SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
บทที่ 5
                                       การตรวจสอบขอมูลนําเขา ดวย
                                      โปรแกรมยอย Data Compare

             การสรางแบบฟอรมดวยโปรแกรมยอย Make View (Questionnaire) และการนําเขา
ขอมูลดวยโปรแกรมยอย Enter Data สามารถควบคุมและกลั่นกรองความผิดพลาดที่เกิดขึ้นจากการ
นําเขาขอมูลไดระดับหนึ่ง แตยังไมสามารถครอบคลุมความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นจากผูนําเขาขอมูล
ได ดังนั้นเพื่อลดความผิดพลาดดังกลาว จึงกําหนดใหมีการนําเขาขอมูล 2 ครั้ง(Double Data Entry)
จากแบบฟอรมเก็บขอมูลชุดเดียวกัน และจัดเก็บแฟมแยกเปน 2 แฟม เพื่อนํามาเปรียบเทียบคนหา
ความแตกตางที่เกิดขึ้น ซึ่งโปรแกรมยอยที่นํามาใชกับงานลักษณะเชนนี้ เรียกวา Data Compare

                                 5.1 แนะนําโปรแกรมยอย Data Compare

           เมื่อเขาสูโปรแกรม Data Compare จะมีหนาตางหลัก 3 สวน ดังรูปที่ 5.1

       สวนที่ 1

       สวนที่ 2



       สวนที่ 3




                          รูปที่ 5.1 หนาตางหลักของโปรแกรม Data Compare
           ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
70                                  บทที่ 5 การตรวจสอบขอมูลนําเขาดวย Data Compare




          ซึ่งจากรูปหนาแรกของโปรแกรมยอย Data Compare ขางตน สามารถอธิบายในสวน
รายละเอียดยอยภายในหนาตางหลักของแตละสวนไดดังนี้

              5.1.1 หนาตางหลักสวนที่ 1
                    เปนสวนของแถบรายการคําสั่งหลักในการทํางาน ประกอบดวยรายละเอียด
ตางๆดังนี้
                       (1) แถบรายการคําสั่งหลัก(Main menu)ในสวนที่ 1



                       รูปที่ 5.2 แถบรายการคําสั่งหลักของโปรแกรม Data Compare

                  (2) รายการคําสั่งหลัก File เปนรายการคําสั่งยอยที่ใชในการเปดหนาตางการ
ทํางานเพื่อเปรียบเทียบแฟมขอมูลใหม เรียกผลการเปรียบเทียบที่เคยบันทึกไว การบันทึก การ
บันทึกเปนแฟมอื่น การกําหนดคุณสมบัติของการเปรียบเทียบและการออกจากโปรแกรม




                      รูปที่ 5.3 รายการคําสั่งหลัก File ของโปรแกรม Data Compare

                (3) รายการคําสั่งหลัก Edit เปนรายการคําสั่งยอยที่ใชในการแกไขขอมูล ไดแก
การตัด การคัดลอก การวางขอมูล และการคัดลอก หรือการลบในตาราง




                      รูปที่ 5.4 รายการคําสั่งหลัก Edit ของโปรแกรม Data Compare
              ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows                                         71




                  (4) รายการคําสั่งหลัก View เปนรายการคําสั่งยอยที่ใชในการกําหนดการแสดง
ของขอมูล ไดแก การแสดงคาขอมูลที่แตกตางเพียงอยางเดียว การแสดงรายละเอียดหนา การแสดง
รายละเอียดขอความ/โครงสราง




                      รูปที่ 5.5 รายการคําสั่งหลัก View ของโปรแกรม Data Compare

                  (5) รายการคําสั่งหลัก Help เปนรายการคําสั่งยอยที่ใชในการชวยเหลือเกี่ยวกับ
เนื้อหา และขอมูลเกี่ยวกับโปรแกรมยอย Data Compare




                       รูปที่ 5.6 รายการคําสั่งหลัก Help ของโปรแกรม Data Compare

               5.1.2 หนาตางหลักสวนที่ 2
                     เปน สวนของแถบเครื่องมือในการทํ างาน ประกอบดวยรายละเอียดตางๆ ดัง
รูปที่ 5.7
                                                            Copy
                                                                                 แสดงชื่อตารางที่ 1 เทียบกับชื่อตารางที่ 2
                                                         Cut Paste


             New Script
         Open Script
                                                                         Edit Mode On
             Edit Script
                                                                                        Read-Only Mode On



                    รูปที่ 5.7 แถบเครื่องมือในการทํางานของโปรแกรม Data Compare

               ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
72                              บทที่ 5 การตรวจสอบขอมูลนําเขาดวย Data Compare




         5.1.3 หนาตางหลักสวนที่ 3
               เปนสวนแสดงขอมูลที่แตกตางของแตละแฟม ของแถบเครื่องมือในการทํางาน
ประกอบดวยรายละเอียดตางๆ ดังรูปที่ 5.8


                                                                            เปนสวนที่แสดงคาขอมูลที่แตกตาง
                                                                            จาก Table 2 จะถูกระบายดวยสี
                                                                            เหลือง




                                                                            เปนสวนที่แสดงคาขอมูลที่แตกตาง
                                                                            จาก Table 1 จะถูกระบายดวยสี
                                                                            เหลืองเชนเดียวกัน

                               รูปที่ 5.8 หนาตางแสดงผลการเปรียบเทียบ

รายละเอียดสวนอื่น
                           เปนสวนที่แสดงจํานวนความแตกตางของคาขอมูลที่พบทั้งหมด จากการ
                           เปรียบเทียบทั้งสองแฟมขอมูล




เปนสวนที่ใชในการแกไขคาขอมูลที่พบความแตกตาง โดยควบคุมการเคลื่อนยายไปยังคาขอมูลที่
แตกตางโดยใชเมาสคลิกที่ลูกศรซาย-ขวา และแรกสุด-หลังสุด สวนกรณีปุมจะคลิกเมื่อตองการ
แทนที่คาขอมูลดังนี้

                                                        เมื่อเห็นวาคาขอมูลที่แตกตางกันที่อยูใน Table 1 ถูก
                                                        จะคลิกที่นี่ เพื่อใหคาขอมูลที่ผิดใน Table 2 แกไข
                                                                              
                                                        ตามที่ปรากฏคาใน Table 1


          ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows                                    73




                                                                   เมื่อเห็นวาคาขอมูลที่แตกตางกันที่อยูใน Table 2 ถูก
                                                                   จะคลิกที่นี่ เพื่อใหคาขอมูลที่ผิดใน Table 1 แกไข
                                                                                         
                                                                   ตามที่ปรากฏคาใน Table 2

                     5.2 ขั้นตอนการตรวจสอบขอมูลนําเขาดวยโปรแกรมยอย Data Compare

                    กอนทําการตรวจสอบขอมูลนําเขาดวยการเปรียบเทียบแฟมขอมูลของโปรแกรมยอย
       Data Compare ตองมีการจัดเตรียมและวางแผนการดําเนินงานเพื่อรองรับการเปรียบเทียบ
       แฟมขอมูลกอน ซึ่งสามารถอธิบายแนวทางเปนหลักการไดดังนี้คือ เริ่มตนจากทําการคัดลอกแฟม
       แบบฟอรมนําเขาขอมูลที่สรางจากโปรแกรมยอย Make View ออกเปน 2 แฟมขอมูล จากนั้นให
       ผูนําเขาขอมูลคนที่ 1 พิมพขอมูลลงในแบบฟอรมแฟมที่ 1 และคนที่ 2 พิมพขอมูลลงในแบบฟอรม
       แฟมที่ 2 โดยในการนําเขานี้ ตองเปนแบบสอบถามชุดเดียวกันทั้งหมด เมื่อนําเขาขอมูลครบทั้ง
       สองแฟมแลว จะถือวาไดแฟมฐานขอมูลที่ถูกนําเขาขอมูลจากแบบสอบถามชุดเดียวกัน จํานวน
       สองแฟมที่มีชื่อแตกตางกัน ดังรูป

