SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
รายวิชา 241208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
อาจารย์รัศมี ดรชานนท์
อาจารย์พิเศษ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ในชั่วโมงที่ศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน คือ วิชา พระพุทธศาสนา
ศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
1. เน้นให้เด็กแสดงความคิดเห็นโดยการยกมือตอบคาถาม เน้นนาเสนอ
สถานการณ์ปัญหามา
2. ศึกษาการจัดการเรียนการสอนของญี่ปุ่น ฟินแลนด์ เยอรมัน มา
ประยุกต์เข้ากับยักเรียน คือ ไม่เน้นเนื้อหาเยอะ และการนาเอาความรู้
ที่ได้ไปใช้ในชีวิต
3. นาเอานวัตกรรมOpen สื่อกราฟิก การ์ตูนหรือนิทาน มาใช้ในการ
เรียนการสอน
อาจารย์มีขั้นตอนการจัดการเรียนการสอนดังนี้
4. ใช้กลวิธีกับคนที่ไม่ค่อยตอบคาถามคือหักคะแนนพฤติกรรม
5. ใช้จิตวิทยาในการสอนมาใช้กับเด็ก
6. ตอนท้ายอาจารย์จะสรุปความรู้ที่เป็นความคิดรวบยอด พูด
ยกตัวอย่างสถานการณ์ให้นักเรียนได้คิดวิเคราะห์ตามเชื่อมโยงข้อมูล
ความรู้และให้ข้อคิดแก่นักเรียน
สื่อ อุปกรณ์หรือมีการใช้ ICT
ได้แก่ Projector PowerPoint computer
ซึ่งจะมีภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหวประกอบการเรียนการ
สอนทาให้ผู้เรียนสนใจในเนื้อหาที่เรียนมากขึ้น
• นักเรียนได้มีความกล้าแสดงความคิดเห็นของแต่ละคน
• นักเรียนได้รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
• นักเรียนถูกซึมซับความรู้ จาการสร้างความรู้ใหม่โดยการคิดวิเคราะห์ตา
มาตัวอย่างหรือสถานการณ์ที่อาจารย์ยกตัวอย่าง
• นักเรียนได้ใช้กระบวนการคิดเพื่อเสาะแสวงหาเพื่อไปแสดงความ
คิดเห็น
นักเรียนได้ปฏิบัติในการจัดการเรียนการสอนของอาจารย์ดังนี้
อาจารย์การออกแบบการเรียนการสอนอย่างไร?
อาจารย์ได้มีการดูการจัดการศึกษาของหลายๆประเทศ เช่น ญี่ปุ่น
ฟินแลนด์ เยอรมัน เป็นต้น แล้วนามาปรับใช้กับการเรียนการสอนของอาจารย์
เอง คิดว่าเราอยากให้เด็กของเราเป็นอย่างไร อาจารย์ก็จะออกแบบแผนการ
จัดการเรียนรู้นั้น โดยจะมีการนาเอานวัตกรรมต่างๆ เกมส์ สื่อกราฟิกมาใช้ก็
ได้ จะไม่เน้นเนื้อหาที่เยอะเกินไปแต่จะเน้นหลักๆให้เด็กได้แสดงความคิดเห็น
นาสถานการณ์มาให้เด็กคิด แล้วพยายามให้เด็กแสดงออกโดยการยกมือตอบ
คาถาม แสดงความคิดเพื่อให้เพื่อนๆคนอื่นรู้ว่าเพื่อนอีกคนมีความคิดอย่างไร
