SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
บทที่ 7
นวัตกรรมทางการศึกษา
ภารกิจที่ 1 อธิบายความหมายและจำาแนกประเภท
ของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
สุมาลี ชัยเจริญ(2547) กล่าวว่า สิ่งแวดล้อม
ทางการเรียนรู้ที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
เป็นการออกแบบที่ประสานร่วมกันระหว่าง ”
สื่อ(Media)” กับ “วิธีการ(Methods)” โดยการนำาทฤษฎี
คอนสตรัคติวิสต์ มาเป็นพื้นฐานในการออกแบบร่วมกับ
สื่อ ซึ่งมีคุณลักษณะของสื่อและระบบสัญลักษณ์ของสื่อ
ที่สนับสนุนการสร้างความรู้ของผู้เรียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้
บนเครือข่ายที่สำาคัญมี
ดังนี้
1.หลักการของสิ่งแวดล้อมการเรียน
รู้แบบเปิด Open Learning
Environments(OLEs)
3. หลักการของสิ่งแวดล้อมทางการ
เรียนรู้ Situated Learning
Environments
2.หลักการของสิ่งแวดล้อมทางการ
เรียนรู้ Constructivist Learning
Environments (CLEs)
1.หลักการของสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้แบบเปิด Open Learning
Environments(OLEs)
เน้นเกี่ยวกับการคิดแบบอเนกนัย(Divergent Thinking) ซึ่ง
เป็นความสามารถทางสติปัญญาของมนุษย์ที่จะตอบสนองต่อสิ่งเร้า
ประกอบด้วยองค์ประกอบ 4 ประการ คือ
1.1การเข้าสู่บริบท (Enabling contexts)1.1การเข้าสู่บริบท (Enabling contexts)
1.2แหล่งทรัพยากร (Resources)1.2แหล่งทรัพยากร (Resources)
1.3เครื่องมือ (Tools)1.3เครื่องมือ (Tools)
1.4ฐานการช่วยเหลือ (Scaffolding)1.4ฐานการช่วยเหลือ (Scaffolding)
2.หลักการของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ Constructivist
Learning Environments (CLEs)
มุ่งส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาและพัฒนาความคิดรวบยอด
ที่เกิดจากสถานการณ์ที่มีความยุ่งยากซับซ้อน โดยการเรียนรู้เกิดจากปัญหา
คำาถาม กรณี หรือโครงงานที่มีความซับซ้อน ปัญหาหรือจุดประสงค์การเรียนรู้เกิด
จากตัวผู้เรียนเอง มุ่งเน้นการพัฒนา การสร้างความรู้แต่ละบุคคล ประกอบด้วยองค์
ประกอบ 5 ประการ ดังนี้
2.1 คำาถาม กรณี ปัญหา
หรือโครงงาน
2.1 คำาถาม กรณี ปัญหา
หรือโครงงาน
2.3 แหล่งข้อมูล2.3 แหล่งข้อมูล
2.5 เครื่องมือในการ
สนทนาและการร่วม
มือกันแก้ปัญหา
2.5 เครื่องมือในการ
สนทนาและการร่วม
มือกันแก้ปัญหา
2.4 เครื่องมือสนับสนุนการ
สร้างความรู้
2.4 เครื่องมือสนับสนุนการ
สร้างความรู้
2.2 จัดให้มีการเข้าถึง
ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับปัญหา
2.2 จัดให้มีการเข้าถึง
ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับปัญหา
3. หลักการของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ Situated Learning
