างด้าวที่เข้ามาใหม่นักการศึกษาให้คาแนะนาว่าโรงเรียนควรได้จัดหลักสูตรสองภาษา ( Bilingual programs) หลักสูตรพหุวัฒนธรรมจะช่วยให้เด็กต่างด้าวได้เรียนรู้และอยู่ในสังคมใหม่ได้ดียิ่งขึ้น 9. ภู มิ ศ า ส ต ร์ ย้ อ น ก ลั บ ( The Return of Geography) การศึกษาเกี่ยวกับเรื่องนี้ เป็ นผลมาจากการตีพิมพ์หนังสือชื่อ Nation atRisk ในปี ค.ศ.1983 เด็กอเมริกัน จะ ได้เรียน รู้เรื่อง ราวเกี่ยวโลกรอบ ตัวเรา รวมถึงภูมิศาสตร์พื้ น ฐาน มีการทบทวน สาระสาคัญทางภูมิศาสตร์ อาทิเรื่อง back tobasic, การเรียน รู้วัฒนธรรม นิ เ ว ศ วิ ท ย า ศึ ก ษ า แ ล ะ โ ล ก ศึ ก ษ า เ รื่ อ ง ร า ว ต่ า ง ๆ ที่ศึกษาเล่าเรียนจะเป็นพลังขับเคลื่อนให้รู้จักบทบาทของตนเองเพิ่มยิ่งขึ้น 10.การศึกษาในช่วงเกรดกลาง (Middle-Grade Education) ผู้เรียนที่อายุระหว่าง 10–15 ปี ซึ่ ง เป็ น วัย ที่ เป ลี่ ย น แ ป ล ง ค ว ามเจ ริ ญ เติ บ โต แ ล ะ พั ฒ น า ก ารอ ย่าง รว ด เร็ ว การศึกษาที่จัดให้เป็นการศึกษาเกี่ยวกับ ก่อนจะเป็นวัยรุ่น(Preadolescents) และวัยรุ่นตอนต้น(early adolescents) เ มื่ อ เ ป รี ย บ เ ที ย บ กั บ โ ร ง เ รี ย น มั ธ ย ม ( secondary school) โรงเรียนเกรดกลางมุ่งให้ความสาคัญกับการเรียนรู้สังคมหรือสังคมประกิต( Socialization) ไม่เน้นวิชาการ แต่ให้ความสาคัญกับ intramuralsport แต่ก็ไม่เน้น interscholastic or competitive sports ถึ ง แ ม้ ว่ า โ ร ง เ รี ย น เ ก ร ด ก ล า ง จ ะ มี อ ยู่ โ ด ย ทั่ ว ไ ป แต่ห ลัก สู ต รใ ห ม่ที่ เห ม าะ ส ม กับ ก ลุ่ม เด็ ก ดัง ก ล่าวนี้ จ าเป็ น ต้อ ง พั ฒ น าขึ้ น
  • 8. การพัฒนาหลักสูตร หน้า 8 ก า ร พั ฒ น า ค รู ผู้ ส อ น จ ะ ต้ อ ง ป รั บ เ ป ลี่ ย น โปรแกรมการพัฒน าครูจะต้องมีความแตกต่างจากครูประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ใ น อ น า ค ต ส ถ า บั น ก า ร ผ ลิ ต ค รู จ ะ ต้ อ ง มุ่ ง พั ฒ น า ค ว า ม รู้ ทักษะที่จาเป็นสาหรับการสอนโรงเรียนเกรดกลาง(Middle school) 11. ก า ร ศึ ก ษ า ส า ห รั บ ผู้ สู ง อ า ยุ ( Aging Education) สั ง ค ม ปั จ จุ บั น จ า น ว น ป ร ะ ช า ก ร ผู้ สู ง อ า ยุ เ พิ่ ม ขึ้ น อ ย่ า ง ร ว ด เ ร็ ว นักการศึกษามีความเชื่อว่าโรงเรียนจะต้องสอนให้ผู้เรียนเข้าใจปัญหาและความคาดหวังของผู้สูงอายุ และช่วยให้มีความรักต่อผู้สูงอายุ(ทั้งพ่อแม่และปู่ย่าตายาย) ในโรงเรียนจะต้องประสมประสานผู้สูงอายุทั้งผู้ที่มีความประสงค์จะเกษียณอายุและผู้เกษียณ อายุจากง าน ป ระ จามาช่วยง าน ใ น โรง เรี ยน ใ น รูป แบบ อาส าสมัคร ผู้ช่วยสอ น และแหล่งทรัพยากรบุคคลในการเรียนรู้ 12.ธุ รกิจการศึกษา(For-ProfitEducation) โรงเรียน หรือสถาน ศึกษารูปแบบต่าง ๆเกิดขึ้น มากมาย ทั้งใน รูปแบบของเอกชน และห น่วยงาน ที่ตั้งขึ้น เฉพ าะกิจ อาทิ สถาน เลี้ยงเด็กเล็ก(nursery) ศูน ย์รับเลี้ยงเด็กช่วงเวลากลางวัน และช่วงหลังเลิกเรียน ศู น ย์ กี ฬ า แ ล ะ โ ค ช เ อ ก ช น ศู น ย์ ติ ว เ ต อ ร์ แ ฟ ร น ไ ช ส์ วิทยาลัยเอกชนเพื่อให้บริการแนะแนว(ในการเลือกมหาวิทยาลัย) สถาบันติวเตอร์สอบ SAT แ ล ะ ก า ร ท ด ส อ บ เ พื่ อ ข อ รั บ ใ น รั บ ร อ ง ป ร ะ ก อ บ วิ ช า ชี พ ทั้งหมดที่กล่าวมานี้เป็นการนาการศึกษาเข้าสู่ตลาดการค้าที่มีการเก็บค่าธรรมเนียมในการศึกษา จากผู้เรียนโดยตรง 13.การศึกษาเพื่ออนาคต (FuturisticEducation) จากงานเขียนของทอฟเลอร์(Toffler 1970) ที่กล่าวถึงอนาคตว่ามีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วไม่สามารถที่กาหนดขอบข่ายของการเปลี่ยนแปลง ไ ด้ เ ล ย นั้ น จึ ง น า ม า เ ป็ น ห ลั ก ก า ร ข อ ง ค ว า ม มุ่ง ห ม า ย ก า ร ศึ ก ษ า ที่จะต้องเพิ่มขีดความสามารถของผู้เรียนแต่ละคนเพื่อที่ผู้เรียนแต่ละคนสามารถปรับตัวเข้ากับการเปลี่ ยนแปลงที่ต่อเนื่อง แนวทางหนึ่งในการเตรียมตัวผู้เรียนในอนาคตก็คือช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง โปรแกรมหรือรายวิชาใหม่จะถูกเรียกว่า การศึกษาเล่าเรียนเพื่ออนาคต( Futuristic studies) จ ะ เ ริ่ ม ใ น ร ะ ดั บ อุ ด ม ศึ ก ษ า แ ล ะ มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ใ น โ อ ก า ส ต่ อ ไ ป สาระสาคัญของการศึกษาดังกล่าวนี้พิจารณาจากความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและสถานการณ์ใ นสังคมโดยไม่มีการแบ่งแยก แต่เป็ นทั้งสององค์ประกอบที่ช่วยในการตัดใจใน อนาคต โ ด ย ทั่ ว ไ ป ก า ร ม อ ง อ น า ค ต ไ ม่ ใ ช่ ภ า ร กิ จ ที่ เ ล็ ก ๆ
  • 9. การพัฒนาหลักสูตร หน้า 9 แต่เป็นการนาเสนออนาคตที่มีจุดประสงค์การเรียนรู้โดยปกติทั่วไปที่ช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และนาไ ปใช้โดยปรับให้เหมาะสมกับตนเองในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว นักการศึกษาได้นาเสนอแน วคิดเกี่ยวกับทักษะที่จาเป็ นในอน าคตที่เรียกกัน ว่า ทั ก ษ ะ ใ น ศ ต ว ร ร ษ ที่ 21 หลักสูตรหรือรายวิชาที่เรียนก็ควรที่จะได้พิจารณาให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ตามมาตรฐานดังกล่าวนี้ หลักสูตรต้องวางแผนเพื่อการบรรลุทักษะในศตวรรษที่ 21 ในปี 1983 สมาคมการพัฒนาหลักสูตรและการนิเทศ (Associationfor Supervision and curriculum development :ASCD) ได้เผยแพร่บทความวิจัย ของ Benjamin I.Troutman and Robert D.Palombo เรื่อง IdentifyingFutures Trendsin Curriculum Planning โดยศึกษาจากกลุ่มตัวอย่าง 36 ค น จ า ก โ ร ง เ รี ย น Virginia Beach Public Schools ข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ ส รุ ป ไ ด้ ว่ า ในอนาคตวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจะเป็นตัวชี้การเปลี่ยนแปลงหลักสูตร อันเป็ นผลจาก การขยายความรู้ที่เป็ น ไปอย่างรวดเร็ว และความรู้มีความเป็ นศาสตร์เฉพาะการเพิ่มขึ้น ซึ่ ง มี ก า ร ศึ ก ษ า ผ ล ต่ อ ห ลั ก สู ต ร ใ น 3 ป ร ะ เ ด็ น คื อ 1) ค ว า ม เ ป็ น ค ว า ม รู้ ที่ ร่ ว ม กั น ข อ ง วิ ท ย า ก า ร ที่ เ จ ริ ญ ก้ า ว ห น้ า 2) ความสมดุลระหว่างความยากลาบากในการได้มาของข้อเท็จจริงกับการพัฒนาทักษะกระบวนการ 3) เอกสารความรู้ที่ใช้เป็นแหล่งความรู้ในหลักสูตร จากขอบข่ายดังกล่าวนี้กลุ่มตัวอย่างจากโรงเรียน VirginiaBeachPublicSchools ให้ความเห็นว่าแนวโน้มในอนาคตที่มีผลต่อการวางแผนหลักสูตรมี 15 ประเด็น คือ 1. ทักษะพื้นฐานทางวิชาการ(Basic AcademicSkills)จะต้องให้ความสาคัญเพิ่มขึ้นกับ ทักษะการสื่อสาร คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ โดยเฉพาะหลักสูตรอาชีวศึกษา 2. คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศอื่น ๆ (ComputersandOther Information Technologies) ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เ ท ศ อื่ น ๆ มีรวมกันเป็นหนึ่งเดียวกันแล้วอุปมาดั่งเช่นเป็นพาหนะขับเคลื่อนการศึกษาสาหรับผู้เรียนทุกคน การพัฒนาแผนสาหรับการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมในระบบโรงเรียน Virginia Beach Public Schools ตั้งแต่อนุบาลถึงเกรดสิบสอง 3. ค ว า ม ยื ด ห ยุ่ น ข อ ง ห ลั ก สู ต ร ( Curriculum Flexibility) ให้โอกาสอันยิ่งใหญ่ที่มั่งคั่งสมบูรณ์และรวดเร็วจากหลักสูตร สาหรับอนุบาลถึงเกรดสิบสอง
  • 10. การพัฒนาหลักสูตร หน้า 10 4. ก า ร ท บ ท ว น ห ลั ก สู ต ร ( Curriculum Revision) พั ฒ น า แ ผ น ป ฏิ บั ติ ก า ร ที่ แ น่ ใ จ ว่า ส า ม า ร ถ ด า เ นิ น ก า ร ต่ อ ไ ป ไ ด้ หลักสูตรได้รับการทบทวนและมีการประเมินอย่างเป็นระบบ 5. ค ว า ม เ ป็ น ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย ( Democratic Ideals) ทาความเข้าใจและให้ความสาคัญกับกระบวนการประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม 6. โ ป ร แ ก ร ม ส า ห รั บ เ ด็ ก เ ล็ ก ( Early Childhood Programs) ข ย า ย โ ป ร แ ก ร ม ส า ห รั บ เ ด็ ก เ ล็ ก ( เ ด็ ก ก่ อ น อ นุ บ า ล ) ที่ให้ความสาคัญกับการพัฒนาประสบการณ์การเรียนรู้ 7. การมองอนาคต (FuturesPerspective) การรวมขอบเขตสาระเป็นหลักสูตรเดียว โดยสิ่งต่าง ๆ เหล่านั้นเป็นประเด็นสะท้อนและอธิบายประเด็นร่วมสมัย แนวโน้มอนาคต และความสัมพันธ์ระหว่างปัจจุบันกับเหตุการณ์ที่ผ่านไปและทางเลือกในอนาคต 8. สั ม พั น ธ ภ า พ ร ะ ดั บ ส า ก ล ( Global Interrelationships) ให้ความสาคัญ กับมุมมองของ ความสัมพัน ธ์ ระ หว่าง เศรษฐกิจ และ วัฒน ธรรม - ชาติพันธุ์ของมนุษย์ที่หลักสูตรต้องมีความหลากหลาย 9. ก า ร เ รี ย น รู้ ต ล อ ด ชี วิ ต ( Lifelong Learning) ขยายโอกาสสาหรับสมาชิกของชุมชนในเขตพื้นที่บริการของโรงเรียนที่สนใจเรียนรู้ในรูปแบบกิจกร รมการเรียนรู้ตลอดชีวิต 10. สื่อมวลชน(MassMedia) ให้ความสาคัญกับทักษะในการวิเคราะห์วิจารณ์ การฟัง และการดู ที่เกี่ยวข้องกับการแปลความหมายจากสื่อ 11. ก า ร เ ติ ม เ ต็ ม บุ ค ลิ ก ภ า พ ( Personal Fulfillment) โร ง เรี ย น เป็ น ส ถ าน ที่ อั น ยิ่ ง ใ ห ญ่ ที่ จ ะ ส ร้ าง ค ว าม คิ ด ต่อ ต น เอ ง เชิ ง บ ว ก และพัฒนาสัมพันธภาพระหว่างบุคคล 12. การประยุกต์กระบวน การ (Process Approach) หลักสูตรมุ่งที่การแก้ปัญหา การตัดสินใจ ความคิดสร้างสรรค์ และทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะการนาไปใช้ การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่า 13. การพัฒ น าที มงาน (Staff Development) เพิ่ มโอกาสใ ห้พัฒ น าที มงาน โดยเฉพาะเรื่องเกี่ยวกับเทคโนโลยี 14. ใ ช้ ชุ ม ช น ( Use of Community) เพิ่มบทบาทของผู้ปกครองและแหล่งเรียน รู้ในชุมชน ใน การจัดโปรแกรมการศึกษา เชื่อมโยงการเรียนรู้ในชั้นเรียนกับประสบการณ์ในชุมชน
  • 11. การพัฒนาหลักสูตร หน้า 11 15. ก า ร อ า ชี ว แ ล ะ อ า ชี พ ศึ ก ษ า ( Vocational and Career Education) แน่ใจว่าการศึกษาอาชีวและอาชีพสะท้อนการเปลี่ยนแปลงมโนทัศน์ในการทางานและสร้างแรงบันด าลใจให้กับผู้เรียน สรุป(Summary) ปัญหาและแนวโน้มการพัฒนาหลักสูตรพิจารณาได้จากข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร ที่ถูกรวบรวมวิเคราะห์เชื่อมโยงเป็นชุดของจุดประสงค์การเรียนรู้ ที่ใช้ในการวางแผนพัฒนาหลักสูตร และนาไปออกแบบหลักสูตร โดยการอธิบายเหตุผลการได้มาของสาระความรู้ในหลักสูตร ที่ มี เ ห ตุ ผ ล ป ร ะ ก อ บ ห ลั ก วิ ช า โ ด ย อ า ศั ย ท ฤ ษ ฎี ก า ร เ รี ย น รู้ ต่ า ง ๆ และนักพัฒนาหลักสูตรนามากาหนดเป้าหมายการพัฒนาผู้เรียน กาหนดสาระเนื้อหาและผลการเรียนรู้ ข้อมูลต่างๆ เหล่านี้สามารถเป็นแนวทางช่วยให้อธิบายแนวโน้มของหลักสูตรได้ ตรวจสอบทบทวน(Self-Test) 1. ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรเกี่ยวข้องกับปัญหาและแนวโน้มของหลักสูตรได้ หรือไม่อย่างไร ข้อมูลพื้นฐานด้านใดที่เป็นปัญหาและแนวโน้มที่มีผลต่อหลักสูตรมากที่สุด 2. ข้อมูลที่ได้จากการวิจัย และประเมินหลักสูตรเป็นตัวชี้นา หรือเป็นปัจจัยสาคัญที่มี อิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงหลักสูตรในอนาคต ได้หรือไม่ มากน้อยเพียงใด กิจกรรม(Activity) 1. สืบค้นจากหนังสือหรือในระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เรื่อง ปัญหาและแนวโน้มของ หลักสูตร 2. ศึกษาทาความเข้าใจเพิ่มเติมจากวิจารณ์ พานิช. วิถีการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21 กรุงเทพฯ : มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์ 2555.