พยายามให้เด็กคิดให้มาก การที่เด็กยกมือตอบคาถามแสดงว่าเด็กกาลังคิดและ
ตั้งใจเรียนวิชาของเราอยู่ ถ้าหากเด็กไม่ยกมือตอบคาถาม ง่วงหรือหลับก็แสดง
ว่าเค้าไม่ตั้งใจเรียนวิชาของเรา หรือใจกาลังคิดเรื่องอื่นอยู่
อาจารย์ได้จัดการเรียนรู้ตามแนวคิด/ทฤษฎี ดังนี้
1. ทฤษฏีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรม (Behavioral Theories)
-ทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบลงมือกระทา (Operant Conditioning
Theory) โดยแนวคิดของสกินเนอร์ (Skinner) คือ เป็นการเรียนรู้เกิดจากการลงมือ
กระทา และถ้าหากได้รับการเสริมแรงจะทาให้เกิดพฤติกรรมนั้นซ้าอีก
ซึ่งจากแนวคิดดังกล่าว อาจารย์ผู้สอนได้ให้แรงเสริมกับนักเรียนกระตุ้นเพื่อให้
นักเรียนตอบ เป็นการเสริมแรงทางบวก คือการใช้คาพูด สภาพการณ์ในห้องเรียนที่
กระตุ้นให้เด็กแสดงความคิดเห็น และการเสริมแรงทางลบ คือ จะชี้เป็นรายคน หรือ
พูดตักเตือนผู้เรียนที่คุยกัน แล้วผู้เรียนคนนั้นก็จะรู้ว่าตัวเองพูดคุยกัน ส่งผลให้เพื่อนๆใน
ชั้นเรียนทุกคนก็จะตั้งใจฟังครูมากยิ่งขึ้น เพราะไม่อยากโดนชี้ตักเตือนรายคนทั้งนี้รวมไป
ถึงการแสดงความเห็นในชั้นเรียนที่เป็นแรงเสริมทาให้นักเรียนกล้ายกมือที่จะตอบมาก
ยิ่งขึ้นเพราะทุกคาตอบคุณครูจะรับฟังทั้งหมด
2. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivisit Theories)
หลักการของ Social Constructivist Theory ของVygotsky ที่
มุ่งเน้นการสร้างความรู้มากกว่าการรับความรรู้ทั้งนี้เชื่อว่าการเรียรู้เป็น
กระบวนการที่เกิดขึ้นภายในของผู้เรียน
จากหลักการดังกล่าวเป็นสิ่งที่อาจารย์นามาใช้ให้นักเรียนกล้าคิด กล้า
แสดงออก ในการนาเสนอความรู้ที่ตนมี นอกจากนี้หากรับฟังเพื่อนๆและ
อาจารย์อีกก็จะเป็นการเติมเต็มและอธิบายความรู้ให้เข้าใจมากยิ่งขึ้นจากการ
คิดวิเคราะห์ของผู้เรียนทั้งนี้ โดยใช้เทคโนโลยีเป็นสื่อสนับสนุนกิจกรรมที่ช่วย
ผู้เรียนในการเรียนรู้อย่างมีความหมาย ให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ ในสื่อที่แสดง
เพื่อให้เด็กได้รับข้อมูลความรู้ในระว่างการเรียนการสอนไปด้วย
3. ทฤษฎีสกีมา (Schema Theory)
เป็นการนาข้อมูลใหม่เชื่อโยงข้อมูลเก่าที่มีอยู่และข้อมูลจะค่อยๆดูดซึม
ดังเช่นที่อาจารย์รัศมีให้นักเรียนได้แสดงออกความคิดเห็นเพื่อให้แลกเปลี่ยน
ข้อมูลใหม่จากเพื่อนๆในชั้นพอตอนท้าย อาจารย์ก็จะเพิ่มเติมในส่วนความรู้