Environments
ส่วนสำาคัญของ Situated Learning กับการสนับสนุนกิจกรรมแบบ On-
Line มีองค์ประกอบการเรียนรู้ (Learning Elements) และลักษณะของ
ระบบ (System Features) ดังนี้
3.1 บริบทสภาพจริง (Authentic
Contexts)
3.1 บริบทสภาพจริง (Authentic
Contexts)
3.6 การคิดไตร่ตรอง
(Reflection)
3.6 การคิดไตร่ตรอง
(Reflection)
3.4 มุมมองที่หลากหลาย
(Multiple Perspectives)
3.4 มุมมองที่หลากหลาย
(Multiple Perspectives)
3.2 กิจกรรมการเรียนรู้ตามสภาพจริง
(Authentic Activities)
3.2 กิจกรรมการเรียนรู้ตามสภาพจริง
(Authentic Activities)
3.3 การกระทำาอย่างผู้เชี่ยวชาญ
(Expert Performances)
3.3 การกระทำาอย่างผู้เชี่ยวชาญ
(Expert Performances)
3.5 การร่วมมือ (Collaboration)3.5 การร่วมมือ (Collaboration)
3.8 การฝึกสอนและขานการช่วยเหลือ
(Coaching and Scaffolding)
3.8 การฝึกสอนและขานการช่วยเหลือ
(Coaching and Scaffolding)
3.7 การอธิบายความรู้ที่ตนเอง
สร้างขึ้น (Articulation)
3.7 การอธิบายความรู้ที่ตนเอง
สร้างขึ้น (Articulation)
3.9 การประเมินตามสภาพจริง
(Authentic Assessment)
3.9 การประเมินตามสภาพจริง
(Authentic Assessment)
 เป็นโรงเรียนที่ห่างไกล ไม่สามารถ
เชื่อมต่อเครือข่ายอินเตอร์เน็ตได้
 เป็นโรงเรียนที่ห่างไกล ไม่สามารถ
เชื่อมต่อเครือข่ายอินเตอร์เน็ตได้
ภารกิจที่ 2 วิเคราะห์เลือกใช้นวัตกรรมการเรียนรู้ ให้
สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียนทั้ง 3
แห่งนี้
โรงเรียนเปรมสวัสดิ์
จึงควรใช้นวัตกรรมบทเรียนโปรแกรม ที่เป็นบทเรียน
ที่เสนอเนื้อหาในรูปของกรอบ หรือเฟรม โดยแบ่งเนื้อหาเป็น
หน่วยๆ ให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้เองที่ละน้อย มีคำาถามและมี
คำาเฉลยให้ผู้เรียนได้ทราบผลทันที ซึ่งสามารถใช้กับ
คอมพิวเตอร์โดยที่ไม่จำาเป็นต้องมีสัญญาณอินเตอร์เน็ต
ควรใช้นวัตกรรมชุดการสอน ที่สามารถนำาสื่อต่างๆ
มาประกอบเข้าด้วยกัน ที่สามารถเรียนรู้ได้ทุกสถานที่ ทุก
สถานการณ์
ควรใช้นวัตกรรมชุดการสอน ที่สามารถนำาสื่อต่างๆ
มาประกอบเข้าด้วยกัน ที่สามารถเรียนรู้ได้ทุกสถานที่ ทุก
สถานการณ์
ควรใช้นวัตกรรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เพราะทาง
โรงเรียนมีเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ที่สามารถดาวน์โหลดข้อมูล
ต่างๆมาไว้ที่เครื่อง เพื่อสามารถใช้งานได้อีกภายหลัง และ
เปิดโอกาสให้นักเรียนได้เรียนรู้ด้วยตัวเอง ทำางานกลุ่ม และ
แลกเปลี่ยนความรู้กับผู้อื่นได้
ควรใช้นวัตกรรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เพราะทาง
โรงเรียนมีเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ที่สามารถดาวน์โหลดข้อมูล