                                             สรางแบบฟอรมนําเขาขอมูล

                                                                   กําหนดชื่อ Project เปน Garbage
                                                                   กําหนดชื่อ View เปน Method

               แฟม Garbage_A                           คัดลอกเปน                       แฟม Garbage_B
                                                         สองแฟม




                                                      แบบสอบถาม
     ผูนําเขาคนที่ 1                                                                                    ผูนําเขาคนที่ 2


แฟมขอมูล Garbage_A                                                                              แฟมขอมูล Garbage_B

                                             รูปที่ 5.9 แผนผังการนําเขาขอมูล 2 ครั้ง
                     ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
74                                 บทที่ 5 การตรวจสอบขอมูลนําเขาดวย Data Compare




            ภายหลังจากนําเขาขอมูลสองครั้ง จากแบบสอบถามชุดเดียวกัน จะไดแฟมขอมูลสอง
แฟมที่ควรจะมีขอมูลภายในแฟมเหมือนกันทุกประการ แตหากพบความแตกตางที่เกิดขึ้น แสดงวา
ตองมีแฟมขอมูลใด แฟมขอมูลหนึ่งที่ผิดพลาด จากหลักการนี้เอง จึงเปนแนวทางในการตรวจสอบ
ขอมูลนําเขาดวยการเปรียบเทียบแฟมขอมูลสองแฟมของโปรแกรมยอย Data Compare ซึ่งมี
ขั้นตอนในการปฏิบัติ ดังนี้

        5.2.1 การเขาสูโปรแกรม
              เปนการเริ่มตนเรียกใชงานโปรแกรมยอย Data Compare ซึ่งสามารถเขาสู
โปรแกรมได โดยผานรายการคําสั่งหลัก(Main Menu)ของโปรแกรม Epi Info ดังรูปที่ 5.10




        รูปที่ 5.10 รายการคําสั่ง Data Compare บนหนาตางโปรแกรม Epi Info for Windows

           5.2.2 การกําหนดแฟมขอมูลและตารางขอมูล
                 โดยกําหนดแฟมฐานขอมูล(Project)ที่ 1 ชื่อ Garbage_A และกําหนดชื่อ
ตารางขอมูล(Table) หรือ View ที่ 1 ชื่อ Method ขณะเดียวกันกําหนดแฟมฐานขอมูล(Project)ที่ 2
ชื่อ Garbage_B และกําหนดชื่อตารางขอมูล(Table) หรือ View ที่ 2 ชื่อ Method เชนเดียวกัน ซึ่งมี
แนวทางในการปฏิบัติดังนี้

     . เลื่อนเมาสไปคลิกที่ปุมแถบเครื่องมือชื่อ New ดังรูปที่ 5.11




                 รูปที่ 5.11 แถบเครื่องมือ New บนหนาตางโปรแกรม Data Compare

             ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows                                    75




          หรือเลื่อนเมาสไปคลิกรายการคําสั่งหลัก File แลวเลื่อนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่งยอย
New Script ดังรูปที่ 5.12




             รูปที่ 5.12 รายการคําสั่ง New Script บนหนาตางโปรแกรม Data Compare

  . จากนั้นจะปรากฏหนาตางของการกําหนดชื่อแฟมขอมูลและตารางขอมูล โดยมีรายละเอียด
ของตัวเลือกที่สําคัญดังนี้

                                                      เป น ส ว นที่ใ ช ใ นการกํ า หนดชนิ ด ของ
                                                      ตารางขอมูล ประกอบดวย Epi Info
View (กรณีสรางแบบนําเขาขอมูลดวย Make View ) กับ Standard Table (กรณีสรางฐานขอมูลดวย
โปรแกรม Microsoft Access )

                                                    เปนสวนที่ใชในการกําหนดชื่อและตําแหนงที่
                                                    อยูข องแฟ ม ขอมู ล ที่ 1        ที่ตอ งการนํ า มา
                                                    เปรียบเทียบโดยการคลิกที่ปุม จากนั้นจึง
                                                    คลิ ก ที่ ปุ ม     เพื่ อ เลื อ กตารางข อ มู ล ของ
แฟมขอมูลที่ 1 ที่ตองการเปรียบเทียบ ขณะที่ตัวเลือก Make Backup เปนการกําหนดวา ตองการทํา
สํารองแฟมขอมูลชุดนี้หรือไม

                                                     เปนสวนที่ใชในการกําหนดชื่อและตําแหนง
                                                     ที่อยูของแฟมขอมูล ที่ 2 ที่ตองการนํามา
                                                     เปรียบเทียบโดยการคลิกที่ปม จากนั้นจึง
                                                                                    ุ
                                                     คลิ ก ที่ ปุ ม  เพื่ อ เลื อ กตารางข อ มู ล ของ
แฟมขอมูลที่ 2 ที่ตองการเปรียบเทียบ ขณะที่ตัวเลือก Make Backup เปนการกําหนดวา ตองการทํา
สํารองแฟมขอมูลชุดนี้หรือไม
            ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
76                                 บทที่ 5 การตรวจสอบขอมูลนําเขาดวย Data Compare




      รูปที่ 5.13 หนาตางการกําหนดชื่อแฟมขอมูลและตารางขอมูลของโปรแกรม Data Compare

  . จากขอมูลชื่อ Project และ Table ในขอขางตน สามารถนํามาระบุบนหนาตางเริ่มตนของ
โปรแกรมยอย Data Compare ได เมื่อแลวเสร็จจึงเลื่อนเมาสไปคลิกที่ปุม  ดังรูปที่ 5.14




                                                                                          แฟมที่ 1



                                                                                          แฟมที่ 2




     รูปที่ 5.14 หนาตางผลการกําหนดชื่อแฟมขอมูลและตารางขอมูลของโปรแกรม Data Compare
             ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows                                    77




             5.2.3 การระบุโครงสรางของตาราง
                   เปนหนาตางที่ใชในการกําหนดกรณีโครงสรางของตารางเหมือนกัน หรือไม
เหมือนกัน ซึ่งกรณีเหมือนกันทั้งสองแฟมที่นํามาเปรียบเทียบ จะคลิกเมาสที่กลองหนาขอความเพื่อ
ไม ใ ห แ สดงหน า ต า งนี้ และโดยส ว นใหญ ใ นทางปฏิ บั ติ มั ก เป น กรณี นี้ จากนั้ น จึ ง คลิ ก ที่
ปุม              ดังรูปที่ 5.15




                  รูปที่ 5.15 หนาตางการระบุโครงสรางของโปรแกรม Data Compare

           5.2.4 การระบุ Match Fields
                 เป น การเลื อ กฟ ล ด ที่ มี ค า เดี ย ว(Unique Identifiers) เพื่ อ เป น จุ ด อ า งอิ ง ในการ
เปรียบเทียบระหวางสองแฟมขอมูล โดยมีขั้นตอนในการปฏิบัติดังนี้

    . ภายหลังจากที่คลิกปุม                             จากนั้นจะเขาสูหนาตางในการกําหนด Match Fields
ดังรูปที่ 5.16




             ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
78                               บทที่ 5 การตรวจสอบขอมูลนําเขาดวย Data Compare