ใหม่ที่เป็นความคิดรวบยอดให้ผู้เรียนคิดตาม มีการอุปมาอุปไมยเปรียบเทียบ
แยกแยะให้ข้อมูลเพื่อแสดงให้เห็นถึงผลที่ตามมาทาให้นกเรียนเข้าใจมาก
ยิ่งขึ้น
4. เมนทอลโมเดล (Mental Models)
คือสิ่งที่สร้างแทนความรู้ในความจาขณะที่ผู้เรียนกาลังสามารถดาเนินการ
ทาความเข้าใจในระบบแก้ปัญหาหรือคาดการณ์อยู่ อาจารย์นาหลักเมนทอล
โมเดลมาใช้ในการประยุกต์สื่อให้น่าสนใจ เป็นสิ่งที่สร้างแทนความรู้สื่อให้เด็ก
เกิดความเข้าใจมากยิ่งขึ้น มีการจัดทาสื่อจากคอมพิวเตอร์ ภาพเคลื่อนไหว
ภาพนิ่ง แผนภาพ เป็นสื่อสัญลักษณ์ และใช้ภาษาที่คุ้นเคย รัดกุม กระชับ
จัดเป็นหมวดหมู่ เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจในเนื้อหาและคาศัพท์ที่ยากได้
อาจารย์ เอกราช ถ้ากลาง อาจารย์ประจาวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพล
ศึกษา โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาขอนแก่น (มอดินแดง) ฝ่ายประถมศึกษา
ศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
อาจารย์มีขั้นตอนการจัดการเรียนการสอนดังนี้
1. เมื่อเข้ามาในห้องเรียนอาจารย์จะทักทายนักเรียน และนักเรียนทุกคนทาความ
เคารพ
2. อาจารย์พูดเกริ่นนาเข้าสู่เนื้อเรื่องที่เรียน โดยให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นใน
ขอบเขตความรู้ที่นักเรียนมี หรือบอกให้นักเรียนตั้งใจและทาความเข้าใจกับสื่อการ
สอนที่เป็น ICT เช่น Clip video รูปภาพ เป็นต้น เพื่อตอบถามเมื่อดูสื่อนั้นจบ
3. ในระหว่างที่นักเรียนกาลังทาความเข้าใจในสื่อการสอน บางครั้งอาจมีนักเรียน
บางคนที่ไม่สนใจ ดังนั้นคุณครูอาจจะคอยเตือนให้นักเรียนสนใจในสื่อการเรียนการ
สอนนั้นๆ
4. เมื่อนักเรียนดูสื่อการสอนที่เป็นจบแล้วนั้น อาจารย์แจกใบงานที่ใช้คาถาม
เกี่ยวกับเนื้อหาของสื่อดังกล่าว เพื่อให้นักเรียนสรุปความคิดรวบยอดจากการดูสื่อ
การสอนข้างต้นชั่วโมง
5. ในขณะที่นักเรียนกาลังทาใบงาน อาจารย์จะต้องพยายามเดินดูนักเรียนทุกคน
คอยสังเกตว่านักเรียนมีความคิดรวบยอดเป็นเช่นไร หรือชี้นาบางประเด็นหาก
นักเรียนคนใดคนหนึ่งไม่สามารถสรุปความคิดรวบยอดนั้นได้
6. เมื่อนักเรียนทาใบงานเสร็จทุกคน ให้นักเรียนออกมาหน้าชั้นเรียนเพื่อนาเสนอ
ความคิดตัวเองหน้าชั้น
7. อาจารย์สรุปความคิดรวบยอดสั้นๆ เมื่อนักเรียนแสดงความคิดเห็นหน้าชั้นแล้ว
เพื่อให้เด็กได้คิดตามและสามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้ โดยบรรยายอ้างจากสื่อการ
