SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
Download to read offline
การออกแบบสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้โดยใช้
เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นฐาน
201 704 Interactive and Emerging Technologies
กลุ่ม Cognitive Weapons
(ต้องการให้ผู้เรียนมีลักษณะอย่างไร สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ใด)
1. วัตถุประสงค์ในการจัดการเรียนการสอน
ในการกาหนดวัตถุประสงค์นี้ ได้นามาตรฐาน AECT Standard 4 มาประกอบการตั้ง
วัตถุประสงค์ดังนี้
• Collaborative Practice นักเรียนมีการร่วมมือกันในการแก้ไขปัญหา อย่างถูก
หลักวิธีการ
• Leadership นักเรียนกล้าแสดงออก มีความเป็นผู้นา พร้อมที่จะนาเสนอความคิด
ใหม่ๆเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์
• Evaluating นักเรียนสามารถประเมินตนเองได้ และสามารถ ประเมินเพื่อนร่วมชั้น
ได้
(เนื้อหามีความสอดคล้องกับคุณลักษณะของผู้เรียนอย่างไร มีกี่หัวข้ออะไรบ้าง)
2. เนื้อหาที่ใช้
รายวิชา การถ่ายภาพ นักศึกษาในระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 1
สถานการณ์ปัญหา (Problem)
(สถานการณ์ปัญหาที่มีหลายสภาพบริบท ที่ผู้เรียนเผชิญในสภาพจริง)
“นักศึกษานากล้อง DSLR ไปถ่ายภาพ เมื่อนาภาพมาเปิดดูในคอมพิวเตอร์
ปรากฎว่า ภาพถ่ายไม่ชัดมีนอยซ์มาก และด้านหน้าของแบบมืด”
จากสถานการณ์ปัญหานี้ นักศึกษาจะทาอย่างไร เพื่อให้สามารถถ่ายภาพ
ได้โดยไม่มืดและชัด พร้อมทั้งวิเคราะห์สาเหตุ ?
(เนื้อหามีความสอดคล้องกับคุณลักษณะของผู้เรียนอย่างไร มีกี่หัวข้ออะไรบ้าง)
2. เนื้อหาที่ใช้
แหล่งการเรียนรู้ (Resource)
ผลกระทบที่เกิดกับภาพถ่ายมีปัจจัยที่เกี่ยวข้องดังนี้
- การปรับค่าต่างๆของกล้องรูรับแสง (Aperture)
- สปีดชัตเตอร์ (Shutter Speed)
- ค่าความไวแสง (ISO)
นอกจากจะมีผลให้เกิดภาพแล้วยังมีผลข้างเคียงเพิ่มเติมที่แตกต่างกัน
- แสงสว่างมีมากเพียงพอและทิศทางของแสงที่ตกกระทบกับวัตถุ
(เนื้อหามีความสอดคล้องกับคุณลักษณะของผู้เรียนอย่างไร มีกี่หัวข้ออะไรบ้าง)
2. เนื้อหาที่ใช้
สปีดชัตเตอร์ (Shutter Speed) ผลที่เกิด
ช้า ตัวแบบเกิดเงินการเคลื่อนไหว
เร็ว ตัวแบบหยุดการเคลื่อนไหว
รูรับแสง (Aperture) ผลที่เกิด
กว้าง ชัดตื้น
แคบ ชัดลึก
ค่าความไวแสง (ISO) ผลที่เกิด
ต่า รายละเอียดภาพสูง คม
สูง รายละเอียดภาพต่า และเกิด Noise
แหล่งการเรียนรู้ (Resource)
(เนื้อหามีความสอดคล้องกับคุณลักษณะของผู้เรียนอย่างไร มีกี่หัวข้ออะไรบ้าง)
2. เนื้อหาที่ใช้
ฐานความช่วยเหลือ (Scafolding)