           รูปที่ 5.16 หนาตางการกําหนด Match Fields ของโปรแกรม Data Compare

   . เลื่อนเมาสไปคลิกกลองชื่อฟลด ID เพื่อกําหนดใหเปน Match Fields จากนั้นจึงเลื่อนเมาสไป
คลิกที่ปุม            ดังรูปที่ 5.17




            รูปที่ 5.17 ผลการระบุ Match Fields เปน ID ของโปรแกรม Data Compare

           ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows                                    79




          5.2.5 การระบุฟลดที่ตองการนํามาเปรียบเทียบ
                  เป น หน า ต า งที่ ใ ช ใ นการระบุ ฟ ล ด ที่ ต อ งการนํ า มาเปรี ย บเที ย บระหว า งสอง
แฟมขอมูล ซึ่งโดยสวนใหญมักระบุใหนํามาเปรียบเทียบทุกฟลด ดังนั้นจึงเลื่อนเมาสไปคลิกที่
ปุม            จากนั้นจึงคลิกที่ปุม                   ดังรูปที่ 5.18




                         รูปที่ 5.18 หนาตางการระบุ Fields ที่ตองการเปรียบเทียบ

            5.2.6 การสรางแฟมเก็บผลการเปรียบเทียบในรูปแบบ HTML
                  เปนการกําหนดใหโปรแกรมสรางรายงานผลการเปรียบเทียบ ในรูปแบบภาษา
HTML นั่นคือ เปนภาษาที่สามารถนําไปแสดงผลบนเว็บไซตในระบบอินเทอรเน็ตได โดยกําหนด
ชื่อแฟมเปน Garbage_AB.html จากนั้นจึงคลิกที่ปุม        ดังรูปที่ 5.19




                  รูปที่ 5.19 หนาตางการระบุชื่อแฟมในการบันทึกผลการเปรียบเทียบ
             ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
80                              บทที่ 5 การตรวจสอบขอมูลนําเขาดวย Data Compare




          5.2.7 การบันทึกรายละเอียดของคําสั่ง(Script)
                เปนการบันทึกรายละเอียดของคําสั่งที่เคยระบุไวกอนหนานี้ โดยกําหนดชื่อแฟม
เปน Garbage_AB จากนั้นจึงคลิกที่ปุม            ดังรูปที่ 5.20




                          รูปที่ 5.20 การบันทึกรายละเอียดของคําสั่ง(Script)



          ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows                                    81




            5.2.8 การเปรียบเทียบและผลการเปรียบเทียบ
                  ภายหลังจากที่ไดบันทึกรายละเอียดของคําสั่งเปนแฟม Script และเลื่อนเมาสไป
คลิกที่ปุม            จากนั้นโปรแกรมจะทําการเปรียบเทียบขอมูลตามเงื่อนไขรายละเอียดตางๆ
ที่กําหนดไว และแสดงผลการเปรียบเทียบขอมูล ดังรูปที่ 5.21




                                รูปที่ 5.21 หนาตางแสดงผลการเปรียบเทียบ

ผลการเปรียบเทียบที่บันทึกไวในแฟม Garbage_AB.html ดังรูปที่ 5.22




                                                      ชื่อแฟม Script

                                                       ชื่อแฟมและตารางที่นํามาเปรียบเทียบ
                                                                           สถิติผลการเปรียบเทียบ


                                                                            ผลการเปรียบเทียบ



        รูปที่ 5.22 หนาตางแสดงผลการเปรียบเทียบที่บันทึกไวในแฟมขอมูลรูป HTML

           ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
82                                 บทที่ 5 การตรวจสอบขอมูลนําเขาดวย Data Compare




             5.2.9 การตรวจสอบคาขอมูลที่แตกตางกัน
                   ภายหลังจากพบวา ผลการเปรียบเทียบมีคาขอมูลแตกตางกัน แสดงวา ตองมีคา
ขอมูลในแฟมใดแฟมหนึ่งผิด ดังนั้นจึงตองทําการตรวจสอบขอเท็จจริงวา คาขอมูลที่แทจริงเปน
อยางไร เพื่อตัดสินใจและนําไปสูการแกไขคาที่ผิดใหถูกตอง โดยมีขั้นตอนในการปฏิบัติดังนี้

     . พิจารณาผลการเปรียบเทียบที่เกิดขึ้นจากแฟม Garbage_AB.html ดังรูปที่ 5.23
      ฟลดที่พบคาขอมูลแตกตางกัน
                     ID ที่พบคาขอมูลแตกตางกัน                            คาขอมูลแตกตางกัน




                                   รูปที่ 5.23 การพิจารณาผลการเปรียบเทียบ

     สรุปผลการเปรียบเทียบ พบวา มี ID = 5, 16, 31, 43 และ 45 ที่พบความแตกตาง

   . นําหมายเลข ID ทั้ง 5 หมายเลข ไปตรวจสอบคาที่ถูกตองจากแบบสอบถามตนฉบับ แลวขีดฆา
ขอมูลที่ไมถูกตอง และเขียนขอมูลที่ถูกตอง โดยใชปากกาหมึกเขม ดังรูปที่ 5.24

                         1
                         2
                         47                                                 o
                                                                            2
                         2
                                  รูปที่ 5.24 การตรวจสอบผลการเปรียบเทียบ




             ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows                                    83




    หมายเลข ID              ชื่อฟลด(ตัวแปร)               คาที่ถูกตอง              คาที่ผิด
        5                      METHOD3                              1                     0
       16                      STATUS                               2                     1
       31                      AGE                                47                    41
                               METHOD2                              0                     1
        43                     STATUS                                2                    1
        45                   COM                                    2                     1

          5.2.10 การแกไขคาขอมูลในหนาตางแสดงผลการเปรียบเทียบ
                 ภายหลังจากตรวจสอบความถูกตองของคาขอมูลที่แตกตางกันแลว ขั้นตอน
ตอไปเปนการแกไขคาขอมูลที่ผิดใหมีคาถูกตอง โดยใชหนาตางแสดงผลการเปรียบเทียบของ
โปรแกรมยอย Data Compare โดยมีขั้นตอนในการปฏิบัติดังนี้

  .เลื่อนเมาสไปคลิกที่ปุม                  หรือ Read-Only Mode On บนแถบเครื่องมือเพื่อเขาสูโหมด
ของการแกไขขอมูลดังรูปที่ 5.25




  รูปที่ 5.25 ปุมเครื่องมือรายการ Read-Only Mode On บนหนาตางโปรแกรมยอย Analyze Data

   . จากนั้นปุม Read-Only Mode On จะเปลี่ยนไปเปน Edit Mode On และปุม Accept Table 1
Value กับ Accept Table 2 Value จะเปลี่ยนเปนปุมที่สามารถใชงานได(Active) ดังรูปที่ 5.26




           ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
84                               บทที่ 5 การตรวจสอบขอมูลนําเขาดวย Data Compare




     รูปที่ 5.26 ปุมเครื่องมือรายการ Edit Mode On บนหนาตางโปรแกรมยอย Analyze Data

     . พิจารณา ID = 5 ในคอลัมนหรือฟลดชื่อ METHOD3 จะพบวา ใน Table 1 มีคา METHOD3 =
0 และใน Table 2 มีคา METHOD3 = 1 ซึ่งจากการตรวจสอบจากตนฉบับพบวา คา METHOD3 = 1
เปนคาที่ถูกตอง แสดงวา คาใน Table 1 ผิด ดังนั้นการแกไขคาดังกลาวใหถูกตอง จึงสามารถทําได
โดยการแทนที่คาผิดดวยคาที่ถูก นั่นคือ เลื่อนเมาสไปคลิกที่คา METHOD3 = 1 ใน Table 2 จากนั้น
เลื่อนเมาสไปคลิกที่ปุม Accept Table 2 Value ผลที่ไดจะทําใหคาของ METHOD3 ใน Table 1
เปลี่ยนคาจาก 0 เปน 1 เชนเดียวกับ Table 2 ทันที ดังรูปที่ 5.27




           ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows                                    85




 รูปที่ 5.27 การแสดงผลแกไขคาใหถูกตองจากหนาตางผลการเปรียบเทียบ


ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
86                               บทที่ 5 การตรวจสอบขอมูลนําเขาดวย Data Compare




    . พิจารณา ID = 16 ในคอลัมนหรือฟลดชื่อ STATUS จะพบวา ใน Table 1 มีคา STATUS = 1
และใน Table 2 มีคา STATUS = 2 ซึ่งจากการตรวจสอบจากตนฉบับพบวา คา STATUS = 2 เปน
คาที่ถูกตอง แสดงวา คาใน Table 1 ผิด ดังนั้นการแกไขคาดังกลาวใหถูกตอง จึงสามารถทําไดโดย
การแทนที่คาผิดดวยคาที่ถูก นั่นคือ เลื่อนเมาสไปคลิกที่คา STATUS = 2 ใน Table 2 จากนั้นเลื่อน
เมาสไปคลิกที่ปุม Accept Table 2 Value ผลที่ไดจะทําใหคาของ STATUS ใน Table 1 เปลี่ยนคา
จาก 1 เปน 2 เชนเดียวกับ Table 2 ทันที ดังรูปที่ 5.28




            รูปที่ 5.28 การแสดงผลแกไขคาใหถูกตองจากหนาตางผลการเปรียบเทียบ
           ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows                                    87




     . กรณี ID อื่น ก็พิจารณาและปฏิบัติไดตามแนวเดียวกัน โดยมีหลักการวา หากพบคาถูกอยูใน
Table ใด ใหเลื่อนเมาสไปคลิกที่คานั้น แลวคลิกที่ปุมยอมรับคา Table นั้น เชน ถาคาใน Table 1 ถูก
ใหเลื่อนเมาสไปคลิกที่คานั้น แลวคลิกที่ปุม Accept Table 1 Value หรือถาคาใน Table 2 ถูก ให
เลื่อนเมาสไปคลิกที่คานั้น แลวคลิกที่ปุม Accept Table 2 Value เปนตน และกรณีคาขอมูลใน Table
ผิดทั้งคู ใหเลื่อนเมาสไปดับเบิ้ลคลิกที่คาใดคาหนึ่งของ Table ใดก็ได จากนั้นแกไขคาใหถูกตอง
แลวดําเนินการตอไปโดยใชหลักการเดิม

  . แกไขคาขอมูลใหครบ จนปรากฏขอความ No Differences นั่นแสดงวา ไมพบความแตกตาง
ใดๆ ของขอมูลทั้งสองแฟม ดังรูปที่ 5.29




                     รูปที่ 5.29 การแสดงผลการเปรียบเทียบทีไมพบความแตกตาง
                                                          ่

          ขั้นตอนที่ปรากฏขอความ No Differences ดังกลาวขางตน ถือเปนขั้นตอนสุดทายใน
การตรวจสอบขอมูลนําเขา ดวยโปรแกรมยอย Data Compare เพราะเมื่อไมพบความแตกตางของคา
ขอมูล แสดงวา คาขอมูลนําเขาทุกตัวแปร ทุกเรคคอรดของทั้งสองแฟมเปนคาเดียวกัน ดังนั้นเมื่อ
ตองการนําแฟมขอมูลไปใชงาน จึงสามารถทําได โดยเลือกเพียงแฟมขอมูลใดแฟมขอมูลหนึ่งไป


            ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
88                                  บทที่ 5 การตรวจสอบขอมูลนําเขาดวย Data Compare




                                                        5.3 บทสรุป

                 การตรวจสอบขอมูลนําเขาดวยโปรแกรมยอย Data Compare เปนขั้นตอนการตรวจสอบ
ความผิดพลาดที่เกิดขึ้นจากการนําเขาขอมูล ซึ่งเมื่อดําเนินการแลวเสร็จ จะไดคาขอมูลที่เกิดจากการ
นํ า เข า ทั้ ง สองครั้ ง ตรงกั น นั่ น เป น สิ่ ง ยื น ยั น ว า ค า ข อ มู ล ที่ นํ า เข า จะถู ก ต อ งและครบถ ว น
ตามแบบฟอร ม เก็ บ ข อ มู ล ต น ฉบั บ ในทางปฏิ บั ติ วิ ธี ก ารนํ า เข า ข อ มู ล ดั ง กล า ว มั ก ถู ก นํ า มาใช
เพื่อควบคุม และตรวจสอบคุณ ภาพของขอมู ลในงานวินิจ ฉั ย ชุม ชน แตทั้ งนี้ห ากผูเ กี่ย วข องไม
สามารถดํ า เนิ น การได ต ามวิ ธี ก ารดั ง กล า วข า งต น ซึ่ ง อาจเนื่ อ งมาจากข อ จํ า กั ด เรื่ อ งของเวลา
งบประมาณ หรือบุคลากร ก็ควรชี้แจง หรือระบุเหตุจําเปนที่ไมสามารถดําเนินการไดในรายงานผล
การสํารวจ ทั้งนี้เพื่อเปนขอมูลพื้นฐานประกอบในการชี้แจงและตรวจสอบคุณภาพของขอมูลใน
งานวินจฉัยชุมชนตอไป
           ิ




              ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

More Related Content

What's hot

การเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFDการเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFDskiats
 
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)kruthanyaporn
 
Microsoft access
Microsoft accessMicrosoft access
Microsoft accesskomolpalin
 
การสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSS
การสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSSการสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSS
การสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSSเบญจวรรณ กลสามัญ
 
Spssเริ่มต้น
Spssเริ่มต้นSpssเริ่มต้น
Spssเริ่มต้นsaypin
 
การใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spssการใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spssthaweesak mahan
 
คู่มือSpss
คู่มือSpssคู่มือSpss
คู่มือSpsskuankaaw
 
หน่วยที่ 7 การสร้างคำสั่งอย่างง่าย
หน่วยที่ 7 การสร้างคำสั่งอย่างง่ายหน่วยที่ 7 การสร้างคำสั่งอย่างง่าย
หน่วยที่ 7 การสร้างคำสั่งอย่างง่ายkruthanyaporn
 
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูล
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูลแนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูล
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูลShengyou Lin
 
สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpsskaew393
 
Lesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูล
Lesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูลLesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูล
Lesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูลErrorrrrr
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูลchaiwat vichianchai
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2kanjana Pongkan
 
คู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpssคู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpssprapapan20
 
พจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูลพจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูลtumetr
 
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบบทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบSarawut Panchon
 
Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007Wee Jay
 

What's hot (20)

Excel1
Excel1Excel1
Excel1
 
การเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFDการเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFD
 
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
การสร้างคำสั่งอย่างง่าย (แมโคร)
 
Microsoft access
Microsoft accessMicrosoft access
Microsoft access
 
SA Chapter 6
SA Chapter 6SA Chapter 6
SA Chapter 6
 
การสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSS
การสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSSการสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSS
การสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSS
 
Spssเริ่มต้น
Spssเริ่มต้นSpssเริ่มต้น
Spssเริ่มต้น
 
การใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spssการใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spss
 
คู่มือSpss
คู่มือSpssคู่มือSpss
คู่มือSpss
 
หน่วยที่ 7 การสร้างคำสั่งอย่างง่าย
หน่วยที่ 7 การสร้างคำสั่งอย่างง่ายหน่วยที่ 7 การสร้างคำสั่งอย่างง่าย
หน่วยที่ 7 การสร้างคำสั่งอย่างง่าย
 
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูล
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูลแนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูล
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูล
 
สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpss
 
Spss sriprapai
Spss sriprapaiSpss sriprapai
Spss sriprapai
 
Lesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูล
Lesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูลLesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูล
Lesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูล
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การสร้างแบบสอบถามวิชา การจัดการฐานข้อมูล
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
 
คู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpssคู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpss
 
พจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูลพจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูล
 
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบบทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
 
Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007
 

Similar to Epi info unit05

การใช้ซอฟต์แวร์ Open source (alpha miner) วิเคราะห์ลักษณะลูกค้าเป้าหมาย (cust...
การใช้ซอฟต์แวร์ Open source (alpha miner) วิเคราะห์ลักษณะลูกค้าเป้าหมาย (cust...การใช้ซอฟต์แวร์ Open source (alpha miner) วิเคราะห์ลักษณะลูกค้าเป้าหมาย (cust...
การใช้ซอฟต์แวร์ Open source (alpha miner) วิเคราะห์ลักษณะลูกค้าเป้าหมาย (cust...Paradorn Sriarwut
 
คู่มือการใช้งาน Wmap 2013
คู่มือการใช้งาน Wmap 2013คู่มือการใช้งาน Wmap 2013
คู่มือการใช้งาน Wmap 2013Sonoda Kyousuke
 
ใบความรู้ที่ 5 การสร้างแผนภูมิ
ใบความรู้ที่  5 การสร้างแผนภูมิใบความรู้ที่  5 การสร้างแผนภูมิ
ใบความรู้ที่ 5 การสร้างแผนภูมิMeaw Sukee
 
รายงานคอม
รายงานคอมรายงานคอม
รายงานคอมNooLuck
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมNooLuck
 

Similar to Epi info unit05 (8)

Epi info unit06
Epi info unit06Epi info unit06
Epi info unit06
 
การใช้ซอฟต์แวร์ Open source (alpha miner) วิเคราะห์ลักษณะลูกค้าเป้าหมาย (cust...
การใช้ซอฟต์แวร์ Open source (alpha miner) วิเคราะห์ลักษณะลูกค้าเป้าหมาย (cust...การใช้ซอฟต์แวร์ Open source (alpha miner) วิเคราะห์ลักษณะลูกค้าเป้าหมาย (cust...
การใช้ซอฟต์แวร์ Open source (alpha miner) วิเคราะห์ลักษณะลูกค้าเป้าหมาย (cust...
 
คู่มือการใช้งาน Wmap 2013
คู่มือการใช้งาน Wmap 2013คู่มือการใช้งาน Wmap 2013
คู่มือการใช้งาน Wmap 2013
 
Map windowgismanual
Map windowgismanualMap windowgismanual
Map windowgismanual
 
05 เซต สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์
05 เซต สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์05 เซต สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์
05 เซต สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์
 
ใบความรู้ที่ 5 การสร้างแผนภูมิ
ใบความรู้ที่  5 การสร้างแผนภูมิใบความรู้ที่  5 การสร้างแผนภูมิ
ใบความรู้ที่ 5 การสร้างแผนภูมิ
 
รายงานคอม
รายงานคอมรายงานคอม
รายงานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 