สอนที่นามาให้ดู ชี้ให้เห็นถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้น เหตุและผลที่ตามมา
8. ให้นักเรียนส่งใบงานให้อาจารย์ตรวจภายในชั่วโมงเรียน
นักเรียนได้ปฏิบัติในการจัดการเรียนการสอนของอาจารย์ดังนี้
1. นักเรียนได้ฝึกคุณธรรมจริยธรรมคือการไหว้ทักทายอาจารย์เมื่อเข้าชั้นเรียน
2. นักเรียนได้เรียนรู้จากการเรียนการสอนผ่านสื่อที่เป็น ICT มากกว่าการได้รับความรู้
จากการบรรยายในชั้นเรียน
3. นักเรียนได้ใช้ทักษะ กระบวนการคิดวิเคราะห์จากสื่อการสอนที่อาจารย์นามาให้ดู เพื่อ
สรุปความคิดรวบยอดลงในใบงาน
4. นักเรียนได้ฝึกความกล้าแสดงออก กล้าที่จะแสดงความคิดเห็น ฝึกการคิดวิเคราะห์ รู้
เหตุและผลในความรู้ที่ได้เรียนในเรื่องนั้นๆ
อาจารย์การออกแบบการเรียนการสอนอย่างไร?
อาจารย์จะใช้วิธีที่ให้นักเรียนได้ดูจากสื่อการเรียนการสอนที่เป็นภาพ
หรือสื่อการเรียนการสอนที่เป็นภาพเคลื่อนไหวโดยให้นักเรียนได้ใช้
กระบวนการคิดเคราะห์ด้วยตนเองก่อนว่าตนเองมีความเข้าใจเป็นเช่นไร
หลังจากนั้นให้นักเรียนแสดงความเข้าใจที่ได้ดูจากกสื่อการเรียนการสอน
แล้วให้แสดงความคิดเห็นร่วมกับเพื่อนๆ ให้นักเรียนได้กล้าแสดงออกหน้า
ชั้น หลังจากนั้นคุณครูจึงจะสรุปความคิดรวบยอดทั้งหมดที่แท้จริง บอกถึง
เหตุและผล ความรู้และสิ่งที่ได้และชี้แนวทางในการนาไปใช้ นาไป
ประยุกต์ในการใช้ชีวิตออกไป
อาจารย์มีการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด ตาทฤษฎี ต่อไปนี้ ทฤษฎีการ
เรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivisit Theories) หลักการของ Social
Constructivist Theory ของVygotsky ที่มุ่งเน้นการสร้างความรู้มากกว่าการ
รับความรรู้ทั้งนี้เชื่อว่าการเรียรู้เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในของผู้เรียน
สภาพที่เกิดหรือหลักฐานเชิงประจักษ์ที่ชี้ชัด
1. อาจารย์ส่งเสริมการเข้าใจในความเป็นจริงจึงนาภาพและสื่อวิดีโอให้นักเรียน
ได้ศึกษา
2. นักเรียนได้ฝึกไตร่ตร่องและสรุปเป็นแนวความคิดของตน
3. อาจารย์ให้นักเรียนได้แลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดของตนให้ผู้อื่นฟัง
อาจารย์ได้จัดการเรียนรู้ตามแนวคิด/ทฤษฎี ดังนี้
สมาชิกในกลุ่ม
นางสาวเบญจลักษณ์ รายะนาคร
573050492-6
นางสาวชญานิศ เทียมตะขบ
573050471-4
นางสาวชลลดา ตั้งโชคดี
573050476-4

