SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
Download to read offline
เรียบเรียงโดย:
ดร.สุภาวดี หิรัญพงศสิน
ภาควิชาคณิตศาสตร สถิติ และคอมพิวเตอร
คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
เอกสารประกอบการอบรม
การวิเคราะหขอมูลและการนําเสนอผลของการวิจัย
โดยใชโปรแกรม MICROSOFT EXCEL 2013
การประชุมเชิงปฏิบัติการ “เขียนบทความวิจัยโครงการเพาะพันธุปญญา สําหรับครู”
3 เมษายน 2559
หองประชุมศรีเมืองใหม ชั้น 3 อาคารสํานักงานอธิการบดี (หลังใหม)
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
สารบัญ
บทนํา 2
การวิเคราะหขอมูลเบื้องตนโดยใชโปรแกรม Microsoft Excel 2013 2
ขั้นตอนการเตรียมการเพื่อวิเคราะหขอมูล 2
ตัวอยางการวิเคราะหขอมูล 5
ขั้นตอนการวิเคราะหขอมูล 8
การนําเสนอผลของการวิจัย 15
การสรางกราฟ (Chart) ใน Microsoft Excel 2013 18
สิ่งที่ตองพิจารณากอนการสรางกราฟ 18
ขั้นตอนในการสรางกราฟ 18
การเปลี่ยนชนิด (รูปแบบ) กราฟ 21
การสรางกราฟผสมแบบ 2 แกน 22
การลบกราฟ 28
1 | P a g e
การวิเคราะหขอมูลและการนําเสนอผลของการวิจัย
โดยใชโปรแกรม Microsoft Excel 2013
บทนํา
การวิจัยทางการศึกษา หมายถึง กระบวนการ (Process) ในการแสวงหาความรูที่จะนําไปใชใน
การพัฒนาคุณภาพทางการศึกษา สําหรับกระบวนการดังกลาวนี้เปนกระบวนการวิจัยซึ่งประกอบดวย
ขั้นตอนพื้นฐาน 5 ขั้นตอน ไดแก 1) การกําหนดปญหา 2) การสรางสมมติฐาน ศึกษาขอมูลและ
รายละเอียดที่เกี่ยวกับปญหา 3) การเก็บรวบรวมขอมูล 4) การวิเคราะหขอมูล และ 5) การสรุปผลขอมูล
เอกสารประกอบการอบรมนี้ จะกลาวถึงขั้นตอนที่สําคัญขั้นตอนหนึ่งของกระบวนการวิจัย นั่นคือ
การวิเคราะหขอมูล เมื่อผูวิจัยเก็บรวบรวมขอมูลและตรวจสอบความถูกตองของขอมูลแลว จะดําเนินการ
กับขอมูลเหลานั้นดวยโปรแกรมสําเร็จรูปที่ใชสําหรับวิเคราะหขอมูลได โปรแกรมสําเร็จรูปที่นิยมใช
สําหรับการวิเคราะหขอมูลในปจจุบันมีอยูดวยกันหลายโปรแกรม เชน SPSS (Statistical Package for
the Social Sciences) SAS (Statistical Analysis System) และ STATA เปนตน
อยางไรก็ดีแตละโปรแกรมมีจุดเดนที่แตกตางกัน ผูใชสามารถเลือกใชโปรแกรมเหลานี้ตาม
ลักษณะของขอมูลหรือการใชงานของผูใชเอง นอกจากโปรแกรมที่ไดกลาวขางตนแลว โปรแกรม
Microsoft Excel เปนอีกโปรแกรมหนึ่งที่สามารถนํามาใชในการวิเคราะหขอมูลไดเชนกัน ในที่นี้จะใช
Microsoft Excel 2013 เพื่อเปนเครื่องมือในการวิเคราะหขอมูล ดังจะกลาวในหัวขอถัดไป
การวิเคราะหขอมูลเบื้องตนโดยใชโปรแกรม Microsoft Excel 2013
การวิเคราะหขอมูลหรือคาทางสถิติเบื้องตน ดวยโปรแกรม Microsoft Excel 2013 สามารถ
ศึกษารายละเอียดไดในหัวขอตอไปนี้
ขั้นตอนการเตรียมการเพื่อวิเคราะหขอมูล
การวิเคราะหขอมูลเบื้องตนโดยใชโปรแกรม Microsoft Excel 2013 ผูใชจําเปนตองใชเครื่องมือ
(Tool) ที่ชื่อวา Data Analysis หากเครื่องที่ผูใชใชในการวิเคราะหขอมูลไมมีเครื่องมือดังกลาว ผูใชตอง
ทําการติดตั้งเครื่องมือ Data Analysis นี้กอน โดยมีขั้นตอนการติดตั้งดังตอไปนี้
1. เปดโปรแกรม Microsoft Excel 2013
2. คลิกที่เมนูไฟล (File) คลิกที่เมนู Options (หรือ เมนูตัวเลือก) จะปรากฏดังรูปที่ 1.
2 | P a g e
รูปที่ 1. แถบเมนู ภายใตเมนู Options
3. คลิกที่เมนู Add-Ins จะปรากฏดังรูปที่ 2. จากนั้นคลิกเลือกที่ Analysis ToolPak ภายใต
หัวขอ Inactive Application Add-ins และคลิกเลือก Excel Add-ins ภายใตหัวขอ
Manage ที่สวนดานลางของกรอบโตตอบ
รูปที่ 2. เครื่องมือ Add-ins ตางๆ ของ Microsoft Office ภายใตเมนู Add-Ins
3 | P a g e
4. คลิกปุม Go จะปรากฏดังรูปที่ 3.
รูปที่ 3. เครื่องมือ Add-ins ภายใต Analysis ToolPak
5. คลิกเลือกเครื่องมือตามรูปที่ 4. จากนั้นคลิกปุม OK
รูปที่ 4. เลือกเครื่องมือ Add-ins ภายใต Analysis ToolPak
6. เมื่อเครื่องมือ Data Analysis ถูกติดตั้งเรียบรอยแลวจะปรากฏที่ริบบอนในแถบขอมูล (Data)
ดังรูปที่ 5.
รูปที่ 5. Data Analysis ถูกติดตั้งเรียบรอยแลว โดยปรากฏที่ริบบอนในแถบขอมูล (Data)
4 | P a g e
7. เมื่อคลิกเลือกที่เครื่องมือ Data Analysis จะปรากฏกรอบโตตอบเพื่อใหผูใชเลือกเครื่องมือ
วิเคราะหขอมูลภายใตหัวขอ Analysis Tools ดังแสดงในรูปที่ 6.
รูปที่ 6. กรอบโตตอบเพื่อเลือกเครื่องมือวิเคราะหขอมูล (Analysis Tools)
ตัวอยางการวิเคราะหขอมูล
ขอมูล (Data) จากแบบสอบถาม
ในการวิเคราะหขอมูลนั้นจําเปนตองมีการเก็บขอมูล ซึ่งอาจเก็บไดจากแบบสอบถามที่สรางขึ้นมา
โดยการเก็บรวบรวมขอมูลจากแบบสอบถามตามขนาดของตัวอยางที่เหมาะสม แลวสามารถใชโปรแกรม
Microsoft Excel ชวยในการวิเคราะหขอมูลได
วิธีดําเนินการ
1. กําหนดหัวขอแบบสอบถาม (ตัวอยางในที่นี้ คือ แบบสอบถามความพึงพอใจในการนําเสนองาน)
2. ออกแบบแบบสอบถาม โดยใหกําหนดประเด็นที่ตองการประเมินใหสอดคลองกับวัตถุประสงค
ของการประเมิน และกลุมเปาหมาย (อาจกําหนดเปนดานหลักๆ แลวจึงกําหนดเปนประเด็น
ยอยๆ ภายใตดานนั้นๆ)
3. เก็บขอมูลจากกลุมเปาหมาย โดยใหกลุมเปาหมายตอบแบบสอบถามตามที่ไดออกแบบไว ตาม
ความเปนจริง
4. นําขอมูลที่ไดจากการเก็บขอมูลมาวิเคราะหเพื่อคาระดับความพึงพอใจ โดยการใชโปรแกรม
Excel
5 | P a g e
ตัวอยางแบบสอบถาม
6 | P a g e
การแปรขอมูล
เมื่อผูประเมินไดทําการประเมินเรียบรอยแลว ขั้นตอนตอไปเปนการนําขอมูลประเมินที่ไดมา
วิเคราะหเพื่อนําเสนอผลการวิจัย อยางไรก็ดีเพื่อใหงายตอการประมวลผลในขั้นตอนของการวิเคราะห
ขอมูล ผูวิจัยจําเปนตองแปรขอมูลที่ไดจากแบบสอบถามใหเปนตัวเลข แลวจึงกรอกขอมูลลงในฐานขอมูล
Excel การแปรขอมูลในแตละสวนของแบบสอบถาม สามารถทําไดดังนี้
ตอนที่ 1 สถานภาพสวนตัวของผูตอบแบบสอบถาม
เปนขอมูลที่เปนเชิงคุณภาพ ตองแปลงใหเปนตัวเลข ซึ่งเปนการกําหนดคําอธิบายใหกับคาตัวแปร
โดยกําหนดดังนี้
• เพศ ชาย = 1 หญิง = 2
• อายุ ต่ํากวา 21 ป = 1 21-30 ป = 2 31- 40 ป = 3 41- 50 ป = 4 และมากกวา
50 ป = 5
• สถานภาพ อาจารย = 1 นักเรียน/นักศึกษา = 2 เจาหนาที่ = 3 บุคคลภายนอก =
4 และอื่นๆ = 5
• ระดับการศึกษา ประถมศึกษา = 1 มัธยมศึกษา = 2 อนุปริญญาหรือเทียบเทา = 3
ปริญญาตรีหรือเทียบเทา = 4 สูงกวาปริญญาตรี = 5
ตอนที่ 2 ความพึงพอใจในการนําเสนอ
เปนขอมูลที่เปนเชิงคุณภาพ ตองแปลงใหเปนตัวเลข โดยกําหนดให 1=นอยที่สุด 2=นอย 3=
ปานกลาง 4=มาก 5=มากที่สุด
ตอนที่ 3 ขอเสนอแนะและความคิดเห็นอื่นๆ
เสนอเปนความเรียง หรือเสนอเรียงตามลําดับความถี่ของขอมูล (ไมตองนําไปกรอกใน Excel)
การกรอกขอมูลลงในฐานขอมูล Excel
สมมติใหกลุมตัวอยาง/ประชากรที่ตอบแบบสอบถามมีจํานวน 20 คน จะไดแบบสอบถามจํานวน
20 ฉบับ เมื่อบันทึกขอมูลลงใน Excel แลว แสดงไดดังรูปที่ 7.
รูปที่ 7. การกรอกขอมูลจากแบบสอบถามลงในฐานขอมูล Excel
7 | P a g e
ขั้นตอนการวิเคราะหขอมูล
จากตัวอยางแบบสอบถามขางตนที่ประกอบดวย 3 สวน ไดแก สวนที่ 1 สถานภาพสวนตัวของ
ผูตอบแบบสอบถาม สวนที่ 2 ความพึงพอใจในการนําเสนอ และสวนที่ 3 ขอเสนอแนะและความคิดเห็น
อื่นๆ โดยแตละสวนจะมีวัตถุประสงคในการประเมินที่ตางกัน นั่นคือ
สวนที่ 1 ประเมินเพื่อใหทราบวากลุมตัวอยาง/ประชากร (ผูตอบแบบสอบถาม) มีขอมูลพื้นฐาน
เปนอยางไร แสดงใหเห็นภูมิหลังของผูประเมิน
สวนที่ 2 ประเมินเพื่อใหทราบวาระดับความพึงพอใจในการนําเสนอ อยูในระดับใด เชน ดีมาก ดี
หรือปานกลาง เปนตน แสดงใหเห็นความเชื่อมั่นของผูประเมินที่มีตอกิจกรรมนั้น
สวนที่ 3 ประเมินเพื่อใหทราบวากิจกรรมนั้นสวนเพิ่มเติมใดๆ ที่ไดรับการยอมรับ (ประเด็นที่ไมได
มีในแบบสอบถาม) สวนใดตองปรับปรุง หรือสวนใดที่เปนคําแนะนําที่สามารถนําไปพัฒนาตอเพื่อใหเกิด
ประโยชนตอกิจกรรมอื่นได
ดังนั้น การวิเคราะหขอมูลในแตละสวนจะแตกตางกัน เพื่อใหงายตอการวิเคราะหขอมูล
เครื่องมือ หรือวิธีการวิเคราะหในแตละสวน สามารถทําไดดังนี้
สวนที่ 1 ผูวิจัยสามารถเลือกใชเครื่องมือ Data Analysis เทคนิค Histogram ได
สวนที่ 2 ผูวิจัยสามารถเลือกใชเครื่องมือ Data Analysis เทคนิค Descriptive Statistics ได
สวนที่ 3 ผูวิจัยสามารถสรุปประเด็นที่เดนชัดแลวนํามาเขียนเปนความเรียงได (อาจไมตองใช
โปรแกรม Excel)
การวิเคราะหขอมูล : สวนที่ 1 สถานภาพสวนตัวของผูตอบแบบสอบถาม
ในสวนนี้ ตัวอยางขอมูลที่ใชในการวิเคราะห คือ เพศ ผูวิจัยสามารถเลือกวิเคราะหขอมูลอื่นๆ
เชน อายุ ระดับการศึกษา หรือขอมูลพื้นฐานอื่นในแบบสอบถามเพิ่มเติมไดในภายหลัง โดยใชเครื่องมือ
Data Analysis
ขั้นตอนการวิเคราะหขอมูล โดยใชเทคนิค Histogram มีดังตอไปนี้
1. ที่แถบเครื่องมือ DATA คลิกเลือกที่เครื่องมือ Data Analysis จะปรากฏกรอบโตตอบเพื่อ
เลือกเครื่องมือวิเคราะหขอมูล (Analysis Tools) จากนั้นเลือกเทคนิค Histogram ซึ่งใชหา
คาความถี่ของขอมูล ดังแสดงในรูปที่ 8.
รูปที่ 8. ทําการเลือกเทคนิค Histogram
8 | P a g e
2. กดปุม OK จะปรากฏกรอบโตตอบดังรูปที่ 9.
รูปที่ 9. กรอบโตตอบ Histogram
3. ที่กรอบ Input ใหกําหนดชวงของขอมูลที่ตองการวิเคราะหที่ Input Range ในที่นี้ใหเลือก
ชวงของขอมูล “เพศ” ($B$2:$B$21) และที่ Bin Range (ชวงของประเภทขอมูลทั้งหมด) ให
เลือกชวง $R$5:$S$5 คลิกเลือกที่ Labels และที่กรอบ Output options ใหกําหนด
ตําแหนงเซลลที่ตองการใสคาผลลัพธที่ Output Range ($Q$11) คลิกเลือกที่ Cumulative