Epi info unit05

  • 1. บทที่ 5 การตรวจสอบขอมูลนําเขา ดวย โปรแกรมยอย Data Compare การสรางแบบฟอรมดวยโปรแกรมยอย Make View (Questionnaire) และการนําเขา ขอมูลดวยโปรแกรมยอย Enter Data สามารถควบคุมและกลั่นกรองความผิดพลาดที่เกิดขึ้นจากการ นําเขาขอมูลไดระดับหนึ่ง แตยังไมสามารถครอบคลุมความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นจากผูนําเขาขอมูล ได ดังนั้นเพื่อลดความผิดพลาดดังกลาว จึงกําหนดใหมีการนําเขาขอมูล 2 ครั้ง(Double Data Entry) จากแบบฟอรมเก็บขอมูลชุดเดียวกัน และจัดเก็บแฟมแยกเปน 2 แฟม เพื่อนํามาเปรียบเทียบคนหา ความแตกตางที่เกิดขึ้น ซึ่งโปรแกรมยอยที่นํามาใชกับงานลักษณะเชนนี้ เรียกวา Data Compare 5.1 แนะนําโปรแกรมยอย Data Compare เมื่อเขาสูโปรแกรม Data Compare จะมีหนาตางหลัก 3 สวน ดังรูปที่ 5.1 สวนที่ 1 สวนที่ 2 สวนที่ 3 รูปที่ 5.1 หนาตางหลักของโปรแกรม Data Compare ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 2. 70 บทที่ 5 การตรวจสอบขอมูลนําเขาดวย Data Compare ซึ่งจากรูปหนาแรกของโปรแกรมยอย Data Compare ขางตน สามารถอธิบายในสวน รายละเอียดยอยภายในหนาตางหลักของแตละสวนไดดังนี้ 5.1.1 หนาตางหลักสวนที่ 1 เปนสวนของแถบรายการคําสั่งหลักในการทํางาน ประกอบดวยรายละเอียด ตางๆดังนี้ (1) แถบรายการคําสั่งหลัก(Main menu)ในสวนที่ 1 รูปที่ 5.2 แถบรายการคําสั่งหลักของโปรแกรม Data Compare (2) รายการคําสั่งหลัก File เปนรายการคําสั่งยอยที่ใชในการเปดหนาตางการ ทํางานเพื่อเปรียบเทียบแฟมขอมูลใหม เรียกผลการเปรียบเทียบที่เคยบันทึกไว การบันทึก การ บันทึกเปนแฟมอื่น การกําหนดคุณสมบัติของการเปรียบเทียบและการออกจากโปรแกรม รูปที่ 5.3 รายการคําสั่งหลัก File ของโปรแกรม Data Compare (3) รายการคําสั่งหลัก Edit เปนรายการคําสั่งยอยที่ใชในการแกไขขอมูล ไดแก การตัด การคัดลอก การวางขอมูล และการคัดลอก หรือการลบในตาราง รูปที่ 5.4 รายการคําสั่งหลัก Edit ของโปรแกรม Data Compare ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 3. คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows 71 (4) รายการคําสั่งหลัก View เปนรายการคําสั่งยอยที่ใชในการกําหนดการแสดง ของขอมูล ไดแก การแสดงคาขอมูลที่แตกตางเพียงอยางเดียว การแสดงรายละเอียดหนา การแสดง รายละเอียดขอความ/โครงสราง รูปที่ 5.5 รายการคําสั่งหลัก View ของโปรแกรม Data Compare (5) รายการคําสั่งหลัก Help เปนรายการคําสั่งยอยที่ใชในการชวยเหลือเกี่ยวกับ เนื้อหา และขอมูลเกี่ยวกับโปรแกรมยอย Data Compare รูปที่ 5.6 รายการคําสั่งหลัก Help ของโปรแกรม Data Compare 5.1.2 หนาตางหลักสวนที่ 2 เปน สวนของแถบเครื่องมือในการทํ างาน ประกอบดวยรายละเอียดตางๆ ดัง รูปที่ 5.7 Copy แสดงชื่อตารางที่ 1 เทียบกับชื่อตารางที่ 2 Cut Paste New Script Open Script Edit Mode On Edit Script Read-Only Mode On รูปที่ 5.7 แถบเครื่องมือในการทํางานของโปรแกรม Data Compare ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 4. 72 บทที่ 5 การตรวจสอบขอมูลนําเขาดวย Data Compare 5.1.3 หนาตางหลักสวนที่ 3 เปนสวนแสดงขอมูลที่แตกตางของแตละแฟม ของแถบเครื่องมือในการทํางาน ประกอบดวยรายละเอียดตางๆ ดังรูปที่ 5.8 เปนสวนที่แสดงคาขอมูลที่แตกตาง จาก Table 2 จะถูกระบายดวยสี เหลือง เปนสวนที่แสดงคาขอมูลที่แตกตาง จาก Table 1 จะถูกระบายดวยสี เหลืองเชนเดียวกัน รูปที่ 5.8 หนาตางแสดงผลการเปรียบเทียบ รายละเอียดสวนอื่น เปนสวนที่แสดงจํานวนความแตกตางของคาขอมูลที่พบทั้งหมด จากการ เปรียบเทียบทั้งสองแฟมขอมูล เปนสวนที่ใชในการแกไขคาขอมูลที่พบความแตกตาง โดยควบคุมการเคลื่อนยายไปยังคาขอมูลที่ แตกตางโดยใชเมาสคลิกที่ลูกศรซาย-ขวา และแรกสุด-หลังสุด สวนกรณีปุมจะคลิกเมื่อตองการ แทนที่คาขอมูลดังนี้ เมื่อเห็นวาคาขอมูลที่แตกตางกันที่อยูใน Table 1 ถูก จะคลิกที่นี่ เพื่อใหคาขอมูลที่ผิดใน Table 2 แกไข  ตามที่ปรากฏคาใน Table 1 ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 5. คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows 73 เมื่อเห็นวาคาขอมูลที่แตกตางกันที่อยูใน Table 2 ถูก จะคลิกที่นี่ เพื่อใหคาขอมูลที่ผิดใน Table 1 แกไข  ตามที่ปรากฏคาใน Table 2 5.2 ขั้นตอนการตรวจสอบขอมูลนําเขาดวยโปรแกรมยอย Data Compare กอนทําการตรวจสอบขอมูลนําเขาดวยการเปรียบเทียบแฟมขอมูลของโปรแกรมยอย Data Compare ตองมีการจัดเตรียมและวางแผนการดําเนินงานเพื่อรองรับการเปรียบเทียบ แฟมขอมูลกอน ซึ่งสามารถอธิบายแนวทางเปนหลักการไดดังนี้คือ เริ่มตนจากทําการคัดลอกแฟม แบบฟอรมนําเขาขอมูลที่สรางจากโปรแกรมยอย Make View ออกเปน 2 แฟมขอมูล จากนั้นให ผูนําเขาขอมูลคนที่ 1 พิมพขอมูลลงในแบบฟอรมแฟมที่ 1 และคนที่ 2 พิมพขอมูลลงในแบบฟอรม แฟมที่ 2 โดยในการนําเขานี้ ตองเปนแบบสอบถามชุดเดียวกันทั้งหมด เมื่อนําเขาขอมูลครบทั้ง สองแฟมแลว จะถือวาไดแฟมฐานขอมูลที่ถูกนําเขาขอมูลจากแบบสอบถามชุดเดียวกัน จํานวน สองแฟมที่มีชื่อแตกตางกัน ดังรูป สรางแบบฟอรมนําเขาขอมูล กําหนดชื่อ Project เปน Garbage กําหนดชื่อ View เปน Method แฟม Garbage_A คัดลอกเปน แฟม Garbage_B สองแฟม แบบสอบถาม ผูนําเขาคนที่ 1 ผูนําเขาคนที่ 2 แฟมขอมูล Garbage_A แฟมขอมูล Garbage_B รูปที่ 5.9 แผนผังการนําเขาขอมูล 2 ครั้ง ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 6. 