More Related Content

What's hot

สื่อการเรียนการสอน
สื่อการเรียนการสอนสื่อการเรียนการสอน
สื่อการเรียนการสอนChanida Supasa
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้Nat Thida
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้.
สื่อและแหล่งการเรียนรู้.สื่อและแหล่งการเรียนรู้.
สื่อและแหล่งการเรียนรู้.Nkidsana
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้Nat Thida
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้Sujitra ComEdu
 
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญอรรถกร ใจชาย
 
Chapter 4 1
Chapter 4 1Chapter 4 1
Chapter 4 1sinarack
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้Anny Hotelier
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้poms0077
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้poms0077
 
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทนวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทNGamtip
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้aumkpru45
 

What's hot (18)

สื่อการเรียนการสอน
สื่อการเรียนการสอนสื่อการเรียนการสอน
สื่อการเรียนการสอน
 
Ch6 cognitive weapons 201700
Ch6 cognitive weapons 201700Ch6 cognitive weapons 201700
Ch6 cognitive weapons 201700
 
08chap6
08chap608chap6
08chap6
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้.
สื่อและแหล่งการเรียนรู้.สื่อและแหล่งการเรียนรู้.
สื่อและแหล่งการเรียนรู้.
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
บทที่ ๗ สื่อและแหล่งการเรียนรู้
บทที่ ๗ สื่อและแหล่งการเรียนรู้บทที่ ๗ สื่อและแหล่งการเรียนรู้
บทที่ ๗ สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
Chapter 4 1
Chapter 4 1Chapter 4 1
Chapter 4 1
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
บทที่ 4
บทที่ 4 บทที่ 4
บทที่ 4
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทนวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
 
นวัตกรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษานวัตกรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษา
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 

Viewers also liked

Issara trf-present-2012
Issara trf-present-2012Issara trf-present-2012
Issara trf-present-2012Tar Bt
 
Online active learning
Online active learningOnline active learning
Online active learningTar Bt
 
รวมนำเสนอบทที่11
รวมนำเสนอบทที่11รวมนำเสนอบทที่11
รวมนำเสนอบทที่11preeyanan28373
 
ลักษณะ Ld
ลักษณะ Ldลักษณะ Ld
ลักษณะ LdPa'rig Prig
 
Mapทฤษฎีการเรียนรู้
Mapทฤษฎีการเรียนรู้Mapทฤษฎีการเรียนรู้
Mapทฤษฎีการเรียนรู้TupPee Zhouyongfang
 
Aspen Pharmacare invests in PMB application to automate order placement opera...
Aspen Pharmacare invests in PMB application to automate order placement opera...Aspen Pharmacare invests in PMB application to automate order placement opera...
Aspen Pharmacare invests in PMB application to automate order placement opera...Mint Group
 
What is your dream?
What is your dream?What is your dream?
What is your dream?Raya Stuiver
 
Nedbank expands investment in Microsoft Dynamics CRM
Nedbank expands investment in Microsoft Dynamics CRM Nedbank expands investment in Microsoft Dynamics CRM
Nedbank expands investment in Microsoft Dynamics CRM Mint Group
 
Sistemas Operativos
Sistemas OperativosSistemas Operativos
Sistemas Operativoslizkaryna
 
Microsoft Azure helps drive Mint app for Reimagine Using the platform to deve...
Microsoft Azure helps drive Mint app for Reimagine Using the platform to deve...Microsoft Azure helps drive Mint app for Reimagine Using the platform to deve...
Microsoft Azure helps drive Mint app for Reimagine Using the platform to deve...Mint Group
 
Mutual & Federal leverages off of SharePoint
Mutual & Federal leverages off of SharePoint Mutual & Federal leverages off of SharePoint
Mutual & Federal leverages off of SharePoint Mint Group
 
DAS PARCERIAS PÚBLICO-PRIVADAS
DAS PARCERIAS PÚBLICO-PRIVADASDAS PARCERIAS PÚBLICO-PRIVADAS
DAS PARCERIAS PÚBLICO-PRIVADASArthur0911
 
Jesus loves me (this i know)
Jesus loves me (this i know)Jesus loves me (this i know)
Jesus loves me (this i know)Raya Stuiver
 
Shankar Agarwal - Resume
Shankar Agarwal - ResumeShankar Agarwal - Resume
Shankar Agarwal - ResumeShankar Agarwal
 
5 Noteworthy Instagram Photo Idea For You To Post Today
5 Noteworthy Instagram Photo Idea For You To Post Today5 Noteworthy Instagram Photo Idea For You To Post Today
5 Noteworthy Instagram Photo Idea For You To Post TodayKaitlyn Study
 

Viewers also liked (20)

Issara trf-present-2012
Issara trf-present-2012Issara trf-present-2012
Issara trf-present-2012
 
Online active learning
Online active learningOnline active learning
Online active learning
 