ต่างๆมาไว้ที่เครื่อง เพื่อสามารถใช้งานได้อีกภายหลัง และ
เปิดโอกาสให้นักเรียนได้เรียนรู้ด้วยตัวเอง ทำางานกลุ่ม และ
แลกเปลี่ยนความรู้กับผู้อื่นได้
โรงเรียนมหาชัยโรงเรียนมหาชัย
โรงเรียนเทศบาลวัด
ธาตุ
โรงเรียนเทศบาลวัด
ธาตุ
ภารกิจที่ 3 จากประเภทของนวัตกรรมการเรียนรู้ในบทที่ 7 ให้
นักศึกษาเสนอนวัตกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้อง
กับลักษณะวิชาเอกที่นักศึกษาจะปฏิบัติหน้าที่
สอน พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล
นวัตกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับลักษณะวิชาภาษาจีนที่จะใช้ในการ
ปฏิบัติการสอนคือ E-Learning ซึ่งเป็นนวัตกรรมทางการศึกษาที่
เปลี่ยนแปลงวิธีเรียนที่เป็นอยู่เดิม เป็นการเรียนที่ใช้เทคโนโลยีที่ก้าวหน้า
เช่น อินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต ดาวเทียม วีดีโอเทป แผ่นซีดี ฯลฯ คำาว่า E-
Learning ใช้ในสถานการณ์การเรียนรู้ที่มีความหมายกว้างขวาง มีความ
หมายรวมถึง การเรียนทางไกล การเรียนผ่านเว็บ ห้องเรียนเสมือนจริงและ
อื่นๆ โดยสถานการณ์ดังกล่าวมีสิ่งที่มีเหมือนกันอยู่ประการหนึ่งคือ การใช้
เทคโนโลยีการสื่อสารเป็นสื่อสารของการเรียนรู้
รูปแบบการเรียนใน E-
Learning
ใช้เว็บเป็นแหล่งข้อมูลเพื่อการจำาแนก
ประเมิน และบูรณาการสารสนเทศต่างๆ
ใช้เว็บเป็นสื่อกลางในการมีส่วนร่วม
ในประสบการณ์จำาลอง การทดลอง
ฝึกหัด และการมีส่วนร่วมคิด
ใช้เว็บเป็นสื่อกลางของการร่วมมือ
สนทนา อภิปราย แลกเปลี่ยนและ
สื่อสาร
การใช้เว็บเพื่อการเรียนการสอนมีหลักการสำาคัญ 4 ประการ
คือ
การใช้เว็บเพื่อการเรียนการสอนมีหลักการสำาคัญ 4 ประการ
คือ
1.ผู้เรียนเข้าเว็บได้ทุกเวลา และ
เป็นผู้กำาหนดลำาดับการเข้าเว็บนั้น
หรือตามลำาดับที่ผู้ออกแบบได้
แนวทางไว้
2.การเรียนการสอนผ่านเครือข่าย
จะเป็นไปได้ดีถ้าเป็นไปตามสภาพ
แวดล้อม กล่าวคือ มีการเรียนรู้
อย่างปฏิสัมพันธ์และเรียนรู้ร่วมกัน
4.การเรียนรู้เกิดขึ้นในลักษณะ
เกี่ยวข้องกันหลายวิชาและไม่
กำาหนดว่าจะต้องบรรลุจุดประสงค์
การเรียนรู้ในเวลาที่กำาหนด
3.ผู้สอนเปลี่ยนแปลงตนเองจากการ
เป็นผู้กระจายถ่ายทอดข้อมูลมาเป็นผู้
ช่วยเหลือผู้เรียนในการค้นหา การ
ประเมิน และการใช้ประโยชน์จาก
สาระสนเทศที่ค้นมาจากสื่อหลาก
หลาย
ตัวอย่าง
E-
Learning
ตัวอย่าง
E-
Learning
ตัวอย่าง
E-
Learning
ตัวอย่าง
E-
Learning
สมาชิกในกลุ่ม
นางสาวกรชกร ชูมานะ 533050420-7
นางสาวเกชรัชต์ ศรีวะรา 533050423-1
นายชวลิต แช่มชื่น 533050425-7
นางสาวธริยา โคตสมบัติ 533050428-1
ชั้นปีที่ 4
คณะศึกษาศาสตร์
สาขาการสอนภาษาจีนในฐานะภาษาต่างประเทศ
งานบทที่เจ็ด

More Related Content

Similar to งานบทที่เจ็ด

Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7beta_t
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7FerNews
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 7
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 7สถานการณ์ปัญหาบทที่ 7
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 7oraya-s
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7Bee Bie
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7Bee Bie
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3Ptato Ok
 
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอกเค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอกarunrat bamrungchit
 
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติPegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติTee Lek
 
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learnerKruBeeKa
 
"aect ecucational technology"
"aect ecucational technology""aect ecucational technology"
"aect ecucational technology"Wichit Chawaha
 
Aect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu techAect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu techWichit Chawaha
 
รูปแบบ Dru เพื่อส่งเสริม meta cognition สำหรับนักศึกษา สาขาวิชาชีพครู
รูปแบบ Dru เพื่อส่งเสริม meta cognition   สำหรับนักศึกษา สาขาวิชาชีพครูรูปแบบ Dru เพื่อส่งเสริม meta cognition   สำหรับนักศึกษา สาขาวิชาชีพครู
รูปแบบ Dru เพื่อส่งเสริม meta cognition สำหรับนักศึกษา สาขาวิชาชีพครูAmitta Tapparak
 

Similar to งานบทที่เจ็ด (20)

Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 7
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 7สถานการณ์ปัญหาบทที่ 7
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 7
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
201704_cognitive_weapon
201704_cognitive_weapon201704_cognitive_weapon
201704_cognitive_weapon
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
Ppt
PptPpt
Ppt
 
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอกเค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
 
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติPegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
 
"aect ecucational technology"
"aect ecucational technology""aect ecucational technology"
"aect ecucational technology"
 
Aect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu techAect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu tech
 
รูปแบบ Dru เพื่อส่งเสริม meta cognition สำหรับนักศึกษา สาขาวิชาชีพครู
รูปแบบ Dru เพื่อส่งเสริม meta cognition   สำหรับนักศึกษา สาขาวิชาชีพครูรูปแบบ Dru เพื่อส่งเสริม meta cognition   สำหรับนักศึกษา สาขาวิชาชีพครู
รูปแบบ Dru เพื่อส่งเสริม meta cognition สำหรับนักศึกษา สาขาวิชาชีพครู
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 4
บทที่ 4 บทที่ 4
บทที่ 4
 

More from Vi Mengdie

บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10Vi Mengdie
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8Vi Mengdie
 
งานบทที่5
งานบทที่5งานบทที่5
งานบทที่5Vi Mengdie
 
งานบทที่5
งานบทที่5งานบทที่5
งานบทที่5Vi Mengdie
 
งานบทที่5
งานบทที่5งานบทที่5
งานบทที่5Vi Mengdie
 
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้Vi Mengdie
 
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้Vi Mengdie
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้Vi Mengdie
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้Vi Mengdie
 
งานนำเสนอChapter 2 ^^
งานนำเสนอChapter 2 ^^งานนำเสนอChapter 2 ^^
งานนำเสนอChapter 2 ^^Vi Mengdie
 
งานนำเสนอChapter 2
งานนำเสนอChapter 2งานนำเสนอChapter 2
งานนำเสนอChapter 2Vi Mengdie
 
งานนำเสนอChapter 2
งานนำเสนอChapter 2งานนำเสนอChapter 2
งานนำเสนอChapter 2Vi Mengdie
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Vi Mengdie
 
งานนำเสนอ Chapter 2
งานนำเสนอ Chapter 2งานนำเสนอ Chapter 2
งานนำเสนอ Chapter 2Vi Mengdie
 

More from Vi Mengdie (17)

บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
งานบทที่5
งานบทที่5งานบทที่5
งานบทที่5
 
งานบทที่5
งานบทที่5งานบทที่5
งานบทที่5
 
งานบทที่5
งานบทที่5งานบทที่5
งานบทที่5
 
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
 
งานนำเสนอChapter 2 ^^
งานนำเสนอChapter 2 ^^งานนำเสนอChapter 2 ^^
งานนำเสนอChapter 2 ^^
 
งานนำเสนอChapter 2
งานนำเสนอChapter 2งานนำเสนอChapter 2
งานนำเสนอChapter 2
 
งานนำเสนอChapter 2
งานนำเสนอChapter 2งานนำเสนอChapter 2
งานนำเสนอChapter 2
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ Chapter 2
งานนำเสนอ Chapter 2งานนำเสนอ Chapter 2
งานนำเสนอ Chapter 2
 
Chapter 2
Chapter 2Chapter 2
Chapter 2
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
Ppt chapter1
Ppt chapter1Ppt chapter1
Ppt chapter1
 

งานบทที่เจ็ด

  • 2. ภารกิจที่ 1 อธิบายความหมายและจำาแนกประเภท ของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ สุมาลี ชัยเจริญ(2547) กล่าวว่า สิ่งแวดล้อม ทางการเรียนรู้ที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ เป็นการออกแบบที่ประสานร่วมกันระหว่าง ” สื่อ(Media)” กับ “วิธีการ(Methods)” โดยการนำาทฤษฎี คอนสตรัคติวิสต์ มาเป็นพื้นฐานในการออกแบบร่วมกับ สื่อ ซึ่งมีคุณลักษณะของสื่อและระบบสัญลักษณ์ของสื่อ ที่สนับสนุนการสร้างความรู้ของผู้เรียน
  • 3. แนวทางการจัดการเรียนรู้ บนเครือข่ายที่สำาคัญมี ดังนี้ 1.หลักการของสิ่งแวดล้อมการเรียน รู้แบบเปิด Open Learning Environments(OLEs) 3. หลักการของสิ่งแวดล้อมทางการ เรียนรู้ Situated Learning Environments 2.หลักการของสิ่งแวดล้อมทางการ เรียนรู้ Constructivist Learning Environments (CLEs)
  • 4. 1.หลักการของสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้แบบเปิด Open Learning Environments(OLEs) เน้นเกี่ยวกับการคิดแบบอเนกนัย(Divergent Thinking) ซึ่ง เป็นความสามารถทางสติปัญญาของมนุษย์ที่จะตอบสนองต่อสิ่งเร้า ประกอบด้วยองค์ประกอบ 4 ประการ คือ 1.1การเข้าสู่บริบท (Enabling contexts)1.1การเข้าสู่บริบท (Enabling contexts) 1.2แหล่งทรัพยากร (Resources)1.2แหล่งทรัพยากร (Resources) 1.3เครื่องมือ (Tools)1.3เครื่องมือ (Tools) 1.4ฐานการช่วยเหลือ (Scaffolding)1.4ฐานการช่วยเหลือ (Scaffolding)
  • 5. 2.หลักการของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ Constructivist Learning Environments (CLEs) มุ่งส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาและพัฒนาความคิดรวบยอด ที่เกิดจากสถานการณ์ที่มีความยุ่งยากซับซ้อน โดยการเรียนรู้เกิดจากปัญหา คำาถาม กรณี หรือโครงงานที่มีความซับซ้อน ปัญหาหรือจุดประสงค์การเรียนรู้เกิด จากตัวผู้เรียนเอง มุ่งเน้นการพัฒนา การสร้างความรู้แต่ละบุคคล ประกอบด้วยองค์ ประกอบ 5 ประการ ดังนี้ 2.1 คำาถาม กรณี ปัญหา หรือโครงงาน 2.1 คำาถาม กรณี ปัญหา หรือโครงงาน 2.3 แหล่งข้อมูล2.3 แหล่งข้อมูล 2.5 เครื่องมือในการ สนทนาและการร่วม มือกันแก้ปัญหา 2.5 เครื่องมือในการ สนทนาและการร่วม มือกันแก้ปัญหา 2.4 เครื่องมือสนับสนุนการ สร้างความรู้ 2.4 เครื่องมือสนับสนุนการ สร้างความรู้ 2.2 จัดให้มีการเข้าถึง ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับปัญหา 2.2 จัดให้มีการเข้าถึง ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับปัญหา
  • 6. 3. หลักการของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ Situated Learning Environments ส่วนสำาคัญของ Situated Learning กับการสนับสนุนกิจกรรมแบบ On- Line มีองค์ประกอบการเรียนรู้ (Learning Elements) และลักษณะของ ระบบ (System Features) ดังนี้ 3.1 บริบทสภาพจริง (Authentic Contexts) 3.1 บริบทสภาพจริง (Authentic Contexts) 3.6 การคิดไตร่ตรอง (Reflection) 3.6 การคิดไตร่ตรอง (Reflection) 3.4 มุมมองที่หลากหลาย (Multiple Perspectives) 3.4 มุมมองที่หลากหลาย (Multiple Perspectives) 3.2 กิจกรรมการเรียนรู้ตามสภาพจริง (Authentic Activities) 3.2 กิจกรรมการเรียนรู้ตามสภาพจริง (Authentic Activities) 3.3 การกระทำาอย่างผู้เชี่ยวชาญ (Expert Performances) 3.3 การกระทำาอย่างผู้เชี่ยวชาญ (Expert Performances) 3.5 การร่วมมือ (Collaboration)3.5 การร่วมมือ (Collaboration) 3.8 การฝึกสอนและขานการช่วยเหลือ (Coaching and Scaffolding) 3.8 การฝึกสอนและขานการช่วยเหลือ (Coaching and Scaffolding) 3.7 การอธิบายความรู้ที่ตนเอง สร้างขึ้น (Articulation) 3.7 การอธิบายความรู้ที่ตนเอง สร้างขึ้น (Articulation) 3.9 การประเมินตามสภาพจริง (Authentic Assessment) 3.9 การประเมินตามสภาพจริง (Authentic Assessment)
  • 7.  เป็นโรงเรียนที่ห่างไกล ไม่สามารถ เชื่อมต่อเครือข่ายอินเตอร์เน็ตได้  เป็นโรงเรียนที่ห่างไกล ไม่สามารถ เชื่อมต่อเครือข่ายอินเตอร์เน็ตได้ ภารกิจที่ 2 วิเคราะห์เลือกใช้นวัตกรรมการเรียนรู้ ให้ สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียนทั้ง 3 แห่งนี้ โรงเรียนเปรมสวัสดิ์ จึงควรใช้นวัตกรรมบทเรียนโปรแกรม ที่เป็นบทเรียน ที่เสนอเนื้อหาในรูปของกรอบ หรือเฟรม โดยแบ่งเนื้อหาเป็น หน่วยๆ ให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้เองที่ละน้อย มีคำาถามและมี คำาเฉลยให้ผู้เรียนได้ทราบผลทันที ซึ่งสามารถใช้กับ คอมพิวเตอร์โดยที่ไม่จำาเป็นต้องมีสัญญาณอินเตอร์เน็ต
  • 8. ควรใช้นวัตกรรมชุดการสอน ที่สามารถนำาสื่อต่างๆ มาประกอบเข้าด้วยกัน ที่สามารถเรียนรู้ได้ทุกสถานที่ ทุก สถานการณ์ ควรใช้นวัตกรรมชุดการสอน ที่สามารถนำาสื่อต่างๆ มาประกอบเข้าด้วยกัน ที่สามารถเรียนรู้ได้ทุกสถานที่ ทุก สถานการณ์ ควรใช้นวัตกรรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เพราะทาง โรงเรียนมีเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ที่สามารถดาวน์โหลดข้อมูล ต่างๆมาไว้ที่เครื่อง เพื่อสามารถใช้งานได้อีกภายหลัง และ เปิดโอกาสให้นักเรียนได้เรียนรู้ด้วยตัวเอง ทำางานกลุ่ม และ แลกเปลี่ยนความรู้กับผู้อื่นได้ ควรใช้นวัตกรรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เพราะทาง โรงเรียนมีเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ที่สามารถดาวน์โหลดข้อมูล ต่างๆมาไว้ที่เครื่อง เพื่อสามารถใช้งานได้อีกภายหลัง และ เปิดโอกาสให้นักเรียนได้เรียนรู้ด้วยตัวเอง ทำางานกลุ่ม และ แลกเปลี่ยนความรู้กับผู้อื่นได้ โรงเรียนมหาชัยโรงเรียนมหาชัย โรงเรียนเทศบาลวัด ธาตุ โรงเรียนเทศบาลวัด ธาตุ
  • 9. ภารกิจที่ 3 จากประเภทของนวัตกรรมการเรียนรู้ในบทที่ 7 ให้ นักศึกษาเสนอนวัตกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้อง กับลักษณะวิชาเอกที่นักศึกษาจะปฏิบัติหน้าที่ สอน พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล นวัตกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับลักษณะวิชาภาษาจีนที่จะใช้ในการ ปฏิบัติการสอนคือ E-Learning ซึ่งเป็นนวัตกรรมทางการศึกษาที่ เปลี่ยนแปลงวิธีเรียนที่เป็นอยู่เดิม เป็นการเรียนที่ใช้เทคโนโลยีที่ก้าวหน้า เช่น อินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต ดาวเทียม วีดีโอเทป แผ่นซีดี ฯลฯ คำาว่า E- Learning ใช้ในสถานการณ์การเรียนรู้ที่มีความหมายกว้างขวาง มีความ หมายรวมถึง การเรียนทางไกล การเรียนผ่านเว็บ ห้องเรียนเสมือนจริงและ อื่นๆ โดยสถานการณ์ดังกล่าวมีสิ่งที่มีเหมือนกันอยู่ประการหนึ่งคือ การใช้ เทคโนโลยีการสื่อสารเป็นสื่อสารของการเรียนรู้
  • 10. รูปแบบการเรียนใน E- Learning ใช้เว็บเป็นแหล่งข้อมูลเพื่อการจำาแนก ประเมิน และบูรณาการสารสนเทศต่างๆ ใช้เว็บเป็นสื่อกลางในการมีส่วนร่วม ในประสบการณ์จำาลอง การทดลอง ฝึกหัด และการมีส่วนร่วมคิด ใช้เว็บเป็นสื่อกลางของการร่วมมือ สนทนา อภิปราย แลกเปลี่ยนและ สื่อสาร
  • 11. การใช้เว็บเพื่อการเรียนการสอนมีหลักการสำาคัญ 4 ประการ คือ การใช้เว็บเพื่อการเรียนการสอนมีหลักการสำาคัญ 4 ประการ คือ 1.ผู้เรียนเข้าเว็บได้ทุกเวลา และ เป็นผู้กำาหนดลำาดับการเข้าเว็บนั้น หรือตามลำาดับที่ผู้ออกแบบได้ แนวทางไว้ 2.การเรียนการสอนผ่านเครือข่าย จะเป็นไปได้ดีถ้าเป็นไปตามสภาพ แวดล้อม กล่าวคือ มีการเรียนรู้ อย่างปฏิสัมพันธ์และเรียนรู้ร่วมกัน 4.การเรียนรู้เกิดขึ้นในลักษณะ เกี่ยวข้องกันหลายวิชาและไม่ กำาหนดว่าจะต้องบรรลุจุดประสงค์ การเรียนรู้ในเวลาที่กำาหนด 3.ผู้สอนเปลี่ยนแปลงตนเองจากการ เป็นผู้กระจายถ่ายทอดข้อมูลมาเป็นผู้ ช่วยเหลือผู้เรียนในการค้นหา การ ประเมิน และการใช้ประโยชน์จาก สาระสนเทศที่ค้นมาจากสื่อหลาก หลาย
  • 13. สมาชิกในกลุ่ม นางสาวกรชกร ชูมานะ 533050420-7 นางสาวเกชรัชต์ ศรีวะรา 533050423-1 นายชวลิต แช่มชื่น 533050425-7 นางสาวธริยา โคตสมบัติ 533050428-1 ชั้นปีที่ 4 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาการสอนภาษาจีนในฐานะภาษาต่างประเทศ