Percentage และคลิกเลือกที่ Chart Output ดังรูปที่ 10.
รูปที่ 10. กําหนดคาตางๆ ในกรอบโตตอบ Histogram เพื่อวิเคราะหขอมูล
Input Range ของเพศ
Bin Range ของเพศ มี 2 ประเภท
9 | P a g e
4. กดปุม OK จะไดผลลัพธดังรูปที่ 11.
รูปที่ 11. ผลลัพธที่ไดจากการใชเทคนิค Histogram
จากรูปที่ 11. ที่คอลัมน Bin หมายถึงประเภทของเพศ โดยหมายเลข 1 แทนเพศชาย หมายเลข
2 แทนเพศหญิง (ดูจากแบบสอบถาม) และ More หมายถึงเพศอื่นๆ คอลัมน Frequency คือความถี่หรือ
จํานวนคนที่แบงตามเพศ และคอลัมน Cumulative หมายถึงเปอรเซนตหรือรอยละสะสมของจํานวนคน
ที่แบงตามเพศ นอกจากนี้กราฟผลลัพธ Histogram จะถูกแสดงตามขอมูลของคอลัมนทั้ง 3 ขางตนดวย
ผูวิจัยสามารถเขียนสรุปผลการวิเคราะหขอมูลไดดังนี้ ผูตอบแบบสอบถาม จํานวน 20 คน เปน
ชาย จํานวน 11 คน คิดเปนรอยละ 55 และเปนหญิง จํานวน 9 คน คิดเปนรอยละ 45
การวิเคราะหขอมูล : สวนที่ 2 ความพึงพอใจในการนําเสนอ
ผูวิจัยสามารถหาคาทางสถิติเชิงพรรณนา ซึ่งใชอธิบายคุณลักษณะของสิ่งที่ตองการศึกษากลุมใด
กลุมหนึ่งเทานั้น และไมสามารถใชอางอิงไปยังกลุมขอมูลอื่นๆ ได เชน คาเฉลี่ย รอยละ และคาเบี่ยงเบน
มาตรฐาน เปนตน ไดโดยใชเทคนิค Descriptive Statistics
ขั้นตอนการวิเคราะหขอมูล โดยใชเทคนิค Descriptive Statistics มีดังตอไปนี้
1. ที่แถบเครื่องมือ DATA คลิกเลือกที่เครื่องมือ Data Analysis จะปรากฏกรอบโตตอบเพื่อ
เลือกเครื่องมือวิเคราะหขอมูล (Analysis Tools) จากนั้นเลือกเทคนิค Descriptive
Statistics ดังแสดงในรูปที่ 12.
รูปที่ 12. ทําการเลือกเทคนิค Descriptive Statistics
10 | P a g e
2. กดปุม OK จะปรากฏกรอบโตตอบดังรูปที่ 13.
รูปที่ 13. กรอบโตตอบ Descriptive Statistics
3. ที่กรอบ Input ใหกําหนดชวงของขอมูลที่ตองการวิเคราะห ในที่นี้เลือกชวงของขอมูลความ
พึงพอใจดานเนื้อหา ($F$1:$J$21) ที่ Grouped By คลิกเลือกที่ Columns และคลิกเลือกที่
Labels in first row และที่กรอบ Output options สามารถเลือกใหผลลัพธไปแสดงตามที่
กําหนดได ไดแก ที่แผนงานเดิมใหกําหนดตําแหนงเซลลที่ตองการใสคาผลลัพธที่ Output
Range หรือที่แผนงานใหม (New Worksheet Ply) หรือที่สมุดงานใหม (New Workbook)
และคลิกเลือกที่ Summary statistics ดังรูปที่ 14.
Input Range ด้านเนื้อหา
11 | P a g e
รูปที่ 14. กําหนดคาตางๆ ในกรอบโตตอบ Descriptive Statistics เพื่อวิเคราะหขอมูล
4. กดปุม OK จะไดผลลัพธดังรูปที่ 15.
รูปที่ 15. ผลลัพธที่ไดจากการใชเทคนิค Descriptive Statistics
จากรูปที่ 15. แสดงคาทางสถิติเชิงพรรณนาของกลุมขอมูลดานเนื้อหาทั้ง 5 ขอ โดยที่:
Mean: คามัชฌิมเลขคณิต (Arithmetic mean) คือคาเฉลี่ยของขอมูลทั้งหมด
Standard Error: แสดงลักษณะการกระจายตัวของขอมูล คือยิ่งใกลคา 0 (ศูนย) แสดงวากลุม
ตัวอยางมีการกระจายตัวใกลกับคาเฉลี่ยของประชากร
Median: คามัธยฐาน คือคาของขอมูลที่จุดกึ่งกลางของการกระจายของขอมูลที่มีการเรียงลําดับ
แลวจากคานอยไปหาคามาก โดย 50% ของขอมูลมีคาสูงกวาคามัธยฐาน และ 50% มีคาต่ํากวา
คามัธยฐาน และมักใชในกรณีที่ การกระจายของขอมูลมีลักษณะไมเทากันทั้งสองขาง
(Asymmetry) หรือมีลักษณะเบไปทางซายหรือทางขวา
Mode: คาฐานนิยม คือคาของขอมูลที่มีความถี่ (ซ้ํากัน) มากที่สุดในขอมูลของชุดนั้น ๆ ซึ่งอาจมี
มากกวาหนึ่งคา (ผลลัพธจะแสดงคาแรกที่เจอ) หรือไมมีเลยก็ได (ผลลัพธจะแสดง #N/A)
Standard Deviation: สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปนการวัดการกระจายของขอมูลวาจะ
เบี่ยงเบนไปจากคาเฉลี่ยมากนอยเทาใด
Sample Variance: คาความแปรปรวน เพื่อสะดวกในการคํานวณและหมดปญหาเกี่ยวกับ
เครื่องหมายจึงยกกําลังสองของคาเบี่ยงเบนของคาเฉลี่ย
12 | P a g e
Kurtosis: เปนการวัดลักษณะความโดงของขอมูล การพิจารณาความโดงพิจารณาเครื่องหมาย
ดังนี้
Kurtosis = 0 แสดงวาความโดงปกติ
Kurtosis = - แสดงวาความโดงต่ํากวาปกติ
Kurtosis = + แสดงวามีความโดงสูงกวาปกติ
Skewness: เปนการวัดการกระจายของขอมูลในลักษณะทิศทางของขอมูลวามีความเบไปใน
ทิศทางใด
Range: พิสัย เปนคาความแตกตางระหวางคาสูงสุดและคาต่ําสุด (พิสัย=คาสูงสุด-คาต่ําสุด) ของ
ขอมูลชุดหนึ่ง ๆ การวัดการกระจายของขอมูลโดยใชพิสัยนี้ เปนคาที่แสดงการกระจายอยางคราว
ๆ ไมใชการวัดที่ละเอียดและเชื่อถือไดมากนัก เพราะเปนคาที่ไดมาจากขอมูลเพียง 2 คาเทานั้น
นิยมบอกคา สูงสุดและต่ําสุดแทน เพื่อใหสามารถบอกไดวา การกระจายขอมูลเปนอยางไร มักถูก
นําเสนอคูกับคามัธยฐาน
Minimum: คาต่ําสุดของขอมูลชุดนั้น
Maximum: คาสูงสุดของขอมูลชุดนั้น
Sum: ผลรวมของคาทั้งหมดของขอมูลชุดนั้น
Count: จํานวนขอมูลทั้งหมด
อยางไรก็ดีคาทางสถิติที่นิยมใช 2 คาในการสรุปผลการวิจัยเกี่ยวกับระดับความพึงพอใจ ไดแก
Mean และ Standard Deviation
นอกจากการวิเคราะหขอมูลโดย Excel ในสวนที่ 1 ที่ใช เทคนิค Histogram และสวนที่ 2 ที่ใช
เทคนิค Descriptive Statistics ผูวิจัยสามารถใชเครื่องมือใน Excel ที่แถบเครื่องมือ HOME ที่กรอบ
เครื่องมือ Editing ทางขวามือสุด โดยเลือกใชไอคอน เพื่อหาคา Mean และ Standard
Deviation (S.D.) ไดเชนกัน ดังแสดงในรูปที่ 16.
รูปที่ 16. ผลลัพธที่ไดจากการใชเทคนิค Descriptive Statistics
จากรูปที่ 16. คา Mean ใชสูตร AVERAGE(ชวงของขอมูล) และคา S.D. ใชสูตร STDEV.S(ชวง
ของขอมูล) ซึ่งทั้ง 2 สูตร สามารถเลือกใชไดจากไอคอน
13 | P a g e
อยางไรก็ดี มีวิธีการวิเคราะหขอมูลอีกแบบหนึ่งที่นิยมใช นั่นคือการแสดงคารอยละของความพึง
พอใจในแตละดาน ซึ่งวิธีนี้ผูวิจัยจะตองกรอกขอมูลลงในฐานขอมูล Excel โดยการนับจํานวนคนที่
ประเมินในแตละดาน แตละหัวขอที่ประเมิน จากนั้นจึงนํามาคํานวณเปนคารอยละ ดังแสดงในรูปที่ 17.
รูปที่ 17. การวิเคราะหขอมูล โดยใชคารอยละ
ขอมูล (Data) จากการทดลอง
นอกจากขอมูลที่ไดจากแบบสอบถามแลว มีขอมูลที่ไดจากการทดลองที่ผูวิจัยสามารถใช
โปรแกรม Excel ชวยในการวิเคราะหขอมูลเพื่อสรุปผลการวิจัยได ตัวอยางขอมูลแสดงในรูปที่ 18.
รูปที่ 18. การกรอกขอมูลจากการทดลองลงในฐานขอมูล Excel
การวิเคราะหขอมูล
สําหรับขอมูลที่ไดจากการทดลองนี้ ผูวิจัยสามารถเลือกใชเครื่องมือไดดังนี้
1. เครื่องมือ Data Analysis เทคนิค Descriptive Statistics
2. แถบเครื่องมือ HOME ที่กรอบเครื่องมือ Editing
นับจํานวนคนที่
ประเมินในแต่ละด้าน
คํานวณค่าร้อยละ
ในแต่ละด้าน
14 | P a g e
การนําเสนอผลของการวิจัย
ขั้นตอนตอจากการวิเคราะหขอมูล คือการนําเสนอผลของการวิเคราะหขอมูล หรือผลของการ
วิจัยวา ผูวิจัยพบหรือไดขอสรุปใดจากการวิจัย ในสวนนี้จะอธิบายวิธีการนําเสนอผลของการวิจัย ทั้งจาก
แบบสอบถามและการทดลอง ผูวิจัยสามารถศึกษาไดจากหัวขอตอไปนี้
ตัวอยางการนําเสนอผลของการวิจัยจากแบบสอบถาม
การวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถามขางตน สามารถนําเสนอผลของการวิจัย ไดดังนี้
แบบที่ 1 นําเสนอดวยคาเฉลี่ยและคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน แสดงดังรูปที่ 19.
รูปที่ 19. การนําเสนอผลของการวิจัยจากแบบสอบถาม แบบที่ 1
15 | P a g e
จากรูปที่ 19. สามารถเขียนสรุปผลการวิจัยไดวา ความพึงพอใจเฉลี่ยในการนําเสนอผลงาน
โดยรวมของผูตอบแบบสอบถามอยูในระดับความพึงพอใจมาก มีคาเทากับ 4.44 (S.D. = 0.50) โดยความ
พึงพอใจเฉลี่ยทั้งดานเนื้อหาและดานการนําเสนออยูในระดับความพึงพอใจมาก มีคาเทากับ 4.45 (S.D. =
0.49) และ 4.42 (S.D. = 0.52) ตามลําดับ
แบบที่ 2 นําเสนอดวยคารอยละ แสดงดังรูปที่ 20.
รูปที่ 20. การนําเสนอผลของการวิจัยจากแบบสอบถาม แบบที่ 2
มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด
เนื้อหา 60 26 13 1 - 4.45
การนําเสนอ 56 30 14 - - 4.42
4.44
88.70
ดานที่ประเมิน
ระดับความพึงพอใจ (รอยละ)
ระดับเฉลี่ย
ระดับเฉลี่ย
เฉลี่ยรอยละ
16 | P a g e
จากรูปที่ 20. สามารถเขียนสรุปผลการวิจัยไดวา ความพึงพอใจเฉลี่ยในการนําเสนอผลงาน
โดยรวมของผูตอบแบบสอบถามอยูในระดับความพึงพอใจมาก มีคาเทากับ 4.44 คิดเปนรอยละ 88.70
โดยความพึงพอใจเฉลี่ยทั้งดานเนื้อหาและดานการนําเสนออยูในระดับความพึงพอใจมาก มีคาเทากับ
4.45 และ 4.42 ตามลําดับ
ตัวอยางการนําเสนอผลของการวิจัยจากการทดลอง
การวิเคราะหขอมูลจากการทดลองขางตน สามารถนําเสนอผลของการวิจัยในรูปแบบกราฟได ดัง
แสดงในรูปที่ 21. และรูปที่ 22.
รูปที่ 21. การนําเสนอผลของการวิจัยจากการทดลองดวยกราฟ แบบที่ 1
จากรูปที่ 21. จะสังเกตไดวา แกน X คือวิธีดําขาว และแกน Y คือจํานวนตนขาวที่แตกกอ โดย
กราฟแทงแทนลําดับที่ของกอขาวตั้งแต กอที่ 1 ถึง กอที่ 4 โดยมีกราฟเสนแทนคาเฉลี่ยของจํานวนตน
ขาวที่แตกกอ
รูปที่ 22. การนําเสนอผลของการวิจัยจากการทดลองดวยกราฟ แบบที่ 2
จากรูปที่ 22. จะสังเกตไดวา แกน X คือลําดับที่ของกอขาวตั้งแตกอที่ 1 ถึง กอที่ 4 และคาเฉลี่ย
และแกน Y คือจํานวนตนขาวที่แตกกอ โดยกราฟแทงแทนวิธีดําขาว 3 วิธี ไดแก ดําถี่ นาเคมี ดําหลายตน
ดําหาง นาอินทรีย ดําหลายตน และดําหาง นาอินทรีย ดําตนเดียว
17 | P a g e
การสรางกราฟ (Chart) ใน Microsoft Excel 2013
กราฟ เปนอีกวิธีหนึ่งที่ใชแสดงขอมูลที่เปนตัวเลขไดอยางชัดเจน และสื่อความหมายไดมากขึ้น
โดยเฉพาะขอมูลที่ใชเปรียบเทียบหรือแสดงแนวโนมของคาตางๆ เชน รายรับ-รายจาย เงินเดือน หรือ
ขอมูลทางวิทยาศาสตร เปนตน
สิ่งที่ตองพิจารณากอนการสรางกราฟ
การสรางกราฟใน Microsoft Excel สิ่งสําคัญที่ตองพิจารณา คือ ขอมูลที่จะนํามาสรางกราฟ
ลักษณะขอมูลที่จะนํามาสรางกราฟ และชนิดของกราฟที่ตองการนําเสนอ
ขั้นตอนในการสรางกราฟ
1. เลือกกลุมขอมูลที่จะนํามาสรางกราฟ เมื่อเลือกแลวกลุมขอมูลจะเปนแถบสี (Highlight) ดัง
รูปที่ 2 3
.
รูปที่ 23. การเลือกกลุมขอมูลในการสรางกราฟ
2. ที่แถบเมนูใหเลือกแถบแทรก (INSERT) จากนั้นใหผูใชเลือกคําสั่งสรางกราฟซึ่งทําไดดังนี้
วิธีที่ 1 เลือกคําสั่งสรางกราฟที่แผนภูมิที่แนะนํา (Recommended Charts) ซึ่งจะพบกราฟ
แบบตางๆ ทั้งหมด หรือเลือกที่แผนภูมิ (Charts) ซึ่งเปนคําสั่งสรางกราฟที่ใชบอย ดังรูปที่ 24.
รูปที่ 24. การสรางกราฟดวย Recommended Charts หรือ Charts
เลือก แถบ INSERT
คําสั่งสรางกราฟแบบตางๆ
18 | P a g e
วิธีที่ 2 ใชเครื่องมือที่เรียกวา Quick Analysis (Ctrl+Q) เมื่อผูใชเลือกกลุมขอมูลที่ตองการแลว
จะพบเครื่องหมาย ปรากฏอยูที่มุมขวาดานลาง ใหผูใชเลือก CHARTS เพื่อเลือกรูปแบบ
กราฟที่ตองการสราง ดังรูปที่ 25.
รูปที่ 25. การสรางกราฟดวย Quick Analysis
3. เมื่อคลิกเลือกประเภทของกราฟแลว จะปรากฏกราฟบน Work Sheet ในที่นี้เลือกกราฟ
ประเภท Clustered Column ดังรูปที่ 26.
รูปที่ 26. กราฟที่ไดจากการเลือกประเภทกราฟ Clustered Column
4. ปรับแตงกราฟตามตองการ ผูใชสามารถทําไดดังนี้
วิธีที่ 1 คลิกที่กราฟแลวที่แถบเครื่องมือ (Tool Bar) จะปรากฏ แถบเครื่องมือแผนภูมิ (CHART
TOOLS) ซึ่งประกอบดวย แถบออกแบบ (DESIGN) และแถบรูปแบบ (FORMAT) ดังรูปที่ 27.
19 | P a g e
รูปที่ 27. การปรับแตงกราฟดวยแถบเครื่องมือแผนภูมิ
วิธีที่ 2 คลิกที่กราฟแลวทางดานขวาของกราฟจะปรากฏ ไอคอนปรับแตงกราฟ ดังรูปที่ 27.
การปรับแตงกราฟดวยไอคอนปรับแตงกราฟ สามารถทําไดดังนี้
• ปรับแตงองคประกอบ (Chart Elements) ของกราฟ เชน หัวเรื่องกราฟ (Chart Title)
คําอธิบายสีกราฟ (Legend) เปนตน ไดที่เครื่องหมาย ซึ่งอยูทางดานขวาของกราฟ
ดังรูปที่ 2 8
.
รูปที่ 28. การปรับแตงองคประกอบของกราฟ
• ปรับแตงกราฟ (Chart Styles) ไดแก รูปแบบ (STYLE) และสี (COLOR) ไดที่
เครื่องหมาย ซึ่งอยูทางดานขวาของกราฟ ดังรูปที่ 2 9
.
แถบเครื่องมือแผนภูมิ
ไอคอนปรับแตงกราฟ
20 | P a g e
รูปที่ 29. การปรับแตงกราฟ
• ปรับขอมูลที่แสดงในกราฟ (Chart Filters) ไดแก คาขอมูล (VALUES) และชื่อ (NAMES)
ไดที่เครื่องหมาย ซึ่งอยูทางดานขวาของกราฟ ดังรูปที่ 3 0
.
รูปที่ 30. การปรับขอมูลที่แสดงในกราฟ
การเปลี่ยนชนิด (รูปแบบ) กราฟ
เมื่อสรางกราฟเสร็จแลว ถาผูใชตองการเปลี่ยนแปลงรูปแบบของกราฟ สามารถทําไดดังนี้
1. เลือกกราฟที่ตองการเปลี่ยนรูปแบบ
2. ที่แถบเครื่องมือแผนภูมิ เลือก DESIGN และหัวขอ Type เลือกเปลี่ยนชนิดแผนภูมิ (Change
Chart Type) ดังรูปที่ 3 1
.
รูปที่ 31. การเปลี่ยนชนิดกราฟ
ไอคอนเปลี่ยนชนิดแผนภูมิ
21 | P a g e
3. กรอบโตตอบเปลี่ยนชนิดแผนภูมิจะปรากฏขึ้น ใหผูใชเลือกรูปแบบกราฟที่ตองการเปลี่ยน
ดังรูปที่ 32.
รูปที่ 32. กรอบโตตอบเปลี่ยนชนิดกราฟ
การสรางกราฟผสมแบบ 2 แกน
สําหรับขอมูลทั่วไป กราฟจะประกอบดวย แกน X และ แกน Y อยางละ 1 แกน ในกรณีที่ขอมูล
มีคาที่แตกตางกันมาก หากนํามาสรางกราฟในลักษณะทั่วไปการแสดงผลอาจมองภาพไดยาก ดังนั้นขอมูล
ลักษณะนี้ จึงควรนําเสนอดวยกราฟแบบผสมที่มี 2 แกน ในที่นี้คือ สรางกราฟแกน Y เปน 2 แกน
(สามารถเพิ่มแกน X เปน 2 แกนได แตตองทําหลังจากเพิ่มแกน Y แกนที่ 2 แลวจึงจะมี Option ปรากฏ
ใหเลือก) ตัวอยางขอมูลที่มีคาแตกตางกันมาก แสดงดังรูปที่ 33.
22 | P a g e
แหลงขอมูล : สํานักงานสถิติแหงชาติ
รูปที่ 33. ตัวอยางขอมูลระหวางจํานวนอาจารยสถาบันอุดมศึกษาของรัฐและจํานวนนักศึกษาชั้นปที่ 1
ตั้งแตปพุทธศักราช 2549 – 2557
จากรูปที่ 33. แสดงตัวอยางขอมูลระหวางจํานวนอาจารยสถาบันอุดมศึกษาของรัฐและจํานวน
นักศึกษาชั้นปที่ 1 ตั้งแตปพุทธศักราช 2549 – 2557 ที่มีคาแตกตางกันมาก เมื่อนํามาสรางกราฟแกน
เดียวโดยแกน X แทนปพุทธศักราช และแกน Y แทนจํานวนอาจารย (กราฟแทงสีฟา) และจํานวน
นักศึกษา (กราฟแทงสีสม) จะสังเกตไดวา แทงกราฟของขอมูลจํานวนอาจารยต่ํามากทําใหดูไดยาก
แนวทางในการปรับปรุงคือ การทําใหเปนกราฟผสมแบบ 2 แกน ดังรูปที่ 34.
-
200,000
400,000
600,000
800,000
1,000,000
2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557
จํานวนอาจารย์สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ/นักศึกษาชั้นปีที่ 1
อาจารย์ นักศึกษา
23 | P a g e
หรือ
รูปที่ 34. การนําเสนอขอมูลที่มีคาแตกตางกันมาก ดวยกราฟผสมแบบ 2 แกน
จากรูปที่ 34. เปนกราฟผสมแบบ 2 แกน (แกน Y 2 แกน) ซึ่งปรับปรุงมาจากกราฟแกนเดียวใน
รูปที่ 33. จะสังเกตไดวา แกน X ทางซายมือแทนจํานวนนักศึกษา แกน Y ทางซายมือแทนจํานวน
นักศึกษา (กราฟแทงสีสม) และแกน Y ทางขวามือแทนจํานวนอาจารย (กราฟแทง/เสนสีฟา) ซึ่งในขณะนี้
กราฟแทง/เสนสีฟาดูไดงายขึ้น
ขั้นตอนในการสรางกราฟผสมแบบ 2 แกน (แกน Y 2 แกน) สามารถทําไดดังนี้
1. ปอนขอมูลที่ตองการสรางกราฟลงใน Excel
2. เลือกขอมูลที่ตองการแลวคลิกปุม Insert Chart เลือกประเภทกราฟเปน Combo Chart
จากนั้นกดปุม OK จะไดกราฟแกนเดียว (คาแกน X ที่ไดไมถูกตอง) ดังรูปที่ 35.
-
20,000
40,000
60,000
-
200,000
400,000
600,000
800,000
1,000,000
2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557
จํ
า
นวนอาจารย์
จํ
า
นวนนั
ก
ศึ
ก
ษา
จํานวนอาจารย์สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ/นักศึกษาชั้นปีที่ 1
นักศึกษา อาจารย์
-
10,000
20,000
30,000
40,000
50,000
60,000
-
200,000
400,000
600,000
800,000
1,000,000
2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557
จํ
า
นวนอาจารย์
จํ
า
นวนนั
ก
ศึ
ก
ษา
จํานวนอาจารย์สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ/นักศึกษาชั้นปีที่ 1
นักศึกษา อาจารย์
24 | P a g e
รูปที่ 35. การเลือกขอมูลที่ตองการสรางกราฟ แลวเลือกประเภทกราฟเปน Combo Chart
3. ทําการเปลี่ยนคาที่แกน X ใหถูกตอง (ในที่นี้คือ ป พ.ศ.) โดยคลิกที่กราฟ สังเกตที่แถบ
เครื่องมือดานบนจะปรากฏแถบ CHART TOOLS ที่แถบยอย DESIGN ใหเลือกไอคอน
Select Data ดังรูปที่ 36. จากนั้นจะพบกรอบโตตอบ Select Data Source เพื่อเลือกชวง
ขอมูลใหม ดังรูปที่ 37.
กดปุม OK
25 | P a g e
รูปที่ 36. การเลือกขอมูลที่ตองการสราง
รูปที่ 37. กรอบโตตอบ Select Data Source
4. ที่กรอบ Horizontal (Category) Axis Labels ใหคลิกปุม Edit จะปรากฏกรอบโตตอบ Axis
Labels จากนั้นใหทําการเลือกชวงขอมูลใหมที่ตองการ นั่นคือ คอลัมนป พ.ศ. แลวใหกดปุม
OK เพื่อออกจากการแกไข ผลที่ไดคือคาแกน X ที่ถูกตอง ดังรูปที่ 3 8
.
รูปที่ 38. กราฟแกนเดียวที่แสดงคาแกน X เปนป พ .
ศ
.
5. จากกราฟแกนเดียวที่ได ใหคลิกเลือกแทงกราฟที่ตองการนําไปสรางเปนแกน Y แกนที่สอง
(ในที่นี้ใหเลือกกราฟแทงสีฟา) จากนั้นใหคลิกขวาของเมาสจะปรากฏหนาตางเครื่องมือ ให
เลือก Format Data Series ดังรูปที่ 3 9
.
ไอคอน Select Data
กรอบโตตอบ Axis Labels
26 | P a g e
รูปที่ 39. หนาตางเครื่องมือสําหรับแกไข/ปรับปรุงกราฟ
6. หลังจากเลือก Format Data Series จะปรากฏแถบ Format Data Series ทางขวามือ ที่
SERIES OPTIONS เลือก Secondary Axis นั่นคือกําหนดใหกราฟที่เลือกอยู (ขณะนี้คือ
กราฟแทงสีฟา แทนจํานวนอาจารย) ถูกนําไปสรางเปนแกน Y อีกแกนเปน แกน Y แกนที่
สอง (Secondary Axis) นั่นเอง ดังรูปที่ 40.
รูปที่ 40. กําหนดกราฟที่ตองการนําไปสรางเปนแกน Y แกนที่สอง
7. ทําการเปลี่ยนชนิดของกราฟ โดยที่แถบเครื่องมือดานบนใหไปที่แถบ CHART TOOLS ที่
แถบยอย DESIGN ใหเลือกไอคอน Change Chart Type จะปรากฏกรอบโตตอบขึ้น
จากนั้นใหเลือก Chart Type เปน Line ใหกับ Series Name : อาจารย แลวคลิกปุม OK
ดังรูปที่ 4 1
.
เลือก Format Data
เลือก Secondary Axis
27 | P a g e
รูปที่ 41. การเปลี่ยนชนิดของกราฟ Series Name : อาจารย
8. ปรับแตงชื่อกราฟ ชื่อแกน จะไดกราฟผสมแบบ 2 แกน โดยมีขอมูลจํานวนนักเรียนเปนแกน
Y แกนหลักหรือแกนที่ 1 (Primary Axis) และขอมูลจํานวนอาจารยเปนแกน Y แกนรองหรือ
แกนที่ 2 (Secondary Axis) ดังรูปที่ 4 2
.
รูปที่ 42. การเปลี่ยนชนิดของกราฟ Series Name : อาจารย
การลบกราฟ
กราฟที่ไมใชแลว ตองการลบออก มีขั้นตอนดังนี้
1. คลิกกราฟที่ตองการลบ
2. กดปุม Delete ที่คียบอรด
-
20,000
40,000
60,000
-
200,000
400,000
600,000
800,000
1,000,000
2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557
จํ
า
นวนอาจารย์
จํ
า
นวนนั
ก
ศึ
ก
ษา
จํานวนอาจารย์สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ/นักศึกษาชั้นปีที่ 1
นักศึกษา อาจารย์
เลือก Change Chart
ที่ Series Name : อาจารย
เลือก Line
28 | P a g e
หนังสือและแหลงคนควาเพิ่มเติม:
1. กัลยา วานิชยบัญชา. การวิเคราะหขอมูลทางสถิติดวย EXCEL. พิมพครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ :
สํานักพิมพจุฬาลงกรณ 2556.
2. การวิเคราะหทางสถิติและวิศวกรรมดวย Analysis ToolPak
ที่มา: http://office.microsoft.com/th-th/excel-help/HP010090842.aspx
29 | P a g e

More Related Content

What's hot

การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุต
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุตการออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุต
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุตCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบบทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบSarawut Panchon
 
การจำลองความคิด
การจำลองความคิดการจำลองความคิด
การจำลองความคิดStrisuksa Roi-Et
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2kanjana Pongkan
 
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลสถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลskiats
 
สถิติ คณิตศาสตร์
สถิติ คณิตศาสตร์สถิติ คณิตศาสตร์
สถิติ คณิตศาสตร์Pla FC
 
1. ความร เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ย
1. ความร  เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ย1. ความร  เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ย
1. ความร เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ยฟ้าหลังฝน สดใสเสมอ
 
สถิติเบื่องต้น
สถิติเบื่องต้นสถิติเบื่องต้น
สถิติเบื่องต้นothanatoso
 
การรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการการรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการskiats
 
สถิติและคอมพิวเตอร์ 1
สถิติและคอมพิวเตอร์ 1สถิติและคอมพิวเตอร์ 1
สถิติและคอมพิวเตอร์ 1wilailukseree
 
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2sunisa3112
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลkruthanyaporn
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2Orapan Chamnan
 
ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2Orapan Chamnan
 
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์Kochakorn Noiket
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์kunanya12
 

What's hot (20)

การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุต
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุตการออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุต
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุต
 
Epi info unit01
Epi info unit01Epi info unit01
Epi info unit01
 
Epi info unit02
Epi info unit02Epi info unit02
Epi info unit02
 
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบบทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
 
การจำลองความคิด
การจำลองความคิดการจำลองความคิด
การจำลองความคิด
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
 
MS Access 2010 - Query
MS Access 2010 - QueryMS Access 2010 - Query
MS Access 2010 - Query
 
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลสถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
 
สถิติ คณิตศาสตร์
สถิติ คณิตศาสตร์สถิติ คณิตศาสตร์
สถิติ คณิตศาสตร์
 
1. ความร เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ย
1. ความร  เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ย1. ความร  เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ย
1. ความร เบ__องต_นเก__ยวก_บสถ_ต_และการว_จ_ย
 
สถิติเบื่องต้น
สถิติเบื่องต้นสถิติเบื่องต้น
สถิติเบื่องต้น
 
Role math stat_cs
Role math stat_csRole math stat_cs
Role math stat_cs
 
การรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการการรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการ
 
สถิติและคอมพิวเตอร์ 1
สถิติและคอมพิวเตอร์ 1สถิติและคอมพิวเตอร์ 1
สถิติและคอมพิวเตอร์ 1
 
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2
 
ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2
 
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 

Similar to เอกสารประกอบการอบรม Analysis

ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2Orapan Chamnan
 
ตัวอย่างทำคะแนน.นร.excel.pdf
ตัวอย่างทำคะแนน.นร.excel.pdfตัวอย่างทำคะแนน.นร.excel.pdf
ตัวอย่างทำคะแนน.นร.excel.pdfssuser9905b0
 
Lesson 4 การสร้าง query
Lesson 4 การสร้าง queryLesson 4 การสร้าง query
Lesson 4 การสร้าง queryErrorrrrr
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมPassawan' Koohar
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยChamada Rinzine
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมnuknook
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจkhuwawa2513
 
Design and technology 3 unit 4
Design and technology 3 unit 4Design and technology 3 unit 4
Design and technology 3 unit 4Chompooh Cyp
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1Orapan Chamnan
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมnuknook
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศPaweena Kittitongchaikul
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศPaweena Kittitongchaikul
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำSsab Sky
 

Similar to เอกสารประกอบการอบรม Analysis (20)

ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2
 
Static excel
Static excelStatic excel
Static excel
 
ตัวอย่างทำคะแนน.นร.excel.pdf
ตัวอย่างทำคะแนน.นร.excel.pdfตัวอย่างทำคะแนน.นร.excel.pdf
ตัวอย่างทำคะแนน.นร.excel.pdf
 
52 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องมุมบนวงกลมหนึ่งหน่วย
52 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องมุมบนวงกลมหนึ่งหน่วย52 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องมุมบนวงกลมหนึ่งหน่วย
52 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องมุมบนวงกลมหนึ่งหน่วย
 
53 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
53 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ53 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
53 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
Lesson 4 การสร้าง query
Lesson 4 การสร้าง queryLesson 4 การสร้าง query
Lesson 4 การสร้าง query
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
บทเรียน1 สถิติ
บทเรียน1  สถิติบทเรียน1  สถิติ
บทเรียน1 สถิติ
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
 
54 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกฎของไซน์และโคไซน์
54 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกฎของไซน์และโคไซน์54 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกฎของไซน์และโคไซน์
54 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกฎของไซน์และโคไซน์
 
Design and technology 3 unit 4
Design and technology 3 unit 4Design and technology 3 unit 4
Design and technology 3 unit 4
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
12 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องตารางค่าความจริง
12 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องตารางค่าความจริง12 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องตารางค่าความจริง
12 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องตารางค่าความจริง
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำ
 
Database analysis & pivot table
Database analysis & pivot tableDatabase analysis & pivot table
Database analysis & pivot table
 

More from dnavaroj

บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...dnavaroj
 
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559dnavaroj
 
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...dnavaroj
 
Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.
Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.
Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.dnavaroj
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558dnavaroj
 
Science.m.3.2
Science.m.3.2Science.m.3.2
Science.m.3.2dnavaroj
 
Science.m.3.1
Science.m.3.1Science.m.3.1
Science.m.3.1dnavaroj
 
สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)
สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)
สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)dnavaroj
 
สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้
สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้
สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้dnavaroj
 
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้dnavaroj
 
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกัน
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกันการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกัน
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกันdnavaroj
 
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่าการยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่าdnavaroj
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมdnavaroj
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศdnavaroj
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5  (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5  (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
Project pohpanpunya somdejyan
Project pohpanpunya somdejyanProject pohpanpunya somdejyan
Project pohpanpunya somdejyandnavaroj
 

More from dnavaroj (20)

บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...
 
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
 
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
 
Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.
Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.
Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
 
Science.m.3.2
Science.m.3.2Science.m.3.2
Science.m.3.2
 
Science.m.3.1
Science.m.3.1Science.m.3.1
Science.m.3.1
 
สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)
สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)
สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)
 
สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้
สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้
สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้
 
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
 
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกัน
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกันการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกัน
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกัน
 
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่าการยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5  (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5  (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
Project pohpanpunya somdejyan
Project pohpanpunya somdejyanProject pohpanpunya somdejyan
Project pohpanpunya somdejyan
 

เอกสารประกอบการอบรม Analysis

  • 1. เรียบเรียงโดย: ดร.สุภาวดี หิรัญพงศสิน ภาควิชาคณิตศาสตร สถิติ และคอมพิวเตอร คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เอกสารประกอบการอบรม การวิเคราะหขอมูลและการนําเสนอผลของการวิจัย โดยใชโปรแกรม MICROSOFT EXCEL 2013 การประชุมเชิงปฏิบัติการ “เขียนบทความวิจัยโครงการเพาะพันธุปญญา สําหรับครู” 3 เมษายน 2559 หองประชุมศรีเมืองใหม ชั้น 3 อาคารสํานักงานอธิการบดี (หลังใหม) มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
  • 2. สารบัญ บทนํา 2 การวิเคราะหขอมูลเบื้องตนโดยใชโปรแกรม Microsoft Excel 2013 2 ขั้นตอนการเตรียมการเพื่อวิเคราะหขอมูล 2 ตัวอยางการวิเคราะหขอมูล 5 ขั้นตอนการวิเคราะหขอมูล 8 การนําเสนอผลของการวิจัย 15 การสรางกราฟ (Chart) ใน Microsoft Excel 2013 18 สิ่งที่ตองพิจารณากอนการสรางกราฟ 18 ขั้นตอนในการสรางกราฟ 18 การเปลี่ยนชนิด (รูปแบบ) กราฟ 21 การสรางกราฟผสมแบบ 2 แกน 22 การลบกราฟ 28 1 | P a g e
  • 3. การวิเคราะหขอมูลและการนําเสนอผลของการวิจัย โดยใชโปรแกรม Microsoft Excel 2013 บทนํา การวิจัยทางการศึกษา หมายถึง กระบวนการ (Process) ในการแสวงหาความรูที่จะนําไปใชใน การพัฒนาคุณภาพทางการศึกษา สําหรับกระบวนการดังกลาวนี้เปนกระบวนการวิจัยซึ่งประกอบดวย ขั้นตอนพื้นฐาน 5 ขั้นตอน ไดแก 1) การกําหนดปญหา 2) การสรางสมมติฐาน ศึกษาขอมูลและ รายละเอียดที่เกี่ยวกับปญหา 3) การเก็บรวบรวมขอมูล 4) การวิเคราะหขอมูล และ 5) การสรุปผลขอมูล เอกสารประกอบการอบรมนี้ จะกลาวถึงขั้นตอนที่สําคัญขั้นตอนหนึ่งของกระบวนการวิจัย นั่นคือ การวิเคราะหขอมูล เมื่อผูวิจัยเก็บรวบรวมขอมูลและตรวจสอบความถูกตองของขอมูลแลว จะดําเนินการ กับขอมูลเหลานั้นดวยโปรแกรมสําเร็จรูปที่ใชสําหรับวิเคราะหขอมูลได โปรแกรมสําเร็จรูปที่นิยมใช สําหรับการวิเคราะหขอมูลในปจจุบันมีอยูดวยกันหลายโปรแกรม เชน SPSS (Statistical Package for the Social Sciences) SAS (Statistical Analysis System) และ STATA เปนตน อยางไรก็ดีแตละโปรแกรมมีจุดเดนที่แตกตางกัน ผูใชสามารถเลือกใชโปรแกรมเหลานี้ตาม ลักษณะของขอมูลหรือการใชงานของผูใชเอง นอกจากโปรแกรมที่ไดกลาวขางตนแลว โปรแกรม Microsoft Excel เปนอีกโปรแกรมหนึ่งที่สามารถนํามาใชในการวิเคราะหขอมูลไดเชนกัน ในที่นี้จะใช Microsoft Excel 2013 เพื่อเปนเครื่องมือในการวิเคราะหขอมูล ดังจะกลาวในหัวขอถัดไป การวิเคราะหขอมูลเบื้องตนโดยใชโปรแกรม Microsoft Excel 2013 การวิเคราะหขอมูลหรือคาทางสถิติเบื้องตน ดวยโปรแกรม Microsoft Excel 2013 สามารถ ศึกษารายละเอียดไดในหัวขอตอไปนี้ ขั้นตอนการเตรียมการเพื่อวิเคราะหขอมูล การวิเคราะหขอมูลเบื้องตนโดยใชโปรแกรม Microsoft Excel 2013 ผูใชจําเปนตองใชเครื่องมือ (Tool) ที่ชื่อวา Data Analysis หากเครื่องที่ผูใชใชในการวิเคราะหขอมูลไมมีเครื่องมือดังกลาว ผูใชตอง ทําการติดตั้งเครื่องมือ Data Analysis นี้กอน โดยมีขั้นตอนการติดตั้งดังตอไปนี้ 1. เปดโปรแกรม Microsoft Excel 2013 2. คลิกที่เมนูไฟล (File) คลิกที่เมนู Options (หรือ เมนูตัวเลือก) จะปรากฏดังรูปที่ 1. 2 | P a g e
  • 4. รูปที่ 1. แถบเมนู ภายใตเมนู Options 3. คลิกที่เมนู Add-Ins จะปรากฏดังรูปที่ 2. จากนั้นคลิกเลือกที่ Analysis ToolPak ภายใต หัวขอ Inactive Application Add-ins และคลิกเลือก Excel Add-ins ภายใตหัวขอ Manage ที่สวนดานลางของกรอบโตตอบ รูปที่ 2. เครื่องมือ Add-ins ตางๆ ของ Microsoft Office ภายใตเมนู Add-Ins 3 | P a g e
  • 5. 4. คลิกปุม Go จะปรากฏดังรูปที่ 3. รูปที่ 3. เครื่องมือ Add-ins ภายใต Analysis ToolPak 5. คลิกเลือกเครื่องมือตามรูปที่ 4. จากนั้นคลิกปุม OK รูปที่ 4. เลือกเครื่องมือ Add-ins ภายใต Analysis ToolPak 6. เมื่อเครื่องมือ Data Analysis ถูกติดตั้งเรียบรอยแลวจะปรากฏที่ริบบอนในแถบขอมูล (Data) ดังรูปที่ 5. รูปที่ 5. Data Analysis ถูกติดตั้งเรียบรอยแลว โดยปรากฏที่ริบบอนในแถบขอมูล (Data) 4 | P a g e
  • 6. 7. เมื่อคลิกเลือกที่เครื่องมือ Data Analysis จะปรากฏกรอบโตตอบเพื่อใหผูใชเลือกเครื่องมือ วิเคราะหขอมูลภายใตหัวขอ Analysis Tools ดังแสดงในรูปที่ 6. รูปที่ 6. กรอบโตตอบเพื่อเลือกเครื่องมือวิเคราะหขอมูล (Analysis Tools) ตัวอยางการวิเคราะหขอมูล ขอมูล (Data) จากแบบสอบถาม ในการวิเคราะหขอมูลนั้นจําเปนตองมีการเก็บขอมูล ซึ่งอาจเก็บไดจากแบบสอบถามที่สรางขึ้นมา โดยการเก็บรวบรวมขอมูลจากแบบสอบถามตามขนาดของตัวอยางที่เหมาะสม แลวสามารถใชโปรแกรม Microsoft Excel ชวยในการวิเคราะหขอมูลได วิธีดําเนินการ 1. กําหนดหัวขอแบบสอบถาม (ตัวอยางในที่นี้ คือ แบบสอบถามความพึงพอใจในการนําเสนองาน) 2. ออกแบบแบบสอบถาม โดยใหกําหนดประเด็นที่ตองการประเมินใหสอดคลองกับวัตถุประสงค ของการประเมิน และกลุมเปาหมาย (อาจกําหนดเปนดานหลักๆ แลวจึงกําหนดเปนประเด็น ยอยๆ ภายใตดานนั้นๆ) 3. เก็บขอมูลจากกลุมเปาหมาย โดยใหกลุมเปาหมายตอบแบบสอบถามตามที่ไดออกแบบไว ตาม ความเปนจริง 4. นําขอมูลที่ไดจากการเก็บขอมูลมาวิเคราะหเพื่อคาระดับความพึงพอใจ โดยการใชโปรแกรม Excel 5 | P a g e
  • 8. การแปรขอมูล เมื่อผูประเมินไดทําการประเมินเรียบรอยแลว ขั้นตอนตอไปเปนการนําขอมูลประเมินที่ไดมา วิเคราะหเพื่อนําเสนอผลการวิจัย อยางไรก็ดีเพื่อใหงายตอการประมวลผลในขั้นตอนของการวิเคราะห ขอมูล ผูวิจัยจําเปนตองแปรขอมูลที่ไดจากแบบสอบถามใหเปนตัวเลข แลวจึงกรอกขอมูลลงในฐานขอมูล Excel การแปรขอมูลในแตละสวนของแบบสอบถาม สามารถทําไดดังนี้ ตอนที่ 1 สถานภาพสวนตัวของผูตอบแบบสอบถาม เปนขอมูลที่เปนเชิงคุณภาพ ตองแปลงใหเปนตัวเลข ซึ่งเปนการกําหนดคําอธิบายใหกับคาตัวแปร โดยกําหนดดังนี้ • เพศ ชาย = 1 หญิง = 2 • อายุ ต่ํากวา 21 ป = 1 21-30 ป = 2 31- 40 ป = 3 41- 50 ป = 4 และมากกวา 50 ป = 5 • สถานภาพ อาจารย = 1 นักเรียน/นักศึกษา = 2 เจาหนาที่ = 3 บุคคลภายนอก = 4 และอื่นๆ = 5 • ระดับการศึกษา ประถมศึกษา = 1 มัธยมศึกษา = 2 อนุปริญญาหรือเทียบเทา = 3 ปริญญาตรีหรือเทียบเทา = 4 สูงกวาปริญญาตรี = 5 ตอนที่ 2 ความพึงพอใจในการนําเสนอ เปนขอมูลที่เปนเชิงคุณภาพ ตองแปลงใหเปนตัวเลข โดยกําหนดให 1=นอยที่สุด 2=นอย 3= ปานกลาง 4=มาก 5=มากที่สุด ตอนที่ 3 ขอเสนอแนะและความคิดเห็นอื่นๆ เสนอเปนความเรียง หรือเสนอเรียงตามลําดับความถี่ของขอมูล (ไมตองนําไปกรอกใน Excel) การกรอกขอมูลลงในฐานขอมูล Excel สมมติใหกลุมตัวอยาง/ประชากรที่ตอบแบบสอบถามมีจํานวน 20 คน จะไดแบบสอบถามจํานวน 20 ฉบับ เมื่อบันทึกขอมูลลงใน Excel แลว แสดงไดดังรูปที่ 7. รูปที่ 7. การกรอกขอมูลจากแบบสอบถามลงในฐานขอมูล Excel 7 | P a g e
  • 9. ขั้นตอนการวิเคราะหขอมูล จากตัวอยางแบบสอบถามขางตนที่ประกอบดวย 3 สวน ไดแก สวนที่ 1 สถานภาพสวนตัวของ ผูตอบแบบสอบถาม สวนที่ 2 ความพึงพอใจในการนําเสนอ และสวนที่ 3 ขอเสนอแนะและความคิดเห็น อื่นๆ โดยแตละสวนจะมีวัตถุประสงคในการประเมินที่ตางกัน นั่นคือ สวนที่ 1 ประเมินเพื่อใหทราบวากลุมตัวอยาง/ประชากร (ผูตอบแบบสอบถาม) มีขอมูลพื้นฐาน เปนอยางไร แสดงใหเห็นภูมิหลังของผูประเมิน สวนที่ 2 ประเมินเพื่อใหทราบวาระดับความพึงพอใจในการนําเสนอ อยูในระดับใด เชน ดีมาก ดี หรือปานกลาง เปนตน แสดงใหเห็นความเชื่อมั่นของผูประเมินที่มีตอกิจกรรมนั้น สวนที่ 3 ประเมินเพื่อใหทราบวากิจกรรมนั้นสวนเพิ่มเติมใดๆ ที่ไดรับการยอมรับ (ประเด็นที่ไมได มีในแบบสอบถาม) สวนใดตองปรับปรุง หรือสวนใดที่เปนคําแนะนําที่สามารถนําไปพัฒนาตอเพื่อใหเกิด ประโยชนตอกิจกรรมอื่นได ดังนั้น การวิเคราะหขอมูลในแตละสวนจะแตกตางกัน เพื่อใหงายตอการวิเคราะหขอมูล เครื่องมือ หรือวิธีการวิเคราะหในแตละสวน สามารถทําไดดังนี้ สวนที่ 1 ผูวิจัยสามารถเลือกใชเครื่องมือ Data Analysis เทคนิค Histogram ได สวนที่ 2 ผูวิจัยสามารถเลือกใชเครื่องมือ Data Analysis เทคนิค Descriptive Statistics ได สวนที่ 3 ผูวิจัยสามารถสรุปประเด็นที่เดนชัดแลวนํามาเขียนเปนความเรียงได (อาจไมตองใช โปรแกรม Excel) การวิเคราะหขอมูล : สวนที่ 1 สถานภาพสวนตัวของผูตอบแบบสอบถาม ในสวนนี้ ตัวอยางขอมูลที่ใชในการวิเคราะห คือ เพศ ผูวิจัยสามารถเลือกวิเคราะหขอมูลอื่นๆ เชน อายุ ระดับการศึกษา หรือขอมูลพื้นฐานอื่นในแบบสอบถามเพิ่มเติมไดในภายหลัง โดยใชเครื่องมือ Data Analysis ขั้นตอนการวิเคราะหขอมูล โดยใชเทคนิค Histogram มีดังตอไปนี้ 1. ที่แถบเครื่องมือ DATA คลิกเลือกที่เครื่องมือ Data Analysis จะปรากฏกรอบโตตอบเพื่อ เลือกเครื่องมือวิเคราะหขอมูล (Analysis Tools) จากนั้นเลือกเทคนิค Histogram ซึ่งใชหา คาความถี่ของขอมูล ดังแสดงในรูปที่ 8. รูปที่ 8. ทําการเลือกเทคนิค Histogram 8 | P a g e
  • 10. 2. กดปุม OK จะปรากฏกรอบโตตอบดังรูปที่ 9. รูปที่ 9. กรอบโตตอบ Histogram 3. ที่กรอบ Input ใหกําหนดชวงของขอมูลที่ตองการวิเคราะหที่ Input Range ในที่นี้ใหเลือก ชวงของขอมูล “เพศ” ($B$2:$B$21) และที่ Bin Range (ชวงของประเภทขอมูลทั้งหมด) ให เลือกชวง $R$5:$S$5 คลิกเลือกที่ Labels และที่กรอบ Output options ใหกําหนด ตําแหนงเซลลที่ตองการใสคาผลลัพธที่ Output Range ($Q$11) คลิกเลือกที่ Cumulative Percentage และคลิกเลือกที่ Chart Output ดังรูปที่ 10. รูปที่ 10. กําหนดคาตางๆ ในกรอบโตตอบ Histogram เพื่อวิเคราะหขอมูล Input Range ของเพศ Bin Range ของเพศ มี 2 ประเภท 9 | P a g e
  • 11. 4. กดปุม OK จะไดผลลัพธดังรูปที่ 11. รูปที่ 11. ผลลัพธที่ไดจากการใชเทคนิค Histogram จากรูปที่ 11. ที่คอลัมน Bin หมายถึงประเภทของเพศ โดยหมายเลข 1 แทนเพศชาย หมายเลข 2 แทนเพศหญิง (ดูจากแบบสอบถาม) และ More หมายถึงเพศอื่นๆ คอลัมน Frequency คือความถี่หรือ จํานวนคนที่แบงตามเพศ และคอลัมน Cumulative หมายถึงเปอรเซนตหรือรอยละสะสมของจํานวนคน ที่แบงตามเพศ นอกจากนี้กราฟผลลัพธ Histogram จะถูกแสดงตามขอมูลของคอลัมนทั้ง 3 ขางตนดวย ผูวิจัยสามารถเขียนสรุปผลการวิเคราะหขอมูลไดดังนี้ ผูตอบแบบสอบถาม จํานวน 20 คน เปน ชาย จํานวน 11 คน คิดเปนรอยละ 55 และเปนหญิง จํานวน 9 คน คิดเปนรอยละ 45 การวิเคราะหขอมูล : สวนที่ 2 ความพึงพอใจในการนําเสนอ ผูวิจัยสามารถหาคาทางสถิติเชิงพรรณนา ซึ่งใชอธิบายคุณลักษณะของสิ่งที่ตองการศึกษากลุมใด กลุมหนึ่งเทานั้น และไมสามารถใชอางอิงไปยังกลุมขอมูลอื่นๆ ได เชน คาเฉลี่ย รอยละ และคาเบี่ยงเบน มาตรฐาน เปนตน ไดโดยใชเทคนิค Descriptive Statistics ขั้นตอนการวิเคราะหขอมูล โดยใชเทคนิค Descriptive Statistics มีดังตอไปนี้ 1. ที่แถบเครื่องมือ DATA คลิกเลือกที่เครื่องมือ Data Analysis จะปรากฏกรอบโตตอบเพื่อ เลือกเครื่องมือวิเคราะหขอมูล (Analysis Tools) จากนั้นเลือกเทคนิค Descriptive Statistics ดังแสดงในรูปที่ 12. รูปที่ 12. ทําการเลือกเทคนิค Descriptive Statistics 10 | P a g e
  • 12. 2. กดปุม OK จะปรากฏกรอบโตตอบดังรูปที่ 13. รูปที่ 13. กรอบโตตอบ Descriptive Statistics 3. ที่กรอบ Input ใหกําหนดชวงของขอมูลที่ตองการวิเคราะห ในที่นี้เลือกชวงของขอมูลความ พึงพอใจดานเนื้อหา ($F$1:$J$21) ที่ Grouped By คลิกเลือกที่ Columns และคลิกเลือกที่ Labels in first row และที่กรอบ Output options สามารถเลือกใหผลลัพธไปแสดงตามที่ กําหนดได ไดแก ที่แผนงานเดิมใหกําหนดตําแหนงเซลลที่ตองการใสคาผลลัพธที่ Output Range หรือที่แผนงานใหม (New Worksheet Ply) หรือที่สมุดงานใหม (New Workbook) และคลิกเลือกที่ Summary statistics ดังรูปที่ 14. Input Range ด้านเนื้อหา 11 | P a g e
  • 13. รูปที่ 14. กําหนดคาตางๆ ในกรอบโตตอบ Descriptive Statistics เพื่อวิเคราะหขอมูล 4. กดปุม OK จะไดผลลัพธดังรูปที่ 15. รูปที่ 15. ผลลัพธที่ไดจากการใชเทคนิค Descriptive Statistics จากรูปที่ 15. แสดงคาทางสถิติเชิงพรรณนาของกลุมขอมูลดานเนื้อหาทั้ง 5 ขอ โดยที่: Mean: คามัชฌิมเลขคณิต (Arithmetic mean) คือคาเฉลี่ยของขอมูลทั้งหมด Standard Error: แสดงลักษณะการกระจายตัวของขอมูล คือยิ่งใกลคา 0 (ศูนย) แสดงวากลุม ตัวอยางมีการกระจายตัวใกลกับคาเฉลี่ยของประชากร Median: คามัธยฐาน คือคาของขอมูลที่จุดกึ่งกลางของการกระจายของขอมูลที่มีการเรียงลําดับ แลวจากคานอยไปหาคามาก โดย 50% ของขอมูลมีคาสูงกวาคามัธยฐาน และ 50% มีคาต่ํากวา คามัธยฐาน และมักใชในกรณีที่ การกระจายของขอมูลมีลักษณะไมเทากันทั้งสองขาง (Asymmetry) หรือมีลักษณะเบไปทางซายหรือทางขวา Mode: คาฐานนิยม คือคาของขอมูลที่มีความถี่ (ซ้ํากัน) มากที่สุดในขอมูลของชุดนั้น ๆ ซึ่งอาจมี มากกวาหนึ่งคา (ผลลัพธจะแสดงคาแรกที่เจอ) หรือไมมีเลยก็ได (ผลลัพธจะแสดง #N/A) Standard Deviation: สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปนการวัดการกระจายของขอมูลวาจะ เบี่ยงเบนไปจากคาเฉลี่ยมากนอยเทาใด Sample Variance: คาความแปรปรวน เพื่อสะดวกในการคํานวณและหมดปญหาเกี่ยวกับ เครื่องหมายจึงยกกําลังสองของคาเบี่ยงเบนของคาเฉลี่ย 12 | P a g e
  • 14. Kurtosis: เปนการวัดลักษณะความโดงของขอมูล การพิจารณาความโดงพิจารณาเครื่องหมาย ดังนี้ Kurtosis = 0 แสดงวาความโดงปกติ Kurtosis = - แสดงวาความโดงต่ํากวาปกติ Kurtosis = + แสดงวามีความโดงสูงกวาปกติ Skewness: เปนการวัดการกระจายของขอมูลในลักษณะทิศทางของขอมูลวามีความเบไปใน ทิศทางใด Range: พิสัย เปนคาความแตกตางระหวางคาสูงสุดและคาต่ําสุด (พิสัย=คาสูงสุด-คาต่ําสุด) ของ ขอมูลชุดหนึ่ง ๆ การวัดการกระจายของขอมูลโดยใชพิสัยนี้ เปนคาที่แสดงการกระจายอยางคราว ๆ ไมใชการวัดที่ละเอียดและเชื่อถือไดมากนัก เพราะเปนคาที่ไดมาจากขอมูลเพียง 2 คาเทานั้น นิยมบอกคา สูงสุดและต่ําสุดแทน เพื่อใหสามารถบอกไดวา การกระจายขอมูลเปนอยางไร มักถูก นําเสนอคูกับคามัธยฐาน Minimum: คาต่ําสุดของขอมูลชุดนั้น Maximum: คาสูงสุดของขอมูลชุดนั้น Sum: ผลรวมของคาทั้งหมดของขอมูลชุดนั้น Count: จํานวนขอมูลทั้งหมด อยางไรก็ดีคาทางสถิติที่นิยมใช 2 คาในการสรุปผลการวิจัยเกี่ยวกับระดับความพึงพอใจ ไดแก Mean และ Standard Deviation นอกจากการวิเคราะหขอมูลโดย Excel ในสวนที่ 1 ที่ใช เทคนิค Histogram และสวนที่ 2 ที่ใช เทคนิค Descriptive Statistics ผูวิจัยสามารถใชเครื่องมือใน Excel ที่แถบเครื่องมือ HOME ที่กรอบ เครื่องมือ Editing ทางขวามือสุด โดยเลือกใชไอคอน เพื่อหาคา Mean และ Standard Deviation (S.D.) ไดเชนกัน ดังแสดงในรูปที่ 16. รูปที่ 16. ผลลัพธที่ไดจากการใชเทคนิค Descriptive Statistics จากรูปที่ 16. คา Mean ใชสูตร AVERAGE(ชวงของขอมูล) และคา S.D. ใชสูตร STDEV.S(ชวง ของขอมูล) ซึ่งทั้ง 2 สูตร สามารถเลือกใชไดจากไอคอน 13 | P a g e
  • 15. อยางไรก็ดี มีวิธีการวิเคราะหขอมูลอีกแบบหนึ่งที่นิยมใช นั่นคือการแสดงคารอยละของความพึง พอใจในแตละดาน ซึ่งวิธีนี้ผูวิจัยจะตองกรอกขอมูลลงในฐานขอมูล Excel โดยการนับจํานวนคนที่ ประเมินในแตละดาน แตละหัวขอที่ประเมิน จากนั้นจึงนํามาคํานวณเปนคารอยละ ดังแสดงในรูปที่ 17. รูปที่ 17. การวิเคราะหขอมูล โดยใชคารอยละ ขอมูล (Data) จากการทดลอง นอกจากขอมูลที่ไดจากแบบสอบถามแลว มีขอมูลที่ไดจากการทดลองที่ผูวิจัยสามารถใช โปรแกรม Excel ชวยในการวิเคราะหขอมูลเพื่อสรุปผลการวิจัยได ตัวอยางขอมูลแสดงในรูปที่ 18. รูปที่ 18. การกรอกขอมูลจากการทดลองลงในฐานขอมูล Excel การวิเคราะหขอมูล สําหรับขอมูลที่ไดจากการทดลองนี้ ผูวิจัยสามารถเลือกใชเครื่องมือไดดังนี้ 1. เครื่องมือ Data Analysis เทคนิค Descriptive Statistics 2. แถบเครื่องมือ HOME ที่กรอบเครื่องมือ Editing นับจํานวนคนที่ ประเมินในแต่ละด้าน คํานวณค่าร้อยละ ในแต่ละด้าน 14 | P a g e
  • 16. การนําเสนอผลของการวิจัย ขั้นตอนตอจากการวิเคราะหขอมูล คือการนําเสนอผลของการวิเคราะหขอมูล หรือผลของการ วิจัยวา ผูวิจัยพบหรือไดขอสรุปใดจากการวิจัย ในสวนนี้จะอธิบายวิธีการนําเสนอผลของการวิจัย ทั้งจาก แบบสอบถามและการทดลอง ผูวิจัยสามารถศึกษาไดจากหัวขอตอไปนี้ ตัวอยางการนําเสนอผลของการวิจัยจากแบบสอบถาม การวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถามขางตน สามารถนําเสนอผลของการวิจัย ไดดังนี้ แบบที่ 1 นําเสนอดวยคาเฉลี่ยและคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน แสดงดังรูปที่ 19. รูปที่ 19. การนําเสนอผลของการวิจัยจากแบบสอบถาม แบบที่ 1 15 | P a g e
  • 17. จากรูปที่ 19. สามารถเขียนสรุปผลการวิจัยไดวา ความพึงพอใจเฉลี่ยในการนําเสนอผลงาน โดยรวมของผูตอบแบบสอบถามอยูในระดับความพึงพอใจมาก มีคาเทากับ 4.44 (S.D. = 0.50) โดยความ พึงพอใจเฉลี่ยทั้งดานเนื้อหาและดานการนําเสนออยูในระดับความพึงพอใจมาก มีคาเทากับ 4.45 (S.D. = 0.49) และ 4.42 (S.D. = 0.52) ตามลําดับ แบบที่ 2 นําเสนอดวยคารอยละ แสดงดังรูปที่ 20. รูปที่ 20. การนําเสนอผลของการวิจัยจากแบบสอบถาม แบบที่ 2 มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด เนื้อหา 60 26 13 1 - 4.45 การนําเสนอ 56 30 14 - - 4.42 4.44 88.70 ดานที่ประเมิน ระดับความพึงพอใจ (รอยละ) ระดับเฉลี่ย ระดับเฉลี่ย เฉลี่ยรอยละ 16 | P a g e
  • 18. จากรูปที่ 20. สามารถเขียนสรุปผลการวิจัยไดวา ความพึงพอใจเฉลี่ยในการนําเสนอผลงาน โดยรวมของผูตอบแบบสอบถามอยูในระดับความพึงพอใจมาก มีคาเทากับ 4.44 คิดเปนรอยละ 88.70 โดยความพึงพอใจเฉลี่ยทั้งดานเนื้อหาและดานการนําเสนออยูในระดับความพึงพอใจมาก มีคาเทากับ 4.45 และ 4.42 ตามลําดับ ตัวอยางการนําเสนอผลของการวิจัยจากการทดลอง การวิเคราะหขอมูลจากการทดลองขางตน สามารถนําเสนอผลของการวิจัยในรูปแบบกราฟได ดัง แสดงในรูปที่ 21. และรูปที่ 22. รูปที่ 21. การนําเสนอผลของการวิจัยจากการทดลองดวยกราฟ แบบที่ 1 จากรูปที่ 21. จะสังเกตไดวา แกน X คือวิธีดําขาว และแกน Y คือจํานวนตนขาวที่แตกกอ โดย กราฟแทงแทนลําดับที่ของกอขาวตั้งแต กอที่ 1 ถึง กอที่ 4 โดยมีกราฟเสนแทนคาเฉลี่ยของจํานวนตน ขาวที่แตกกอ รูปที่ 22. การนําเสนอผลของการวิจัยจากการทดลองดวยกราฟ แบบที่ 2 จากรูปที่ 22. จะสังเกตไดวา แกน X คือลําดับที่ของกอขาวตั้งแตกอที่ 1 ถึง กอที่ 4 และคาเฉลี่ย และแกน Y คือจํานวนตนขาวที่แตกกอ โดยกราฟแทงแทนวิธีดําขาว 3 วิธี ไดแก ดําถี่ นาเคมี ดําหลายตน ดําหาง นาอินทรีย ดําหลายตน และดําหาง นาอินทรีย ดําตนเดียว 17 | P a g e
  • 19. การสรางกราฟ (Chart) ใน Microsoft Excel 2013 กราฟ เปนอีกวิธีหนึ่งที่ใชแสดงขอมูลที่เปนตัวเลขไดอยางชัดเจน และสื่อความหมายไดมากขึ้น โดยเฉพาะขอมูลที่ใชเปรียบเทียบหรือแสดงแนวโนมของคาตางๆ เชน รายรับ-รายจาย เงินเดือน หรือ ขอมูลทางวิทยาศาสตร เปนตน สิ่งที่ตองพิจารณากอนการสรางกราฟ การสรางกราฟใน Microsoft Excel สิ่งสําคัญที่ตองพิจารณา คือ ขอมูลที่จะนํามาสรางกราฟ ลักษณะขอมูลที่จะนํามาสรางกราฟ และชนิดของกราฟที่ตองการนําเสนอ ขั้นตอนในการสรางกราฟ 1. เลือกกลุมขอมูลที่จะนํามาสรางกราฟ เมื่อเลือกแลวกลุมขอมูลจะเปนแถบสี (Highlight) ดัง รูปที่ 2 3 . รูปที่ 23. การเลือกกลุมขอมูลในการสรางกราฟ 2. ที่แถบเมนูใหเลือกแถบแทรก (INSERT) จากนั้นใหผูใชเลือกคําสั่งสรางกราฟซึ่งทําไดดังนี้ วิธีที่ 1 เลือกคําสั่งสรางกราฟที่แผนภูมิที่แนะนํา (Recommended Charts) ซึ่งจะพบกราฟ แบบตางๆ ทั้งหมด หรือเลือกที่แผนภูมิ (Charts) ซึ่งเปนคําสั่งสรางกราฟที่ใชบอย ดังรูปที่ 24. รูปที่ 24. การสรางกราฟดวย Recommended Charts หรือ Charts เลือก แถบ INSERT คําสั่งสรางกราฟแบบตางๆ 18 | P a g e
  • 20. วิธีที่ 2 ใชเครื่องมือที่เรียกวา Quick Analysis (Ctrl+Q) เมื่อผูใชเลือกกลุมขอมูลที่ตองการแลว จะพบเครื่องหมาย ปรากฏอยูที่มุมขวาดานลาง ใหผูใชเลือก CHARTS เพื่อเลือกรูปแบบ กราฟที่ตองการสราง ดังรูปที่ 25. รูปที่ 25. การสรางกราฟดวย Quick Analysis 3. เมื่อคลิกเลือกประเภทของกราฟแลว จะปรากฏกราฟบน Work Sheet ในที่นี้เลือกกราฟ ประเภท Clustered Column ดังรูปที่ 26. รูปที่ 26. กราฟที่ไดจากการเลือกประเภทกราฟ Clustered Column 4. ปรับแตงกราฟตามตองการ ผูใชสามารถทําไดดังนี้ วิธีที่ 1 คลิกที่กราฟแลวที่แถบเครื่องมือ (Tool Bar) จะปรากฏ แถบเครื่องมือแผนภูมิ (CHART TOOLS) ซึ่งประกอบดวย แถบออกแบบ (DESIGN) และแถบรูปแบบ (FORMAT) ดังรูปที่ 27. 19 | P a g e
  • 21. รูปที่ 27. การปรับแตงกราฟดวยแถบเครื่องมือแผนภูมิ วิธีที่ 2 คลิกที่กราฟแลวทางดานขวาของกราฟจะปรากฏ ไอคอนปรับแตงกราฟ ดังรูปที่ 27. การปรับแตงกราฟดวยไอคอนปรับแตงกราฟ สามารถทําไดดังนี้ • ปรับแตงองคประกอบ (Chart Elements) ของกราฟ เชน หัวเรื่องกราฟ (Chart Title) คําอธิบายสีกราฟ (Legend) เปนตน ไดที่เครื่องหมาย ซึ่งอยูทางดานขวาของกราฟ ดังรูปที่ 2 8 . รูปที่ 28. การปรับแตงองคประกอบของกราฟ • ปรับแตงกราฟ (Chart Styles) ไดแก รูปแบบ (STYLE) และสี (COLOR) ไดที่ เครื่องหมาย ซึ่งอยูทางดานขวาของกราฟ ดังรูปที่ 2 9 . แถบเครื่องมือแผนภูมิ ไอคอนปรับแตงกราฟ 20 | P a g e
  • 22. รูปที่ 29. การปรับแตงกราฟ • ปรับขอมูลที่แสดงในกราฟ (Chart Filters) ไดแก คาขอมูล (VALUES) และชื่อ (NAMES) ไดที่เครื่องหมาย ซึ่งอยูทางดานขวาของกราฟ ดังรูปที่ 3 0 . รูปที่ 30. การปรับขอมูลที่แสดงในกราฟ การเปลี่ยนชนิด (รูปแบบ) กราฟ เมื่อสรางกราฟเสร็จแลว ถาผูใชตองการเปลี่ยนแปลงรูปแบบของกราฟ สามารถทําไดดังนี้ 1. เลือกกราฟที่ตองการเปลี่ยนรูปแบบ 2. ที่แถบเครื่องมือแผนภูมิ เลือก DESIGN และหัวขอ Type เลือกเปลี่ยนชนิดแผนภูมิ (Change Chart Type) ดังรูปที่ 3 1 . รูปที่ 31. การเปลี่ยนชนิดกราฟ ไอคอนเปลี่ยนชนิดแผนภูมิ 21 | P a g e
  • 23. 3. กรอบโตตอบเปลี่ยนชนิดแผนภูมิจะปรากฏขึ้น ใหผูใชเลือกรูปแบบกราฟที่ตองการเปลี่ยน ดังรูปที่ 32. รูปที่ 32. กรอบโตตอบเปลี่ยนชนิดกราฟ การสรางกราฟผสมแบบ 2 แกน สําหรับขอมูลทั่วไป กราฟจะประกอบดวย แกน X และ แกน Y อยางละ 1 แกน ในกรณีที่ขอมูล มีคาที่แตกตางกันมาก หากนํามาสรางกราฟในลักษณะทั่วไปการแสดงผลอาจมองภาพไดยาก ดังนั้นขอมูล ลักษณะนี้ จึงควรนําเสนอดวยกราฟแบบผสมที่มี 2 แกน ในที่นี้คือ สรางกราฟแกน Y เปน 2 แกน (สามารถเพิ่มแกน X เปน 2 แกนได แตตองทําหลังจากเพิ่มแกน Y แกนที่ 2 แลวจึงจะมี Option ปรากฏ ใหเลือก) ตัวอยางขอมูลที่มีคาแตกตางกันมาก แสดงดังรูปที่ 33. 22 | P a g e
  • 24. แหลงขอมูล : สํานักงานสถิติแหงชาติ รูปที่ 33. ตัวอยางขอมูลระหวางจํานวนอาจารยสถาบันอุดมศึกษาของรัฐและจํานวนนักศึกษาชั้นปที่ 1 ตั้งแตปพุทธศักราช 2549 – 2557 จากรูปที่ 33. แสดงตัวอยางขอมูลระหวางจํานวนอาจารยสถาบันอุดมศึกษาของรัฐและจํานวน นักศึกษาชั้นปที่ 1 ตั้งแตปพุทธศักราช 2549 – 2557 ที่มีคาแตกตางกันมาก เมื่อนํามาสรางกราฟแกน เดียวโดยแกน X แทนปพุทธศักราช และแกน Y แทนจํานวนอาจารย (กราฟแทงสีฟา) และจํานวน นักศึกษา (กราฟแทงสีสม) จะสังเกตไดวา แทงกราฟของขอมูลจํานวนอาจารยต่ํามากทําใหดูไดยาก แนวทางในการปรับปรุงคือ การทําใหเปนกราฟผสมแบบ 2 แกน ดังรูปที่ 34. - 200,000 400,000 600,000 800,000 1,000,000 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 จํานวนอาจารย์สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ/นักศึกษาชั้นปีที่ 1 อาจารย์ นักศึกษา 23 | P a g e
  • 25. หรือ รูปที่ 34. การนําเสนอขอมูลที่มีคาแตกตางกันมาก ดวยกราฟผสมแบบ 2 แกน จากรูปที่ 34. เปนกราฟผสมแบบ 2 แกน (แกน Y 2 แกน) ซึ่งปรับปรุงมาจากกราฟแกนเดียวใน รูปที่ 33. จะสังเกตไดวา แกน X ทางซายมือแทนจํานวนนักศึกษา แกน Y ทางซายมือแทนจํานวน นักศึกษา (กราฟแทงสีสม) และแกน Y ทางขวามือแทนจํานวนอาจารย (กราฟแทง/เสนสีฟา) ซึ่งในขณะนี้ กราฟแทง/เสนสีฟาดูไดงายขึ้น ขั้นตอนในการสรางกราฟผสมแบบ 2 แกน (แกน Y 2 แกน) สามารถทําไดดังนี้ 1. ปอนขอมูลที่ตองการสรางกราฟลงใน Excel 2. เลือกขอมูลที่ตองการแลวคลิกปุม Insert Chart เลือกประเภทกราฟเปน Combo Chart จากนั้นกดปุม OK จะไดกราฟแกนเดียว (คาแกน X ที่ไดไมถูกตอง) ดังรูปที่ 35. - 20,000 40,000 60,000 - 200,000 400,000 600,000 800,000 1,000,000 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 จํ า นวนอาจารย์ จํ า นวนนั ก ศึ ก ษา จํานวนอาจารย์สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ/นักศึกษาชั้นปีที่ 1 นักศึกษา อาจารย์ - 10,000 20,000 30,000 40,000 50,000 60,000 - 200,000 400,000 600,000 800,000 1,000,000 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 จํ า นวนอาจารย์ จํ า นวนนั ก ศึ ก ษา จํานวนอาจารย์สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ/นักศึกษาชั้นปีที่ 1 นักศึกษา อาจารย์ 24 | P a g e
  • 26. รูปที่ 35. การเลือกขอมูลที่ตองการสรางกราฟ แลวเลือกประเภทกราฟเปน Combo Chart 3. ทําการเปลี่ยนคาที่แกน X ใหถูกตอง (ในที่นี้คือ ป พ.ศ.) โดยคลิกที่กราฟ สังเกตที่แถบ เครื่องมือดานบนจะปรากฏแถบ CHART TOOLS ที่แถบยอย DESIGN ใหเลือกไอคอน Select Data ดังรูปที่ 36. จากนั้นจะพบกรอบโตตอบ Select Data Source เพื่อเลือกชวง ขอมูลใหม ดังรูปที่ 37. กดปุม OK 25 | P a g e
  • 27. รูปที่ 36. การเลือกขอมูลที่ตองการสราง รูปที่ 37. กรอบโตตอบ Select Data Source 4. ที่กรอบ Horizontal (Category) Axis Labels ใหคลิกปุม Edit จะปรากฏกรอบโตตอบ Axis Labels จากนั้นใหทําการเลือกชวงขอมูลใหมที่ตองการ นั่นคือ คอลัมนป พ.ศ. แลวใหกดปุม OK เพื่อออกจากการแกไข ผลที่ไดคือคาแกน X ที่ถูกตอง ดังรูปที่ 3 8 . รูปที่ 38. กราฟแกนเดียวที่แสดงคาแกน X เปนป พ . ศ . 5. จากกราฟแกนเดียวที่ได ใหคลิกเลือกแทงกราฟที่ตองการนําไปสรางเปนแกน Y แกนที่สอง (ในที่นี้ใหเลือกกราฟแทงสีฟา) จากนั้นใหคลิกขวาของเมาสจะปรากฏหนาตางเครื่องมือ ให เลือก Format Data Series ดังรูปที่ 3 9 . ไอคอน Select Data กรอบโตตอบ Axis Labels 26 | P a g e
  • 28. รูปที่ 39. หนาตางเครื่องมือสําหรับแกไข/ปรับปรุงกราฟ 6. หลังจากเลือก Format Data Series จะปรากฏแถบ Format Data Series ทางขวามือ ที่ SERIES OPTIONS เลือก Secondary Axis นั่นคือกําหนดใหกราฟที่เลือกอยู (ขณะนี้คือ กราฟแทงสีฟา แทนจํานวนอาจารย) ถูกนําไปสรางเปนแกน Y อีกแกนเปน แกน Y แกนที่ สอง (Secondary Axis) นั่นเอง ดังรูปที่ 40. รูปที่ 40. กําหนดกราฟที่ตองการนําไปสรางเปนแกน Y แกนที่สอง 7. ทําการเปลี่ยนชนิดของกราฟ โดยที่แถบเครื่องมือดานบนใหไปที่แถบ CHART TOOLS ที่ แถบยอย DESIGN ใหเลือกไอคอน Change Chart Type จะปรากฏกรอบโตตอบขึ้น จากนั้นใหเลือก Chart Type เปน Line ใหกับ Series Name : อาจารย แลวคลิกปุม OK ดังรูปที่ 4 1 . เลือก Format Data เลือก Secondary Axis 27 | P a g e
  • 29. รูปที่ 41. การเปลี่ยนชนิดของกราฟ Series Name : อาจารย 8. ปรับแตงชื่อกราฟ ชื่อแกน จะไดกราฟผสมแบบ 2 แกน โดยมีขอมูลจํานวนนักเรียนเปนแกน Y แกนหลักหรือแกนที่ 1 (Primary Axis) และขอมูลจํานวนอาจารยเปนแกน Y แกนรองหรือ แกนที่ 2 (Secondary Axis) ดังรูปที่ 4 2 . รูปที่ 42. การเปลี่ยนชนิดของกราฟ Series Name : อาจารย การลบกราฟ กราฟที่ไมใชแลว ตองการลบออก มีขั้นตอนดังนี้ 1. คลิกกราฟที่ตองการลบ 2. กดปุม Delete ที่คียบอรด - 20,000 40,000 60,000 - 200,000 400,000 600,000 800,000 1,000,000 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 จํ า นวนอาจารย์ จํ า นวนนั ก ศึ ก ษา จํานวนอาจารย์สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ/นักศึกษาชั้นปีที่ 1 นักศึกษา อาจารย์ เลือก Change Chart ที่ Series Name : อาจารย เลือก Line 28 | P a g e
  • 30. หนังสือและแหลงคนควาเพิ่มเติม: 1. กัลยา วานิชยบัญชา. การวิเคราะหขอมูลทางสถิติดวย EXCEL. พิมพครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพจุฬาลงกรณ 2556. 2. การวิเคราะหทางสถิติและวิศวกรรมดวย Analysis ToolPak ที่มา: http://office.microsoft.com/th-th/excel-help/HP010090842.aspx 29 | P a g e