รวมนำเสนอบทที่11
รวมนำเสนอบทที่11รวมนำเสนอบทที่11
รวมนำเสนอบทที่11
 
ลักษณะ Ld
ลักษณะ Ldลักษณะ Ld
ลักษณะ Ld
 
Conceptmap
ConceptmapConceptmap
Conceptmap
 
Mapทฤษฎีการเรียนรู้
Mapทฤษฎีการเรียนรู้Mapทฤษฎีการเรียนรู้
Mapทฤษฎีการเรียนรู้
 
Aspen Pharmacare invests in PMB application to automate order placement opera...
Aspen Pharmacare invests in PMB application to automate order placement opera...Aspen Pharmacare invests in PMB application to automate order placement opera...
Aspen Pharmacare invests in PMB application to automate order placement opera...
 
What is your dream?
What is your dream?What is your dream?
What is your dream?
 
Nedbank expands investment in Microsoft Dynamics CRM
Nedbank expands investment in Microsoft Dynamics CRM Nedbank expands investment in Microsoft Dynamics CRM
Nedbank expands investment in Microsoft Dynamics CRM
 
Why pray?
Why pray?Why pray?
Why pray?
 
Sistemas Operativos
Sistemas OperativosSistemas Operativos
Sistemas Operativos
 
Microsoft Azure helps drive Mint app for Reimagine Using the platform to deve...
Microsoft Azure helps drive Mint app for Reimagine Using the platform to deve...Microsoft Azure helps drive Mint app for Reimagine Using the platform to deve...
Microsoft Azure helps drive Mint app for Reimagine Using the platform to deve...
 
Mutual & Federal leverages off of SharePoint
Mutual & Federal leverages off of SharePoint Mutual & Federal leverages off of SharePoint
Mutual & Federal leverages off of SharePoint
 
las app
las applas app
las app
 
DAS PARCERIAS PÚBLICO-PRIVADAS
DAS PARCERIAS PÚBLICO-PRIVADASDAS PARCERIAS PÚBLICO-PRIVADAS
DAS PARCERIAS PÚBLICO-PRIVADAS
 
Jesus loves me (this i know)
Jesus loves me (this i know)Jesus loves me (this i know)
Jesus loves me (this i know)
 
Shankar Agarwal - Resume
Shankar Agarwal - ResumeShankar Agarwal - Resume
Shankar Agarwal - Resume
 
Details Presentation
Details PresentationDetails Presentation
Details Presentation
 
5 Noteworthy Instagram Photo Idea For You To Post Today
5 Noteworthy Instagram Photo Idea For You To Post Today5 Noteworthy Instagram Photo Idea For You To Post Today
5 Noteworthy Instagram Photo Idea For You To Post Today
 
106 2015
106 2015106 2015
106 2015
 

Similar to การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน

ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยJutamart Bungthong
 
งานนำเสนอ1 การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษา
งานนำเสนอ1  การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษางานนำเสนอ1  การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษา
งานนำเสนอ1 การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษาAmu P Thaiying
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่Beeby Bicky
 
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจShe's Kukkik Kanokporn
 
ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยVachii Ra
 
บทที่ 2 เซค 1
บทที่  2 เซค 1บทที่  2 เซค 1
บทที่ 2 เซค 1yaowalakMathEd
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยNoppasorn Boonsena
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้Noom Theerayut
 

Similar to การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน (20)

ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
งานนำเสนอ1 การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษา
งานนำเสนอ1  การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษางานนำเสนอ1  การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษา
งานนำเสนอ1 การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษา
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
Learning21
Learning21Learning21
Learning21
 
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วย
 
บทที่ 2 เซค 1
บทที่  2 เซค 1บทที่  2 เซค 1
บทที่ 2 เซค 1
 
ภารกิจครูผู้ช่วย2
ภารกิจครูผู้ช่วย2ภารกิจครูผู้ช่วย2
ภารกิจครูผู้ช่วย2
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพ
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
ใบงาน2 8
ใบงาน2 8ใบงาน2 8
ใบงาน2 8
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 4
บทที่ 4 บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 

การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน