SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
Download to read offline
การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อม ทางการเรียนรู้ 
นายณัฐวุฒิ จารุวงศ์ รหัสนักศึกษา 575050184-1 
สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา (โครงการพิเศษ) 
วิชา 201701เทคโนโลยีการศึกษาและการออกแบบการสอน
1) ทฤษฎีที่ใช้เป็นพื้นฐานในการออกแบบ ประกอบด้วยอะไรบ้าง พร้อมอธิบาย 
การออกแบบการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์(Constructivism) 
Jonassen(1999) 
การทากิจกรรม (Active) 
การสร้างความรู้ (constructive) 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ (collaborative) 
ความตั้งใจ (intentional) 
ความซับซ้อน (complex) 
สภาพและบริบท (contextual) 
การสนทนา (conversational) 
การสะท้อนผล (reflective)
สุมาลี ชัยเจริญ (2547) 
ได้กล่าวถึงการออกแบบสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ตามหลักการคอนสตรัคติวิสต์ 
1. คาถาม กรณี ปัญหา หรือโครงงาน 
-บริบทของปัญหา 
-การนาเสนอ ปัญหา / การ จาลองเหตุการณ์ 
-พื้นที่สาหรับการ แก้ปัญหา 
2. กรณีที่ เกี่ยวข้อง 
3. แหล่งข้อมูล 
4. เครื่องมือ ทางปัญญาใน การสร้าง ความรู้ (cognitive tool) 
5. เครื่องมือ ในการ สนทนาและ การร่วมมือ กันแก้ปัญหา 
6. การ สนับสนุน ทางสังคม หรือบริบท
หลักการของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้แบบเปิด 
OLEs (Open Learning Environments) (Hanafin, 1999) 
สนับสนุนการคิดแบบ อเนกนัย (divergent thinking) และ มุมมองที่หลากหลาย 
เกี่ยวข้องกับการ กระตุ้นหาวิธีการให้ เกิดการเรียนรู้ด้วย ตนเอง (heuristics- based learning) 
สถานการณ์ปัญหาของ ผู้เรียนเป็นปัญหาที่ คลุมเครือไม่ (ill- defined and ill- structure) 
ประสบการณ์ส่วน บุคคล และ ความรู้ เดิม มีความสาคัญ มาก ในการเรียนรู้ 
เอื้ออานวยให้เกิด Metacognitive active และ Scaffolding metacognitvieinquiry Processes
2) มีองค์ประกอบอะไรบ้างในสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ 
บริบท/สถานการณ์ปัญหา 
แหล่งสืบค้นความรู้เพิ่มเติม/ เครื่องมือทางปัญญา (ธนาคาร ความรู้, สื่อออนไลน์ เช่น Google, Wikipedia, Blog) 
ฐานการช่วยเหลือ / ร่วมกันแก้ปัญหา / คุยกับผู้เชียวชาญ
3) เทคโนโลยีที่ใช้คืออะไร มีคุณลักษณะที่สาคัญอย่างไร 
Web Based Learning 
การจัดระบบการเรียนการสอนออนไลน์ในปัจจุบัน ได้ก้าวเข้าสู่การใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตเป็น สื่อในการนาเสนอ โดยมีรูปแบบการนาเสนอผลงานแบ่งได้ 2 รูปแบบใหญ่ๆ 
การนาเสนอในลักษณะ 
Web Based Learning 
การนาเสนอในลักษณะ 
E-Learning
3) เทคโนโลยีที่ใช้คืออะไร มีคุณลักษณะที่สาคัญอย่างไร 
สื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) 
สังคมออนไลน์ที่มีผู้ใช้เป็นผู้สื่อสาร หรือเขียนเล่า เนื้อหา เรื่องราวประสบการณ์ บทความรูปภาพ และวิดีโอ ที่ผู้ใช้เขียนขึ้นเอง ทาขึ้นเอง หรือพบเจอจากสื่ออื่นๆ แล้วนามาแบ่งปันให้กับผู้อื่นที่อยู่ ในเครือข่ายของตน ผ่านทางเว็บไซต์ Social Network ที่ให้บริการบนโลกออนไลน์ ลักษณะที่เอื้อ ต่อการเรียนรู้ 
การสร้าง ความสัมพันธ์ ระหว่างสังคม ในชั้น ห้องเรียน 
การกระตุ้น ให้เกิด การศึกษา ค้นคว้า การ แลกเปลี่ยน เรียนรู้ที่ กว้างขวาง 
การส่งเสริม การศึกษา ตามความ สนใจและ ความถนัด 
การส่งเสริม การบันทึก และการอ่าน การเผยแพร่ ผ่านเครือข่าย สังคม ออนไลน์
4) การใช้เทคโนโลยี เพื่อสร้างสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ E-book 
"หนังสืออิเล็กทรอนิกส์" จัดทาด้วยคอมพิวเตอร์แล สามารถอ่านได้จากหน้า จอคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์อื่นๆ อาทิ สมาร์ทโฟนแท๊บเล็ทลักษณะคล้ายกับ การเปิดอ่านจากหนังสือ ที่เป็นกระดาษ ซึ่งสามารถเชื่อมโยง (Link) กับหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์เล่มอื่นๆได้ เพราะอยู่บนเครือข่าย อินเตอร์เน็ต พร้อมแสดง ข้อความ รูปภาพ เสียง และภาพเคลื่อนไหวได้ เราสามารถอ่านหนังสือ ค้นหา ข้อมูล และสอบถามข้อมูลต่างๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศทั่วโลกได้
ข้อดีของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ 
นำจุดเด่นของสื่อแบบต่ำงๆ มำรวมอยู่ในสื่อ ตัวเดียว แสดงภำพ แสง เสียง ภำพเคลื่อนไหว และกำรมีปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้ 
ช่วยให้ผู้เรียนเกิดพัฒนำกำรเรียนรู้และเข้ำใจ เนื้อหำวิชำได้เร็วขึ้น 
ชักจูงผู้เรียนในกำรอ่ำน, กำรเขียน, กำรฟังและ กำรพูดได้ 
มีควำมสำมำรถในกำรออนไลน์ผ่ำนเครือข่ำย และเชื่อมโยงได้ 
เผยแพร่สื่อทำได้อย่ำงรวดเร็วและกว้ำงขว้ำง กว่ำสื่อที่อยู่ในรูปสิ่งพิมพ์ 
สนับสนุนกำรเรียนกำรสอนแบบห้องเรียน เสมือน ห้องสมุดเสมือนและห้องสมุด อิเล็กทรอนิกส์ 
กำรพิมพ์ทำได้รวดเร็วกว่ำแบบใช้กระดำษ 
มีลักษณะไม่ตำยตัว สำมำรถแก้ไขปรับปรุง เปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลำ 
มีควำมทนทำนและสะดวกต่อกำรเก็บ บำรุงรักษำ
วิธีการใช้งาน 
ออกแบบและ กาหนดขอบเขต เนื้อหาที่ต้องการ นาเสนอ 
สร้างบริบทและ สถานการณ์ปัญหา ในลักษณะ PBL (Problem Based Learning) กระตุ้น ให้เกิดการสร้าง โครงสร้างทาง ปัญญาโดยการทา ให้เกิดการเสีย สมดุลย์ทางปัญญา 
แหล่งสืบค้นความรู้ เพิ่มเติมหรือฐาน การช่วยเหลือ (Scaffolding) ช่วย ในการสร้างการ เรียนรู้และปรับ สมดุลย์ทางปัญญา
ขอบคุณครับ

More Related Content

What's hot

บทที่7นวัตกรรมทางการเรียนรู้
บทที่7นวัตกรรมทางการเรียนรู้บทที่7นวัตกรรมทางการเรียนรู้
บทที่7นวัตกรรมทางการเรียนรู้Nichaya100376
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Chaya Kunnock
 
เทคนิคการสอนยุค It2
เทคนิคการสอนยุค It2เทคนิคการสอนยุค It2
เทคนิคการสอนยุค It2Prachyanun Nilsook
 
ความหมายของการเรียนบนเครือข่าย
ความหมายของการเรียนบนเครือข่ายความหมายของการเรียนบนเครือข่าย
ความหมายของการเรียนบนเครือข่ายวัชเรศวร์ ภูขมัง
 
งานนำเสนอ Chapter 7
งานนำเสนอ Chapter 7งานนำเสนอ Chapter 7
งานนำเสนอ Chapter 7Markker Promma
 
Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10Zhao Er
 
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา วีรวัฒน์ สว่างแสง
 
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่noiiso_M2
 

What's hot (13)

Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
บทที่7นวัตกรรมทางการเรียนรู้
บทที่7นวัตกรรมทางการเรียนรู้บทที่7นวัตกรรมทางการเรียนรู้
บทที่7นวัตกรรมทางการเรียนรู้
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
เทคนิคการสอนยุค It2
เทคนิคการสอนยุค It2เทคนิคการสอนยุค It2
เทคนิคการสอนยุค It2
 
ความหมายของการเรียนบนเครือข่าย
ความหมายของการเรียนบนเครือข่ายความหมายของการเรียนบนเครือข่าย
ความหมายของการเรียนบนเครือข่าย
 
Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
งานนำเสนอ Chapter 7
งานนำเสนอ Chapter 7งานนำเสนอ Chapter 7
งานนำเสนอ Chapter 7
 
Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
 
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
 
201704 open ended-research
201704 open ended-research201704 open ended-research
201704 open ended-research
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 

Similar to 575050184-1 _201701-learning environment analysis

บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7Pari Za
 
หลักการออกแบบสื่อการสอน
หลักการออกแบบสื่อการสอนหลักการออกแบบสื่อการสอน
หลักการออกแบบสื่อการสอนKrookhuean Moonwan
 
ICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading PromotionICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading Promotiondecnun
 
สัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยา
สัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยาสัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยา
สัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยาSani Satjachaliao
 
Development of Virtual network Model for Knowledge Sharing in Multicultural E...
Development of Virtual network Model for Knowledge Sharing in Multicultural E...Development of Virtual network Model for Knowledge Sharing in Multicultural E...
Development of Virtual network Model for Knowledge Sharing in Multicultural E...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
การพัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้อย่างร...
การพัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้อย่างร...การพัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้อย่างร...
การพัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้อย่างร...Wichit Chawaha
 
การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร
การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารการพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร
การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารpataravadee1
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1Ailada_oa
 
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
"aect ecucational technology"
"aect ecucational technology""aect ecucational technology"
"aect ecucational technology"Wichit Chawaha
 
Aect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu techAect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu techWichit Chawaha
 
Model of learning by social media
Model of learning by social mediaModel of learning by social media
Model of learning by social mediaKrit Chanthraphrom
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 

Similar to 575050184-1 _201701-learning environment analysis (20)

Peeeyanan1
Peeeyanan1Peeeyanan1
Peeeyanan1
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
หลักการออกแบบสื่อการสอน
หลักการออกแบบสื่อการสอนหลักการออกแบบสื่อการสอน
หลักการออกแบบสื่อการสอน
 
Teacher
Teacher Teacher
Teacher
 
201704_cognitive_weapon
201704_cognitive_weapon201704_cognitive_weapon
201704_cognitive_weapon
 
ICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading PromotionICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading Promotion
 
สัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยา
สัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยาสัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยา
สัปดาห์ที่ 1 การเรียนทฤษฎีสังคมวิทยา
 
Development of Virtual network Model for Knowledge Sharing in Multicultural E...
Development of Virtual network Model for Knowledge Sharing in Multicultural E...Development of Virtual network Model for Knowledge Sharing in Multicultural E...
Development of Virtual network Model for Knowledge Sharing in Multicultural E...
 
การพัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้อย่างร...
การพัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้อย่างร...การพัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้อย่างร...
การพัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้อย่างร...
 
การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร
การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารการพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร
การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
 
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
 
"aect ecucational technology"
"aect ecucational technology""aect ecucational technology"
"aect ecucational technology"
 
Aect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu techAect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu tech
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Innovation
InnovationInnovation
Innovation
 
Innovation...
Innovation...Innovation...
Innovation...
 
Model of learning by social media
Model of learning by social mediaModel of learning by social media
Model of learning by social media
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 

More from ณัฐวุฒิ จารุวงศ์

ความหมายและความสำคัญของเทคโนโลยีทางการศึกษา
ความหมายและความสำคัญของเทคโนโลยีทางการศึกษาความหมายและความสำคัญของเทคโนโลยีทางการศึกษา
ความหมายและความสำคัญของเทคโนโลยีทางการศึกษาณัฐวุฒิ จารุวงศ์
 

More from ณัฐวุฒิ จารุวงศ์ (15)

201704 TPOL - presentation - update
201704 TPOL - presentation - update201704 TPOL - presentation - update
201704 TPOL - presentation - update
 
201704 TPOL presentation
201704 TPOL presentation201704 TPOL presentation
201704 TPOL presentation
 
Ch6 cognitive weapons 201700
Ch6 cognitive weapons 201700Ch6 cognitive weapons 201700
Ch6 cognitive weapons 201700
 
201704 - th - cognitive weapons
201704  - th - cognitive weapons201704  - th - cognitive weapons
201704 - th - cognitive weapons
 
chapter 5 computer for education
chapter 5 computer for educationchapter 5 computer for education
chapter 5 computer for education
 
Chapter5 201700 สื่อการเรียนรู้
Chapter5 201700 สื่อการเรียนรู้ Chapter5 201700 สื่อการเรียนรู้
Chapter5 201700 สื่อการเรียนรู้
 
Cognitive tools - 201704 - Cognitive Weapon
Cognitive tools - 201704 - Cognitive WeaponCognitive tools - 201704 - Cognitive Weapon
Cognitive tools - 201704 - Cognitive Weapon
 
Behaviorvism cognitive weapon v2
Behaviorvism cognitive weapon v2Behaviorvism cognitive weapon v2
Behaviorvism cognitive weapon v2
 
Behaviorvism 201701 cognitive weapon
Behaviorvism 201701 cognitive weaponBehaviorvism 201701 cognitive weapon
Behaviorvism 201701 cognitive weapon
 
201703-natthawut
201703-natthawut201703-natthawut
201703-natthawut
 
Chapter 3 instructional design - 201700
Chapter 3 instructional design - 201700Chapter 3 instructional design - 201700
Chapter 3 instructional design - 201700
 
Emerging tech in teaching and learning
Emerging tech in teaching and learningEmerging tech in teaching and learning
Emerging tech in teaching and learning
 
Emerging technologies in teaching and learning
Emerging technologies in teaching and learningEmerging technologies in teaching and learning
Emerging technologies in teaching and learning
 
Computer Programming Languages_Cognitive Tools
Computer Programming Languages_Cognitive ToolsComputer Programming Languages_Cognitive Tools
Computer Programming Languages_Cognitive Tools
 
ความหมายและความสำคัญของเทคโนโลยีทางการศึกษา
ความหมายและความสำคัญของเทคโนโลยีทางการศึกษาความหมายและความสำคัญของเทคโนโลยีทางการศึกษา
ความหมายและความสำคัญของเทคโนโลยีทางการศึกษา
 

575050184-1 _201701-learning environment analysis

  • 1. การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อม ทางการเรียนรู้ นายณัฐวุฒิ จารุวงศ์ รหัสนักศึกษา 575050184-1 สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา (โครงการพิเศษ) วิชา 201701เทคโนโลยีการศึกษาและการออกแบบการสอน
  • 2.
  • 3. 1) ทฤษฎีที่ใช้เป็นพื้นฐานในการออกแบบ ประกอบด้วยอะไรบ้าง พร้อมอธิบาย การออกแบบการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์(Constructivism) Jonassen(1999) การทากิจกรรม (Active) การสร้างความรู้ (constructive) การเรียนรู้แบบร่วมมือ (collaborative) ความตั้งใจ (intentional) ความซับซ้อน (complex) สภาพและบริบท (contextual) การสนทนา (conversational) การสะท้อนผล (reflective)
  • 4. สุมาลี ชัยเจริญ (2547) ได้กล่าวถึงการออกแบบสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ตามหลักการคอนสตรัคติวิสต์ 1. คาถาม กรณี ปัญหา หรือโครงงาน -บริบทของปัญหา -การนาเสนอ ปัญหา / การ จาลองเหตุการณ์ -พื้นที่สาหรับการ แก้ปัญหา 2. กรณีที่ เกี่ยวข้อง 3. แหล่งข้อมูล 4. เครื่องมือ ทางปัญญาใน การสร้าง ความรู้ (cognitive tool) 5. เครื่องมือ ในการ สนทนาและ การร่วมมือ กันแก้ปัญหา 6. การ สนับสนุน ทางสังคม หรือบริบท
  • 5. หลักการของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้แบบเปิด OLEs (Open Learning Environments) (Hanafin, 1999) สนับสนุนการคิดแบบ อเนกนัย (divergent thinking) และ มุมมองที่หลากหลาย เกี่ยวข้องกับการ กระตุ้นหาวิธีการให้ เกิดการเรียนรู้ด้วย ตนเอง (heuristics- based learning) สถานการณ์ปัญหาของ ผู้เรียนเป็นปัญหาที่ คลุมเครือไม่ (ill- defined and ill- structure) ประสบการณ์ส่วน บุคคล และ ความรู้ เดิม มีความสาคัญ มาก ในการเรียนรู้ เอื้ออานวยให้เกิด Metacognitive active และ Scaffolding metacognitvieinquiry Processes
  • 6. 2) มีองค์ประกอบอะไรบ้างในสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ บริบท/สถานการณ์ปัญหา แหล่งสืบค้นความรู้เพิ่มเติม/ เครื่องมือทางปัญญา (ธนาคาร ความรู้, สื่อออนไลน์ เช่น Google, Wikipedia, Blog) ฐานการช่วยเหลือ / ร่วมกันแก้ปัญหา / คุยกับผู้เชียวชาญ
  • 7. 3) เทคโนโลยีที่ใช้คืออะไร มีคุณลักษณะที่สาคัญอย่างไร Web Based Learning การจัดระบบการเรียนการสอนออนไลน์ในปัจจุบัน ได้ก้าวเข้าสู่การใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตเป็น สื่อในการนาเสนอ โดยมีรูปแบบการนาเสนอผลงานแบ่งได้ 2 รูปแบบใหญ่ๆ การนาเสนอในลักษณะ Web Based Learning การนาเสนอในลักษณะ E-Learning
  • 8. 3) เทคโนโลยีที่ใช้คืออะไร มีคุณลักษณะที่สาคัญอย่างไร สื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) สังคมออนไลน์ที่มีผู้ใช้เป็นผู้สื่อสาร หรือเขียนเล่า เนื้อหา เรื่องราวประสบการณ์ บทความรูปภาพ และวิดีโอ ที่ผู้ใช้เขียนขึ้นเอง ทาขึ้นเอง หรือพบเจอจากสื่ออื่นๆ แล้วนามาแบ่งปันให้กับผู้อื่นที่อยู่ ในเครือข่ายของตน ผ่านทางเว็บไซต์ Social Network ที่ให้บริการบนโลกออนไลน์ ลักษณะที่เอื้อ ต่อการเรียนรู้ การสร้าง ความสัมพันธ์ ระหว่างสังคม ในชั้น ห้องเรียน การกระตุ้น ให้เกิด การศึกษา ค้นคว้า การ แลกเปลี่ยน เรียนรู้ที่ กว้างขวาง การส่งเสริม การศึกษา ตามความ สนใจและ ความถนัด การส่งเสริม การบันทึก และการอ่าน การเผยแพร่ ผ่านเครือข่าย สังคม ออนไลน์
  • 9. 4) การใช้เทคโนโลยี เพื่อสร้างสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ E-book "หนังสืออิเล็กทรอนิกส์" จัดทาด้วยคอมพิวเตอร์แล สามารถอ่านได้จากหน้า จอคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์อื่นๆ อาทิ สมาร์ทโฟนแท๊บเล็ทลักษณะคล้ายกับ การเปิดอ่านจากหนังสือ ที่เป็นกระดาษ ซึ่งสามารถเชื่อมโยง (Link) กับหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์เล่มอื่นๆได้ เพราะอยู่บนเครือข่าย อินเตอร์เน็ต พร้อมแสดง ข้อความ รูปภาพ เสียง และภาพเคลื่อนไหวได้ เราสามารถอ่านหนังสือ ค้นหา ข้อมูล และสอบถามข้อมูลต่างๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศทั่วโลกได้
  • 10.
  • 11. ข้อดีของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ นำจุดเด่นของสื่อแบบต่ำงๆ มำรวมอยู่ในสื่อ ตัวเดียว แสดงภำพ แสง เสียง ภำพเคลื่อนไหว และกำรมีปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้ ช่วยให้ผู้เรียนเกิดพัฒนำกำรเรียนรู้และเข้ำใจ เนื้อหำวิชำได้เร็วขึ้น ชักจูงผู้เรียนในกำรอ่ำน, กำรเขียน, กำรฟังและ กำรพูดได้ มีควำมสำมำรถในกำรออนไลน์ผ่ำนเครือข่ำย และเชื่อมโยงได้ เผยแพร่สื่อทำได้อย่ำงรวดเร็วและกว้ำงขว้ำง กว่ำสื่อที่อยู่ในรูปสิ่งพิมพ์ สนับสนุนกำรเรียนกำรสอนแบบห้องเรียน เสมือน ห้องสมุดเสมือนและห้องสมุด อิเล็กทรอนิกส์ กำรพิมพ์ทำได้รวดเร็วกว่ำแบบใช้กระดำษ มีลักษณะไม่ตำยตัว สำมำรถแก้ไขปรับปรุง เปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลำ มีควำมทนทำนและสะดวกต่อกำรเก็บ บำรุงรักษำ
  • 12. วิธีการใช้งาน ออกแบบและ กาหนดขอบเขต เนื้อหาที่ต้องการ นาเสนอ สร้างบริบทและ สถานการณ์ปัญหา ในลักษณะ PBL (Problem Based Learning) กระตุ้น ให้เกิดการสร้าง โครงสร้างทาง ปัญญาโดยการทา ให้เกิดการเสีย สมดุลย์ทางปัญญา แหล่งสืบค้นความรู้ เพิ่มเติมหรือฐาน การช่วยเหลือ (Scaffolding) ช่วย ในการสร้างการ เรียนรู้และปรับ สมดุลย์ทางปัญญา
  • 13.
  • 14.
  • 15.
  • 16.
  • 17.
  • 18.
  • 19.
  • 20.
  • 21.
  • 22.
  • 23.