1.ฐานการช่วยเหลือด้านความคิดรวบยอด (Conceptual Scaffolding)
(เนื้อหามีความสอดคล้องกับคุณลักษณะของผู้เรียนอย่างไร มีกี่หัวข้ออะไรบ้าง)
2. เนื้อหาที่ใช้
2. ฐานการช่วยเหลือด้านการคิด (Metacognitive Scaffolding)
2.1 วิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้น โดยศึกษาจากสถานการณ์ปัญหา
2.2 แสวงหาวิธีแก้ปัญหา โดยสอบถามจากผู้เชี่ยวชาญหรือแหล่ง
การเรียนรู้
2.3 ลงมือแก้ไขปัญหา ทดลองปฏิบัติตามแนวทางแก้ปัญหา
2.4 แก้ไขปัญหาได้สาเร็จหรือไม่ จากแนวปฏิบัติสามารถแก้ไข
ปัญหาได้
(เนื้อหามีความสอดคล้องกับคุณลักษณะของผู้เรียนอย่างไร มีกี่หัวข้ออะไรบ้าง)
2. เนื้อหาที่ใช้
3. ฐานการช่วยเหลือด้านกระบวนการ (Procedural Scaffolding)
- ศึกษาแหล่งการเรียนรู้และแหล่งข้อมูลอื่นๆ เพิ่มเติม ที่เกี่ยวข้องกับการ
ถ่ายภาพ และความสัมพันธ์ของสปีดชัตเตอร์ (Speed Shutter), รูรับแสง
(Aperture) และค่าความไวแสง (ISO)
- ร่วมหารือแลกเปลี่ยนกับเพื่อนร่วมเรียน สอบถามผู้เชี่ยวชาญ ผ่านสื่อ
สังคมออนไลน์ (Social Media) ได้แก่ mindmup.com และ
Facebook Fanpage หรือเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับการถ่ายภาพ อาทิ
www.ilovetogo.com, www.camerastips.com, www.taklong.com
- เป็นต้น
(เนื้อหามีความสอดคล้องกับคุณลักษณะของผู้เรียนอย่างไร มีกี่หัวข้ออะไรบ้าง)
2. เนื้อหาที่ใช้
4. ฐานความช่วยเหลือด้านกลยุทธ์ (Strategic Scaffolding)
4.1 วิเคราะห์ถึงคาสาคัญของปัญหา
4.2 พิจารณาหาคาสาคัญของปัญหาว่าสอดคล้องกับหัวข้อใดใน
แหล่งการเรียนรู้หรือแหล่งที่ต้องศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม
4.3 พิจารณาสถานการณ์ปัญหาถึงสาเหตุที่ทาให้ภาพถ่ายไม่ชัด
และมืดว่าเกิดจากปัจจัยใดบ้างจึงทาให้เกิดผลเช่นนั้น
(เนื้อหามีความสอดคล้องกับคุณลักษณะของผู้เรียนอย่างไร มีกี่หัวข้ออะไรบ้าง)
2. เนื้อหาที่ใช้
ปรึกษาผู้รู้ (Coaching)
อาจารย์เตอร์
(ผู้เชี่ยวชาญด้านสปีดชัตเตอร์)
อาจารย์โอ
(ผู้เชี่ยวชาญด้าน ISO)
อาจารย์แสง
(ผู้เชี่ยวชาญด้านรูรับแสง)
(เนื้อหามีความสอดคล้องกับคุณลักษณะของผู้เรียนอย่างไร มีกี่หัวข้ออะไรบ้าง)
2. เนื้อหาที่ใช้
การร่วมมือกันแก้ปัญหา (Collabaration)
ใช้เครื่องมือทาง social media คือ mindmup.com และ Facebook
Fanpageให้นักเรียนแลกเปลี่ยน แสดงความคิดเห็น วิเคราะห์ รูปภาพจาก
สถานการณ์ปัญหาที่เกิดจากการภาพถ่ายไม่ชัด และมืด ผู้เรียนร่วมวิพากษ์
ภาพถ่ายร่วมกับผู้อื่น (ผู้เชี่ยวชาญ ผู้สอน เพื่อนร่วมชั้นและต่างชั้น) ในสื่อสังคม
ออนไลน์หรือสังคมรอบๆสถานศึกษา พร้อมแสดงความคิดเห็นและรับฟัง
ข้อเสนอแนะ หาข้อสรุปหลังจากแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกัน
(อธิบายทุกแนวคิดที่นามา)
หลักการสาคัญในการเรียนรู้ ตามแนวคอนสตรัคติวิสส์
- ใช้การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
- ผู้เรียนจะต้องเป็นผู้ลงมือกระทา (active) และผู้เรียนสร้างความรู้จากประสบการณ์ โดย
อาศัยประสบการณ์เดิมเชื่อมโยงกับความรู้ใหม่ เพื่อขยายโครงสร้างทางปัญญา (Schema)
- ครูเป็นผู้ออกแบบและจัดให้มีสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
โดยการนาวิธีการการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่ประสานร่วมกันระหว่าง
“สื่อ” (Media) กับ “วิธีการ” (Methods)
ความเชื่อพื้นฐานของ Constructivism มีรากฐานมาจาก 2
แหล่ง คือจากทฤษฎีพัฒนาการของ Piaget และ Vygotsky
3. ใช้หลักการ แนวคิด หรือทฤษฎีใดบ้างมาเป็นพื้นฐานในการจัดการเรียนรู้
(อธิบายทุกแนวคิดที่นามา)
3. ใช้หลักการ แนวคิด หรือทฤษฎีใดบ้างมาเป็นพื้นฐานในการจัดการเรียนรู้(ต่อ)
• Cognitive Constructivism หมายถึง ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา
นิยมที่มีรากฐานมาจากทฤษฎีพัฒนาการของพีอาเจต์ ทฤษฎีนี้ถือว่าผู้เรียน
เป็นผู้กระทา (active) และเป็นผู้สร้างความรู้ขึ้นในใจเอง ปฏิสัมพันธ์ทาง
สังคมมีบทบาทในการก่อให้เกิดความไม่สมดุลทางพุทธิปัญญาขึ้น เป็นเหตุ
ให้ผู้เรียน ปรับความเข้าใจเดิมที่มีอยู่ให้เข้ากับข้อมูลข่าวสารใหม่
จนกระทั่งเกิดความรู้ใหม่ขึ้น ประกอบด้วย สถานการณ์ปัญหา แหล่ง
เรียนรู้ (Resource)
•
(อธิบายทุกแนวคิดที่นามา)
3. ใช้หลักการ แนวคิด หรือทฤษฎีใดบ้างมาเป็นพื้นฐานในการจัดการเรียนรู้(ต่อ)
• Social Constructivism หมายถึง ทฤษฎีที่มีพื้นฐานมาจากทฤษฎี
พัฒนาการของวิก็อทสกี้ ซึ่งถือว่าผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยการมีปฏิสัมพันธ์
ทางสังคมกับผู้อื่น ในขณะที่ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมหรืองาน ใน
สภาวะสังคม (Social Context) ซึ่งเป็นตัวแปรที่สาคัญและขาดไม่ได้
ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมทาให้ผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยการเปลี่ยนแปรความ
เข้าใจเดิมให้ถูกต้องหรือซับซ้อนกว้างขวางขึ้น ประกอบด้วย ฐานความ
ช่วยเหลือ (Scaffolding) การโค้ช (Coaching) การร่วมกันแก้ปัญหา
(Collaboration)
•
(อธิบายทุกแนวคิดที่นามา)
3. ใช้หลักการ แนวคิด หรือทฤษฎีใดบ้างมาเป็นพื้นฐานในการจัดการเรียนรู้(ต่อ)
หลักการพื้นฐานในการออกแบบสิ่งแวดล้อมตามแนวคอนสตรัคติวิสส์
1.สถานการณ์ปัญหา (Problem base)
มาจากพื้นฐานของ Cognitive Constructivism ของเพียเจต์ ที่
เชื่อว่า ถ้าผู้เรียนถูกกระตุ้นด้วยปัญหา (Problem) ก่อให้เกิดการเสีย
สมดุลทางปัญญา ผู้เรียนต้องพยายามปรับโครงสร้างทางปัญญาให้เข้าสู่
ภาวะสมดุล (Equilibrrium) โดยการดูดซึม (Assimilation) หรือ ปรับ
โครงสร้างทางปัญญา (Accommodation) จนกระทั่งเกิดการเรียนรู้
(อธิบายทุกแนวคิดที่นามา)
3. ใช้หลักการ แนวคิด หรือทฤษฎีใดบ้างมาเป็นพื้นฐานในการจัดการเรียนรู้(ต่อ)
หลักการพื้นฐานในการออกแบบสิ่งแวดล้อมตามแนวคอนสตรัคติวิสส์
1.สถานการณ์ปัญหา (Problem base) (ต่อ)
สถานการณ์ปัญหามีลักษณะ ดังนี้
1. สถานการณ์ปัญหาเดียวที่ครอบคลุมเนื้อหาทั้งหมดที่เรียน
2. สถานการณ์ปัญหาที่มีหลายระดับ เช่น ง่าย ปานกลาง ยาก เป็นต้น
3. สถานการณ์ปัญหาหลายสภาพบริบทที่เผชิญสภาพสภาวะจริง
4. สถานการณ์ปัญหาที่เป็นเรื่องราว
(อธิบายทุกแนวคิดที่นามา)
3. ใช้หลักการ แนวคิด หรือทฤษฎีใดบ้างมาเป็นพื้นฐานในการจัดการเรียนรู้(ต่อ)
หลักการพื้นฐานในการออกแบบสิ่งแวดล้อมตามแนวคอนสตรัคติวิสส์
2.แหล่งเรียนรู้ (Resource)
แหล่งที่ รวบรวมข้อมูล เนื้อหา สารสนเทศ ที่ผู้เรียนสามารถที่จะศึกษา
ค้นคว้า เสาะแสวงหา และค้นพบคาตอบ โดยผู้สอนต้องจัดเตรียมไว้อย่างหลากหลาย
และเหมาะสม มีลักษณะดังนี้
- ธนาคารข้อมูล (Data bank)
- แหล่งที่เกี่ยวข้องในการสร้างความรู้ เช่น ชุมชน ภูมิปัญญาท้องถิ่น
- เครื่องมือที่ช่วยในการสร้างความรู้ Discovery Tools ,
- Communication Tools , Processing Tools
(อธิบายทุกแนวคิดที่นามา)
3. ใช้หลักการ แนวคิด หรือทฤษฎีใดบ้างมาเป็นพื้นฐานในการจัดการเรียนรู้(ต่อ)
หลักการพื้นฐานในการออกแบบสิ่งแวดล้อมตามแนวคอนสตรัคติวิสส์
3.ฐานการช่วยเหลือ (Scaffolding)
มาจากแนวคิด Social Constructivism ของ Vygotsky ที่เชื่อ
ว่า ถ้าผู้เรียนที่อยู่ต่ากว่า Zone of Proximal Development
จาเป็นต้องได้รับการช่วยเหลือ สนับสนุนผู้เรียนให้แก้ปัญหาปฏิบัติภารกิจ
ให้สาเร็จด้วยตัวเองได้
(อธิบายทุกแนวคิดที่นามา)
3. ใช้หลักการ แนวคิด หรือทฤษฎีใดบ้างมาเป็นพื้นฐานในการจัดการเรียนรู้(ต่อ)
4.การโค้ช (Coaching)
มาจากพื้นฐาน Situated cognition และ Situation Learning
หลักการนี้ให้ความสาคัญที่บทบาทของครูที่เปลี่ยนจากผู้ถ่ายทอดความรู้
มาเป็นการโค้ช ที่ให้การสนับสนุน ให้คาแนะนาสาหรับผู้เรียน มีเงื่อนไข
ดังนี้
- ผู้เรียนอยู่ในความดูแล ด้วยความเอาใจใส่
- สอบถามและกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการคิดแก้ปัญหา
- สนับสนุนอย่างมีเหตุผล มีความหมาย และสร้างสรรค์
- ยอมรับในความแตกต่าง ความเชื่อของผู้เรียน
(อธิบายทุกแนวคิดที่นามา)
3. ใช้หลักการ แนวคิด หรือทฤษฎีใดบ้างมาเป็นพื้นฐานในการจัดการเรียนรู้(ต่อ)
5.การร่วมมือกันแก้ไขปัญหา (Collaboration)
ส่วนที่จะสนับสนุนให้ผู้เรียนได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์เรียนรู้กับ
ผู้อื่น เพื่อขยายมุมมองให้แก่ตัวผู้เรียนเอง ส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักไตร่ตรอง
(Reflective Thinking) เป็นแหล่งที่เปิดโอกาสให้ ผู้เรียน ผู้สอน
ผู้เชี่ยวชาญ ได้ขยายแนวคิด ได้สนทนาแสดงความคิดเห็นของตนเองกับ
ผู้อื่น การร่วมมือกันแก้ปัญหา ป้องกันความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน
(Misconception)
4. ในการกระบวนการเรียนรู้มีปฏิสัมพันธ์แบบใดบ้าง และจะออกแบบอย่างไร
ในกระบวนการเรียนรู้จะมีปฏิสัมพันธ์อยู่ 6 ด้าน คือด้าน
student/student student/teacher teacher/teacher
teacher/content content/content student/content
4. ในการกระบวนการเรียนรู้มีปฏิสัมพันธ์แบบใดบ้าง และจะออกแบบอย่างไร
Student/Student Interaction
นักเรียนมีปฏิสัมพันธ์ร่วมกัน โดยมีการร่วมกันแก้ปัญหาที่ได้รับ
มอบหมาย มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น แบ่งหน้าที่กันทางาน
Student/Teacher Interaction
นักเรียนมีปฏิสัมพันธ์กับผู้สอน โดยการสื่อสารกันโดยตรง หรือ
การสื่อสารแบบออนไลน์ผ่านซอฟแวร์สื่อสังคมที่ผู้สอนได้จัดเตรียมไว้
รองรับ
4. ในการกระบวนการเรียนรู้มีปฏิสัมพันธ์แบบใดบ้าง และจะออกแบบอย่างไร
Teacher/Teacher Interaction
ครูผู้สอนมีการพัฒนาวิธีการสอนโดยการแบ่งปัน แลกเปลี่ยน
วิธีการสอนต่างๆ ผ่านซอฟแวร์สื่อสังคม
Teacher/Content Interaction
ครูผู้สอนมีการเพิ่มเติมความรู้ เพิ่มเติมศักยภาพในการสอนใน
เนื้อหานั้นๆ โดยผ่านกระบวนการต่างๆ เช่น การฝึกอบรม อีกทั้งการ
ปรับปรุงและสร้างกิจกรรมในหลักสูตรอยู่อย่างต่อเนื่อง
4. ในการกระบวนการเรียนรู้มีปฏิสัมพันธ์แบบใดบ้าง และจะออกแบบอย่างไร
Content/Content Interaction
โดยมีโปรแกรมโต้ตอบกับข้อมูลอื่นๆ ซึ่งช่วยให้การอัพเดท
แหล่งที่มาของข้อมูลอย่างต่อเนื่อง เช่น wikipedia
Student/Content Interaction
นักเรียนเข้าถึงเนื้อหาโดยตรง ผ่านซอฟแวร์ หรือสื่อสังคม ที่ครูจัด
ให้ หรือการศึกษาผ่านสื่อต่างๆภายนอกห้องเรียน
5. จะใช้ Software ใดบ้างในการพัฒนา
มีเครื่องมือ Software ที่ใช้ประกอบการพัฒนาทั้ง 5 ชนิดดังนี้
ประเภทของเครื่องมือทางปัญญา เครื่องมือที่ใช้
Seeking Tools Google, Yahoo, Bing
Presentation Tools bookmark social
- stumbleupon.com
- prezi
Organization Tools - Concept Map
mindmup.com
Integration Tools Facebook Fanpage
Generation Tools Facebook Galleries , Google+ Photo
6. วางแผน/แบ่งงาน/บทบาทหน้าที่อย่างไร
กิจกรรมการออกแบบสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ ผู้รับผิดชอบ
1.ศึกษาหลักการ เครื่องมือ และทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง นางสาวพิธัญญา พิรุณสุนทร
นายรนยุทธ์ จาปาหาร
นายณัฐพงษ์ วัฒนบุตร
นายณัฐวุฒิ จารุวงศ์
นายระบิล ภักดีผล
2.ออกแบบขั้นการเข้าสู่บริบท (Enabling Context)
กาหนดโจทย์เพื่อให้ฝึกให้ผู้เรียนนั้นได้แก้ปัญหา และใช้
สติปัญญาในการไตร่ตรอง เช่น ค้นคว้าแหล่งการเรียนรู้และ
แหล่งข้อมูลอื่นๆ เพิ่มเติม ที่เกี่ยวข้องกับการถ่ายภาพ และ
ความสัมพันธ์ของสปีดชัตเตอร์ (Speed Shutter), รูรับแสง (Aperture)
และค่าความไวแสง (ISO)
นางสาวพิธัญญา พิรุณสุนทร
นายณัฐพงษ์ วัฒนบุตร
6. วางแผน/แบ่งงาน/บทบาทหน้าที่อย่างไร
กิจกรรมการออกแบบสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ ผู้รับผิดชอบ
3.ออกแบบขั้นการจัดหาแหล่งเรียนรู้ (Resource)
จัดเตรียมเอกสาร เนื้อหา มีหน้าที่ในการเตรียมเอกสารประกอบการเรียน
การสอน เช่น เนื้อหาที่ใช้ในการเรียนการสอนในรูปแบบ ความคิดรวบ
ยอดของการถ่ายภาพ
นายณัฐวุฒิ จารุวงศ์
นายรนยุทธ์ จาปาหาร
4.ออกแบบขั้นการจัดหาเครื่องมือ (Tool) เป็นการจัดหาเครื่องมือที่ใช้ใน
การจัดกระทากับข้อมูลและสารสนเทศ เช่น จัดสื่อกลางที่จะให้ผู้เรียน ครู
ผู้เชี่ยวชาญในการส่งเสริมเกี่ยวกับการสนทนาการแบ่งปันแนวคิด และ
ร่วมมือกันแก้ปัญหา
นางสาวพิธัญญา พิรุณ
สุนทร
นายรนยุทธ์ จาปาหาร
นายณัฐวุฒิ จารุวงศ์
6. วางแผน/แบ่งงาน/บทบาทหน้าที่อย่างไร
กิจกรรมการออกแบบสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ ผู้รับผิดชอบ
5.ออกแบบขั้นการจัดหาส่วนการช่วยเหลือ (Scaffolding) เป็นการ
ออกแบบการแนะนาแนวทางและสนับสนุนความพยายามในการเรียนรู้
ในแบบ ฐานการช่วยเหลือแบบการสร้างความคิดรวบยอด เช่น
พิจารณาเกี่ยวกับจัดเตรียมคาถามที่เริ่มต้น
นายณัฐพงษ์ วัฒนบุตร
นายระบิล ภักดีผล
สมาชิกกลุ่ม Cognitive Weapons
รายชื่อ
1. นางสาวพิธัญญา พิรุณสุนทร รหัสนักศึกษา 575050028-5
2. นายรนยุทธ์ จาปาหาร รหัสนักศึกษา 575050029-3
3. นายณัฐพงษ์ วัฒนบุตร รหัสนักศึกษา 575050183-3
4. นายณัฐวุฒิ จารุวงศ์ รหัสนักศึกษา 575050184-1
5. นายระบิล ภักดีผล รหัสนักศึกษา 575050189-1
สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา (โครงการพิเศษ) คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น

More Related Content

What's hot

นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9maxcrycry
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนguest68e3471
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Pitsiri Lumphaopun
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่Vachii Ra
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่panggoo
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่Ailada_oa
 
ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์Charuni Samat
 
การพัฒนานวัตกรรมการสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
การพัฒนานวัตกรรมการสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์การพัฒนานวัตกรรมการสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
การพัฒนานวัตกรรมการสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์Charuni Samat
 
บันทึกการทดลองใช้นวัตกรรม
บันทึกการทดลองใช้นวัตกรรมบันทึกการทดลองใช้นวัตกรรม
บันทึกการทดลองใช้นวัตกรรมJirathorn Buenglee
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรกระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรAlbert Sigum
 
รูปแบบ Dru เพื่อส่งเสริม meta cognition สำหรับนักศึกษา สาขาวิชาชีพครู
รูปแบบ Dru เพื่อส่งเสริม meta cognition   สำหรับนักศึกษา สาขาวิชาชีพครูรูปแบบ Dru เพื่อส่งเสริม meta cognition   สำหรับนักศึกษา สาขาวิชาชีพครู
รูปแบบ Dru เพื่อส่งเสริม meta cognition สำหรับนักศึกษา สาขาวิชาชีพครูAmitta Tapparak
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Jo Smartscience II
 
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ Naracha Nong
 
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21Teacher Sophonnawit
 
04 instructional system_design
04 instructional system_design04 instructional system_design
04 instructional system_designAthit Thongkum
 

What's hot (18)

นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอน
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
 
ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ชุดสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
 
การพัฒนานวัตกรรมการสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
การพัฒนานวัตกรรมการสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์การพัฒนานวัตกรรมการสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
การพัฒนานวัตกรรมการสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
 
บันทึกการทดลองใช้นวัตกรรม
บันทึกการทดลองใช้นวัตกรรมบันทึกการทดลองใช้นวัตกรรม
บันทึกการทดลองใช้นวัตกรรม
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรกระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
 
สถานการณ์ Constructivist theory
สถานการณ์ Constructivist theoryสถานการณ์ Constructivist theory
สถานการณ์ Constructivist theory
 
รูปแบบ Dru เพื่อส่งเสริม meta cognition สำหรับนักศึกษา สาขาวิชาชีพครู
รูปแบบ Dru เพื่อส่งเสริม meta cognition   สำหรับนักศึกษา สาขาวิชาชีพครูรูปแบบ Dru เพื่อส่งเสริม meta cognition   สำหรับนักศึกษา สาขาวิชาชีพครู
รูปแบบ Dru เพื่อส่งเสริม meta cognition สำหรับนักศึกษา สาขาวิชาชีพครู
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
 
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
 
04 instructional system_design
04 instructional system_design04 instructional system_design
04 instructional system_design
 

Viewers also liked

ความหมายและความสำคัญของเทคโนโลยีทางการศึกษา
ความหมายและความสำคัญของเทคโนโลยีทางการศึกษาความหมายและความสำคัญของเทคโนโลยีทางการศึกษา
ความหมายและความสำคัญของเทคโนโลยีทางการศึกษาณัฐวุฒิ จารุวงศ์
 
サバソニ#005 さーばーわーくす幼稚園説明会
サバソニ#005 さーばーわーくす幼稚園説明会サバソニ#005 さーばーわーくす幼稚園説明会
サバソニ#005 さーばーわーくす幼稚園説明会Akira Nagata
 
[DevLove甲子園2014西日本大会]ユーザ系情報システム会社からCIerへ
[DevLove甲子園2014西日本大会]ユーザ系情報システム会社からCIerへ[DevLove甲子園2014西日本大会]ユーザ系情報システム会社からCIerへ
[DevLove甲子園2014西日本大会]ユーザ系情報システム会社からCIerへAkira Nagata
 
DevLOVE関西2016.2.5 地道にAWS構築自動化に取り組んでいるお話し
DevLOVE関西2016.2.5 地道にAWS構築自動化に取り組んでいるお話しDevLOVE関西2016.2.5 地道にAWS構築自動化に取り組んでいるお話し
DevLOVE関西2016.2.5 地道にAWS構築自動化に取り組んでいるお話しAkira Nagata
 
Process auditing as per VDA 6.3
Process auditing as per VDA 6.3Process auditing as per VDA 6.3
Process auditing as per VDA 6.3Kiran Walimbe
 

Viewers also liked (16)

Emerging technologies in teaching and learning
Emerging technologies in teaching and learningEmerging technologies in teaching and learning
Emerging technologies in teaching and learning
 
201704 TPOL - presentation - update
201704 TPOL - presentation - update201704 TPOL - presentation - update
201704 TPOL - presentation - update
 
Ch6 cognitive weapons 201700
Ch6 cognitive weapons 201700Ch6 cognitive weapons 201700
Ch6 cognitive weapons 201700
 
201704 - th - cognitive weapons
201704  - th - cognitive weapons201704  - th - cognitive weapons
201704 - th - cognitive weapons
 
ความหมายและความสำคัญของเทคโนโลยีทางการศึกษา
ความหมายและความสำคัญของเทคโนโลยีทางการศึกษาความหมายและความสำคัญของเทคโนโลยีทางการศึกษา
ความหมายและความสำคัญของเทคโนโลยีทางการศึกษา
 
201703-natthawut
201703-natthawut201703-natthawut
201703-natthawut
 
Behaviorvism cognitive weapon v2
Behaviorvism cognitive weapon v2Behaviorvism cognitive weapon v2
Behaviorvism cognitive weapon v2
 
Emerging tech in teaching and learning
Emerging tech in teaching and learningEmerging tech in teaching and learning
Emerging tech in teaching and learning
 
Behaviorvism 201701 cognitive weapon
Behaviorvism 201701 cognitive weaponBehaviorvism 201701 cognitive weapon
Behaviorvism 201701 cognitive weapon
 
201704 TPOL presentation
201704 TPOL presentation201704 TPOL presentation
201704 TPOL presentation
 
chapter 5 computer for education
chapter 5 computer for educationchapter 5 computer for education
chapter 5 computer for education
 
Computer Programming Languages_Cognitive Tools
Computer Programming Languages_Cognitive ToolsComputer Programming Languages_Cognitive Tools
Computer Programming Languages_Cognitive Tools
 
サバソニ#005 さーばーわーくす幼稚園説明会
サバソニ#005 さーばーわーくす幼稚園説明会サバソニ#005 さーばーわーくす幼稚園説明会
サバソニ#005 さーばーわーくす幼稚園説明会
 
[DevLove甲子園2014西日本大会]ユーザ系情報システム会社からCIerへ
[DevLove甲子園2014西日本大会]ユーザ系情報システム会社からCIerへ[DevLove甲子園2014西日本大会]ユーザ系情報システム会社からCIerへ
[DevLove甲子園2014西日本大会]ユーザ系情報システム会社からCIerへ
 
DevLOVE関西2016.2.5 地道にAWS構築自動化に取り組んでいるお話し
DevLOVE関西2016.2.5 地道にAWS構築自動化に取り組んでいるお話しDevLOVE関西2016.2.5 地道にAWS構築自動化に取り組んでいるお話し
DevLOVE関西2016.2.5 地道にAWS構築自動化に取り組んでいるお話し
 
Process auditing as per VDA 6.3
Process auditing as per VDA 6.3Process auditing as per VDA 6.3
Process auditing as per VDA 6.3
 

Similar to 201704_cognitive_weapon

Similar to 201704_cognitive_weapon (20)

Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
Ch 2
Ch 2Ch 2
Ch 2
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
 
Teacher
Teacher Teacher
Teacher
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
project
projectproject
project
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1
 
Utq 2128 1-pdf
Utq 2128 1-pdfUtq 2128 1-pdf
Utq 2128 1-pdf
 
Ppt
PptPpt
Ppt
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Kku5
Kku5Kku5
Kku5
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่มเทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 

201704_cognitive_weapon