74 บทที่ 5 การตรวจสอบขอมูลนําเขาดวย Data Compare ภายหลังจากนําเขาขอมูลสองครั้ง จากแบบสอบถามชุดเดียวกัน จะไดแฟมขอมูลสอง แฟมที่ควรจะมีขอมูลภายในแฟมเหมือนกันทุกประการ แตหากพบความแตกตางที่เกิดขึ้น แสดงวา ตองมีแฟมขอมูลใด แฟมขอมูลหนึ่งที่ผิดพลาด จากหลักการนี้เอง จึงเปนแนวทางในการตรวจสอบ ขอมูลนําเขาดวยการเปรียบเทียบแฟมขอมูลสองแฟมของโปรแกรมยอย Data Compare ซึ่งมี ขั้นตอนในการปฏิบัติ ดังนี้ 5.2.1 การเขาสูโปรแกรม เปนการเริ่มตนเรียกใชงานโปรแกรมยอย Data Compare ซึ่งสามารถเขาสู โปรแกรมได โดยผานรายการคําสั่งหลัก(Main Menu)ของโปรแกรม Epi Info ดังรูปที่ 5.10 รูปที่ 5.10 รายการคําสั่ง Data Compare บนหนาตางโปรแกรม Epi Info for Windows 5.2.2 การกําหนดแฟมขอมูลและตารางขอมูล โดยกําหนดแฟมฐานขอมูล(Project)ที่ 1 ชื่อ Garbage_A และกําหนดชื่อ ตารางขอมูล(Table) หรือ View ที่ 1 ชื่อ Method ขณะเดียวกันกําหนดแฟมฐานขอมูล(Project)ที่ 2 ชื่อ Garbage_B และกําหนดชื่อตารางขอมูล(Table) หรือ View ที่ 2 ชื่อ Method เชนเดียวกัน ซึ่งมี แนวทางในการปฏิบัติดังนี้ . เลื่อนเมาสไปคลิกที่ปุมแถบเครื่องมือชื่อ New ดังรูปที่ 5.11 รูปที่ 5.11 แถบเครื่องมือ New บนหนาตางโปรแกรม Data Compare ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 7. คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows 75 หรือเลื่อนเมาสไปคลิกรายการคําสั่งหลัก File แลวเลื่อนเมาสไปคลิกที่รายการคําสั่งยอย New Script ดังรูปที่ 5.12 รูปที่ 5.12 รายการคําสั่ง New Script บนหนาตางโปรแกรม Data Compare . จากนั้นจะปรากฏหนาตางของการกําหนดชื่อแฟมขอมูลและตารางขอมูล โดยมีรายละเอียด ของตัวเลือกที่สําคัญดังนี้ เป น ส ว นที่ใ ช ใ นการกํ า หนดชนิ ด ของ ตารางขอมูล ประกอบดวย Epi Info View (กรณีสรางแบบนําเขาขอมูลดวย Make View ) กับ Standard Table (กรณีสรางฐานขอมูลดวย โปรแกรม Microsoft Access ) เปนสวนที่ใชในการกําหนดชื่อและตําแหนงที่ อยูข องแฟ ม ขอมู ล ที่ 1 ที่ตอ งการนํ า มา เปรียบเทียบโดยการคลิกที่ปุม จากนั้นจึง คลิ ก ที่ ปุ ม เพื่ อ เลื อ กตารางข อ มู ล ของ แฟมขอมูลที่ 1 ที่ตองการเปรียบเทียบ ขณะที่ตัวเลือก Make Backup เปนการกําหนดวา ตองการทํา สํารองแฟมขอมูลชุดนี้หรือไม เปนสวนที่ใชในการกําหนดชื่อและตําแหนง ที่อยูของแฟมขอมูล ที่ 2 ที่ตองการนํามา เปรียบเทียบโดยการคลิกที่ปม จากนั้นจึง ุ คลิ ก ที่ ปุ ม เพื่ อ เลื อ กตารางข อ มู ล ของ แฟมขอมูลที่ 2 ที่ตองการเปรียบเทียบ ขณะที่ตัวเลือก Make Backup เปนการกําหนดวา ตองการทํา สํารองแฟมขอมูลชุดนี้หรือไม ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 8. 76 บทที่ 5 การตรวจสอบขอมูลนําเขาดวย Data Compare รูปที่ 5.13 หนาตางการกําหนดชื่อแฟมขอมูลและตารางขอมูลของโปรแกรม Data Compare . จากขอมูลชื่อ Project และ Table ในขอขางตน สามารถนํามาระบุบนหนาตางเริ่มตนของ โปรแกรมยอย Data Compare ได เมื่อแลวเสร็จจึงเลื่อนเมาสไปคลิกที่ปุม ดังรูปที่ 5.14 แฟมที่ 1 แฟมที่ 2 รูปที่ 5.14 หนาตางผลการกําหนดชื่อแฟมขอมูลและตารางขอมูลของโปรแกรม Data Compare ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 9. คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows 77 5.2.3 การระบุโครงสรางของตาราง เปนหนาตางที่ใชในการกําหนดกรณีโครงสรางของตารางเหมือนกัน หรือไม เหมือนกัน ซึ่งกรณีเหมือนกันทั้งสองแฟมที่นํามาเปรียบเทียบ จะคลิกเมาสที่กลองหนาขอความเพื่อ ไม ใ ห แ สดงหน า ต า งนี้ และโดยส ว นใหญ ใ นทางปฏิ บั ติ มั ก เป น กรณี นี้ จากนั้ น จึ ง คลิ ก ที่ ปุม ดังรูปที่ 5.15 รูปที่ 5.15 หนาตางการระบุโครงสรางของโปรแกรม Data Compare 5.2.4 การระบุ Match Fields เป น การเลื อ กฟ ล ด ที่ มี ค า เดี ย ว(Unique Identifiers) เพื่ อ เป น จุ ด อ า งอิ ง ในการ เปรียบเทียบระหวางสองแฟมขอมูล โดยมีขั้นตอนในการปฏิบัติดังนี้ . ภายหลังจากที่คลิกปุม จากนั้นจะเขาสูหนาตางในการกําหนด Match Fields ดังรูปที่ 5.16 ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 10. 78 บทที่ 5 การตรวจสอบขอมูลนําเขาดวย Data Compare รูปที่ 5.16 หนาตางการกําหนด Match Fields ของโปรแกรม Data Compare . เลื่อนเมาสไปคลิกกลองชื่อฟลด ID เพื่อกําหนดใหเปน Match Fields จากนั้นจึงเลื่อนเมาสไป คลิกที่ปุม ดังรูปที่ 5.17 รูปที่ 5.17 ผลการระบุ Match Fields เปน ID ของโปรแกรม Data Compare ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 11. คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows 79 5.2.5 การระบุฟลดที่ตองการนํามาเปรียบเทียบ เป น หน า ต า งที่ ใ ช ใ นการระบุ ฟ ล ด ที่ ต อ งการนํ า มาเปรี ย บเที ย บระหว า งสอง แฟมขอมูล ซึ่งโดยสวนใหญมักระบุใหนํามาเปรียบเทียบทุกฟลด ดังนั้นจึงเลื่อนเมาสไปคลิกที่ ปุม จากนั้นจึงคลิกที่ปุม ดังรูปที่ 5.18 รูปที่ 5.18 หนาตางการระบุ Fields ที่ตองการเปรียบเทียบ 5.2.6 การสรางแฟมเก็บผลการเปรียบเทียบในรูปแบบ HTML เปนการกําหนดใหโปรแกรมสรางรายงานผลการเปรียบเทียบ ในรูปแบบภาษา HTML นั่นคือ เปนภาษาที่สามารถนําไปแสดงผลบนเว็บไซตในระบบอินเทอรเน็ตได โดยกําหนด ชื่อแฟมเปน Garbage_AB.html จากนั้นจึงคลิกที่ปุม ดังรูปที่ 5.19 รูปที่ 5.19 หนาตางการระบุชื่อแฟมในการบันทึกผลการเปรียบเทียบ ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 12. 80 บทที่ 5 การตรวจสอบขอมูลนําเขาดวย Data Compare 5.2.7 การบันทึกรายละเอียดของคําสั่ง(Script) เปนการบันทึกรายละเอียดของคําสั่งที่เคยระบุไวกอนหนานี้ โดยกําหนดชื่อแฟม เปน Garbage_AB จากนั้นจึงคลิกที่ปุม ดังรูปที่ 5.20 รูปที่ 5.20 การบันทึกรายละเอียดของคําสั่ง(Script) ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 13. คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows 81 5.2.8 การเปรียบเทียบและผลการเปรียบเทียบ ภายหลังจากที่ไดบันทึกรายละเอียดของคําสั่งเปนแฟม Script และเลื่อนเมาสไป คลิกที่ปุม จากนั้นโปรแกรมจะทําการเปรียบเทียบขอมูลตามเงื่อนไขรายละเอียดตางๆ ที่กําหนดไว และแสดงผลการเปรียบเทียบขอมูล ดังรูปที่ 5.21 รูปที่ 5.21 หนาตางแสดงผลการเปรียบเทียบ ผลการเปรียบเทียบที่บันทึกไวในแฟม Garbage_AB.html ดังรูปที่ 5.22 ชื่อแฟม Script ชื่อแฟมและตารางที่นํามาเปรียบเทียบ สถิติผลการเปรียบเทียบ ผลการเปรียบเทียบ รูปที่ 5.22 หนาตางแสดงผลการเปรียบเทียบที่บันทึกไวในแฟมขอมูลรูป HTML ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 14. 82 บทที่ 5 การตรวจสอบขอมูลนําเขาดวย Data Compare 5.2.9 การตรวจสอบคาขอมูลที่แตกตางกัน ภายหลังจากพบวา ผลการเปรียบเทียบมีคาขอมูลแตกตางกัน แสดงวา ตองมีคา ขอมูลในแฟมใดแฟมหนึ่งผิด ดังนั้นจึงตองทําการตรวจสอบขอเท็จจริงวา คาขอมูลที่แทจริงเปน อยางไร เพื่อตัดสินใจและนําไปสูการแกไขคาที่ผิดใหถูกตอง โดยมีขั้นตอนในการปฏิบัติดังนี้ . พิจารณาผลการเปรียบเทียบที่เกิดขึ้นจากแฟม Garbage_AB.html ดังรูปที่ 5.23 ฟลดที่พบคาขอมูลแตกตางกัน ID ที่พบคาขอมูลแตกตางกัน คาขอมูลแตกตางกัน รูปที่ 5.23 การพิจารณาผลการเปรียบเทียบ สรุปผลการเปรียบเทียบ พบวา มี ID = 5, 16, 31, 43 และ 45 ที่พบความแตกตาง . นําหมายเลข ID ทั้ง 5 หมายเลข ไปตรวจสอบคาที่ถูกตองจากแบบสอบถามตนฉบับ แลวขีดฆา ขอมูลที่ไมถูกตอง และเขียนขอมูลที่ถูกตอง โดยใชปากกาหมึกเขม ดังรูปที่ 5.24 1 2 47 o 2 2 รูปที่ 5.24 การตรวจสอบผลการเปรียบเทียบ ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 15. คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows 83 หมายเลข ID ชื่อฟลด(ตัวแปร) คาที่ถูกตอง คาที่ผิด 5 METHOD3 1 0 16 STATUS 2 1 31 AGE 47 41 METHOD2 0 1 43 STATUS 2 1 45 COM 2 1 5.2.10 การแกไขคาขอมูลในหนาตางแสดงผลการเปรียบเทียบ ภายหลังจากตรวจสอบความถูกตองของคาขอมูลที่แตกตางกันแลว ขั้นตอน ตอไปเปนการแกไขคาขอมูลที่ผิดใหมีคาถูกตอง โดยใชหนาตางแสดงผลการเปรียบเทียบของ โปรแกรมยอย Data Compare โดยมีขั้นตอนในการปฏิบัติดังนี้ .เลื่อนเมาสไปคลิกที่ปุม หรือ Read-Only Mode On บนแถบเครื่องมือเพื่อเขาสูโหมด ของการแกไขขอมูลดังรูปที่ 5.25 รูปที่ 5.25 ปุมเครื่องมือรายการ Read-Only Mode On บนหนาตางโปรแกรมยอย Analyze Data . จากนั้นปุม Read-Only Mode On จะเปลี่ยนไปเปน Edit Mode On และปุม Accept Table 1 Value กับ Accept Table 2 Value จะเปลี่ยนเปนปุมที่สามารถใชงานได(Active) ดังรูปที่ 5.26 ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 16. 84 บทที่ 5 การตรวจสอบขอมูลนําเขาดวย Data Compare รูปที่ 5.26 ปุมเครื่องมือรายการ Edit Mode On บนหนาตางโปรแกรมยอย Analyze Data . พิจารณา ID = 5 ในคอลัมนหรือฟลดชื่อ METHOD3 จะพบวา ใน Table 1 มีคา METHOD3 = 0 และใน Table 2 มีคา METHOD3 = 1 ซึ่งจากการตรวจสอบจากตนฉบับพบวา คา METHOD3 = 1 เปนคาที่ถูกตอง แสดงวา คาใน Table 1 ผิด ดังนั้นการแกไขคาดังกลาวใหถูกตอง จึงสามารถทําได โดยการแทนที่คาผิดดวยคาที่ถูก นั่นคือ เลื่อนเมาสไปคลิกที่คา METHOD3 = 1 ใน Table 2 จากนั้น เลื่อนเมาสไปคลิกที่ปุม Accept Table 2 Value ผลที่ไดจะทําใหคาของ METHOD3 ใน Table 1 เปลี่ยนคาจาก 0 เปน 1 เชนเดียวกับ Table 2 ทันที ดังรูปที่ 5.27 ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 17. คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows 85 รูปที่ 5.27 การแสดงผลแกไขคาใหถูกตองจากหนาตางผลการเปรียบเทียบ ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 18. 86 บทที่ 5 การตรวจสอบขอมูลนําเขาดวย Data Compare . พิจารณา ID = 16 ในคอลัมนหรือฟลดชื่อ STATUS จะพบวา ใน Table 1 มีคา STATUS = 1 และใน Table 2 มีคา STATUS = 2 ซึ่งจากการตรวจสอบจากตนฉบับพบวา คา STATUS = 2 เปน คาที่ถูกตอง แสดงวา คาใน Table 1 ผิด ดังนั้นการแกไขคาดังกลาวใหถูกตอง จึงสามารถทําไดโดย การแทนที่คาผิดดวยคาที่ถูก นั่นคือ เลื่อนเมาสไปคลิกที่คา STATUS = 2 ใน Table 2 จากนั้นเลื่อน เมาสไปคลิกที่ปุม Accept Table 2 Value ผลที่ไดจะทําใหคาของ STATUS ใน Table 1 เปลี่ยนคา จาก 1 เปน 2 เชนเดียวกับ Table 2 ทันที ดังรูปที่ 5.28 รูปที่ 5.28 การแสดงผลแกไขคาใหถูกตองจากหนาตางผลการเปรียบเทียบ ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 19. คูมือการใชงานโปรแกรม Epi Info for Windows 87 . กรณี ID อื่น ก็พิจารณาและปฏิบัติไดตามแนวเดียวกัน โดยมีหลักการวา หากพบคาถูกอยูใน Table ใด ใหเลื่อนเมาสไปคลิกที่คานั้น แลวคลิกที่ปุมยอมรับคา Table นั้น เชน ถาคาใน Table 1 ถูก ใหเลื่อนเมาสไปคลิกที่คานั้น แลวคลิกที่ปุม Accept Table 1 Value หรือถาคาใน Table 2 ถูก ให เลื่อนเมาสไปคลิกที่คานั้น แลวคลิกที่ปุม Accept Table 2 Value เปนตน และกรณีคาขอมูลใน Table ผิดทั้งคู ใหเลื่อนเมาสไปดับเบิ้ลคลิกที่คาใดคาหนึ่งของ Table ใดก็ได จากนั้นแกไขคาใหถูกตอง แลวดําเนินการตอไปโดยใชหลักการเดิม . แกไขคาขอมูลใหครบ จนปรากฏขอความ No Differences นั่นแสดงวา ไมพบความแตกตาง ใดๆ ของขอมูลทั้งสองแฟม ดังรูปที่ 5.29 รูปที่ 5.29 การแสดงผลการเปรียบเทียบทีไมพบความแตกตาง ่ ขั้นตอนที่ปรากฏขอความ No Differences ดังกลาวขางตน ถือเปนขั้นตอนสุดทายใน การตรวจสอบขอมูลนําเขา ดวยโปรแกรมยอย Data Compare เพราะเมื่อไมพบความแตกตางของคา ขอมูล แสดงวา คาขอมูลนําเขาทุกตัวแปร ทุกเรคคอรดของทั้งสองแฟมเปนคาเดียวกัน ดังนั้นเมื่อ ตองการนําแฟมขอมูลไปใชงาน จึงสามารถทําได โดยเลือกเพียงแฟมขอมูลใดแฟมขอมูลหนึ่งไป ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 20. 88 บทที่ 5 การตรวจสอบขอมูลนําเขาดวย Data Compare 5.3 บทสรุป การตรวจสอบขอมูลนําเขาดวยโปรแกรมยอย Data Compare เปนขั้นตอนการตรวจสอบ ความผิดพลาดที่เกิดขึ้นจากการนําเขาขอมูล ซึ่งเมื่อดําเนินการแลวเสร็จ จะไดคาขอมูลที่เกิดจากการ นํ า เข า ทั้ ง สองครั้ ง ตรงกั น นั่ น เป น สิ่ ง ยื น ยั น ว า ค า ข อ มู ล ที่ นํ า เข า จะถู ก ต อ งและครบถ ว น ตามแบบฟอร ม เก็ บ ข อ มู ล ต น ฉบั บ ในทางปฏิ บั ติ วิ ธี ก ารนํ า เข า ข อ มู ล ดั ง กล า ว มั ก ถู ก นํ า มาใช เพื่อควบคุม และตรวจสอบคุณ ภาพของขอมู ลในงานวินิจ ฉั ย ชุม ชน แตทั้ งนี้ห ากผูเ กี่ย วข องไม สามารถดํ า เนิ น การได ต ามวิ ธี ก ารดั ง กล า วข า งต น ซึ่ ง อาจเนื่ อ งมาจากข อ จํ า กั ด เรื่ อ งของเวลา งบประมาณ หรือบุคลากร ก็ควรชี้แจง หรือระบุเหตุจําเปนที่ไมสามารถดําเนินการไดในรายงานผล การสํารวจ ทั้งนี้เพื่อเปนขอมูลพื้นฐานประกอบในการชี้แจงและตรวจสอบคุณภาพของขอมูลใน งานวินจฉัยชุมชนตอไป ิ ผูชวยศาสตราจารยพงษเดช สารการ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน