SlideShare a Scribd company logo
1 of 48
Download to read offline
การใช Microsoft Excel ในการกําหนดระดับคะแนน
ปรับปรุงครั้งที่ 7
(ธันวาคม 2553)
โดย
รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา
ภาควิชาคณิตศาสตรและสถิติ
คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
kamon@mathstat.sci.tu.ac.th
http://mathstat.sci.tu.ac.th/~kamon/
(ขอมูลที่ใชเปนตัวอยางที่สมมุติขึ้น)
หัวขอ หนา
---------------------------------------------------------------------------
1. การจัดเตรียมแฟมขอมูลสําหรับการทําคะแนน 1-6
2. การสรุปคะแนนสอบกลางภาค 7-17
3. การรวมคะแนนและคํานวณสถิติสรุป 18-27
4. การกําหนดระดับคะแนน 28-38
5. การสรุปจํานวนระดับคะแนนและการกรอกคะแนน 39-45
6. บทสรุป 46
การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 1
1. การจัดเตรียมแฟมขอมูลสําหรับการทําคะแนน
การจัดเตรียมแฟมขอมูลสําหรับการทําคะแนนในที่นี้จะเริ่มจากการทําสําเนาแฟมขอมูล
การคัดลอกขอมูลและการจัดรูปแบบแฟมขอมูลใหเหมาะสมสําหรับการทําคะแนน การจัดเตรียม
ดังกลาวใหดําเนินการตามขั้นตอนตอไปนี้
1.1 เปดแฟมขอมูลที่ไดจากสํานักทะเบียนฯ (เปนแฟมประเภท Excel ในที่นี้สมมุติวา
แฟมนี้ชื่อ 0955st3388100146_01) แฟมดังกลาวมีลักษณะดังตอไปนี้
การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 2
1.2 สรางสําเนาแฟมขอมูลไวอีกหนึ่งชุดดวยการคลิกซายที่ ปุม Office –> บันทึกแฟม
เปน… จากนั้นระบุชื่อแฟมในที่อยูที่ตองการ (ในตัวอยางนี้ใหชื่อเปน st338_146)
1.3 เปดแฟมใหม (ชื่อ st338_146) แลวคลิกซายที่มุมบนดานซายสุดของตารางเพื่อ
เลือกแผนงานทั้งแผนของแฟมใหม
การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 3
1.4 คลิกขวาที่พื้นที่วาง Æ คัดลอก เพื่อคัดลอกแผนงานปจจุบันไปไวที่แผนงานใหม
1.5 เปดแผนงานใหมโดยการคลิกซายที่มุมลางดานซาย แผนงานที่ 2 (Sheet2) ซึ่ง
โดยอัตโนมัติโปรแกรมจะสรางแผนงานขึ้นมา 3 แผนงาน
การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 4
1.6 เมื่อปรากฏแผนงานใหมใหวางแผนงานที่กําลังจะคัดลอกลงบนแผนงานใหมนี้โดย
การคลิกขวาที่เซลล A1 Æ วาง
1.7 ตั้งชื่อแผนงานใหมโดยการคลิกขวาที่ Sheet2 Æ เปลี่ยนชื่อ จากนั้นตั้งชื่อแผนงาน
ใหมตามที่ตองการ ในที่นี้จะใชชื่อวา midterm เพื่อใชสําหรับทําคะแนนสอบกลางภาค
การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 5
1.8 ตัดสดมภที่ไมตองการใชโดยการคลิกซายที่หัวสดมภที่ตองการตัดออก ตามดวย
การคลิกขวาบริเวณที่เลือก Æ ลบ
1.9 ตัดแถวที่ไมตองการใชโดยการคลิกซายที่หัวแถวที่ตองการตัดออก ตามดวยการ
คลิกขวาบริเวณที่เลือก Æ ลบ
การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 6
1.10 ตั้งชื่อสดมภใหมตามที่ตองการ เชน Midterm(70) เพื่อใชกรอกคะแนนสอบ
กลางภาคที่มีคะแนนเต็ม 70 คะแนน
1.11 กรอกคะแนนสอบกลางภาคในสดมภดังกลาว ทั้งนี้อาจมีสดมภอื่นๆ ที่แทน
คะแนนทดสอบยอยอื่นๆ ดวยก็ได
การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 7
2. การสรุปคะแนนสอบกลางภาค
การสรุปคะแนนสอบกลางภาคในที่นี้จะทําการจัดเรียงคะแนนจากคะแนนสูงสุดไปต่ําสุด
ทําการคํานวณคะแนนเฉลี่ย และคาสถิติอื่นๆ เพื่อประกอบการประกาศผลคะแนนสอบ
2.1 การจัดเรียงคะแนนจากคะแนนสูงสุดไปต่ําสุดใหคลิกซายที่มุมบนซายของแผนงาน
เพื่อเลือกขอมูลทั้งแผน จากนั้นคลิกซายที่ ขอมูล Æ เรียงลําดับ…
2.2 จากนั้นจะปรากฏกลองขอความเพื่อใหระบุเงื่อนไขตางๆ ในการเรียงลําดับดังนี้
การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 8
2.3 ใหระบุตัวแปรที่ใชเปนหลักในการจัดเรียง ในที่นี้ระบุวาจะจัดเรียงตาม
คาของคอลัมน D ซึ่งเปนคาของตัวแปร Midterm(70) ผูใชสามารถเปลี่ยนไดหากตองการ
จัดเรียงตามตัวแปรอื่น โดยคลิกซายที่ริมขวาสุดของชองดังกลาวเพื่อเลือกใหจัดเรียงลําดับตาม
คาของตัวแปรที่ตองการ
2.4 จากนั้นใหเลือกลักษณะการจัดเรียงจากนอยที่สุดไปหามากที่สุด หรือจากมากที่สุด
ไปหานอยที่สุด ในที่นี้เลือก มากที่สุดไปหานอยที่สุด แลวคลิกตกลง
การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 9
2.5 ผลลัพธที่ไดจะเปนการจัดเรียงขอมูลตามคะแนนสอบกลางภาค (ตัวแปร
Midterm(70)) จากคะแนนสูงสุดไปต่ําสุด
2.6 ตอไปจะทําการคํานวณคะแนนเฉลี่ยและสถิติอื่นๆ ที่เกี่ยวของประกอบการสรุปผล
ใหคลิกซายที่มุมบนดานซาย tab ขวาสุด Æ คําสั่งเพิ่มเติม…ดังนี้
การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 10
2.7 คลิกซายที่ Add-in Æ ไป...
2.8 เลือก Analysis ToolPak (และ Analysis ToolPak – VBA) จากกลองขอความที่
ปรากฏขึ้นมา แลวคลิกซายเลือก ตกลง
การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 11
2.9 หลังจากติดตั้งโปรแกรมเสร็จ คลิกซายที่ ขอมูล Æ Data Analysis (อยูมุมบน
ดานขวาสุด)
2.10 เลือก Descriptive Statistics จากกลองขอความที่ปรากฏขึ้นมา แลวคลิกซาย
เลือก OK
การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 12
2.11 คลิกซายที่ลูกศรแดงในชองบนสุดที่เวนวางไว (หลังคําวา Input Range) เพื่อ
กําหนดตําแหนงที่อยูของขอมูลที่ตองการคํานวณคาสถิติ
2.12 คลิกซายคางไวลากทั่วบริเวณขอมูลคะแนนสอบกลางภาค (ตัวแปร Midterm
(70)) เมื่อตรวจสอบวามีเสนประลอมรอบทั่วบริเวณขอมูลทุกตัวแลว คลิกซายที่ลูกศรแดงเพื่อ
กลับไปยังกลองขอความเดิม
การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 13
2.13 การจัดกลุม (Grouped By) ระบุวาจัดตามสดมภ (Column) ถูกตองแลว ตอไปให
คลิกซายเลือก Labels in First Row เนื่องจากการระบุบริเวณของขอมูลนั้นไดรวมสวนที่เปน
ปายชื่อตัวแปรที่อยูในแถวแรกดวย จากนั้นคลิกซายเลือก Summary statistics แลวคลิกซาย
เลือก OK
2.14 จากนั้นจะไดสถิติพรรณนาของคะแนนสอบกลางภาค เชน คะแนนเฉลี่ยสวนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน คะแนนต่ําสุดและคะแนนสูงสุด จํานวนผูเขาสอบทั้งหมด เปนตน
การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 14
ผูเขาสอบมีจํานวนทั้งสิ้น 86 คน คะแนนต่ําสุดคือ 0 คะแนน (ไมไดเขาสอบ) และ
คะแนนสูงสุดคือ 50 คะแนน คะแนนสอบโดยเฉลี่ยคือ 26.82 คะแนน มีสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
8.8 คะแนน ใหสังเกตวามัธยฐานของคะแนนสอบไมตางจากคะแนนเฉลี่ยเทาใดนัก แสดงวา
ขอมูลคะแนนสอบนี้ไมเบมากนัก (สังเกตจากคาความเบ Skewness ก็ได)
ตอไปจะพิจารณาวามีผูสอบไดคะแนนในชวงตางๆ ตอไปนี้เปนจํานวนกี่คน
คะแนน จํานวนคน
ไมเกิน10 คะแนน xx
มากกวา 10 แตไมเกิน 20 คะแนน xx
มากกวา 20 แตไมเกิน 30 คะแนน xx
มากกวา 30 แตไมเกิน 40 คะแนน xx
มากกวา 40 แตไมเกิน 50 คะแนน xx
มากกวา 50 คะแนน xx
(หมายเหตุ ในที่นี้ทราบแลววาไมมีใครไดคะแนนเกิน 50 คะแนน)
2.15 ใหปอนขอมูลในสดมภใดสดมภหนึ่ง (สมมุติวาชื่อ Bin) ในแผนงานขอมูล (ในที่นี้ชื่อ
midterm) โดยขอมูลที่ปอนนี้คือขอบเขตบนของแตละชั้นตามที่ตองการ ในที่นี้คือ 10, 20, 30,
40, 50, และ 70
การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 15
2.16 คลิกซายที่ ขอมูล Æ Data Analysis Æ Histogram แลวคลิกซายที่ OK
2.17 คลิกซายที่ลูกศรแดงในชองบนสุดที่เวนวางไว (หลังคําวา Input Range) เพื่อ
กําหนดตําแหนงที่อยูของขอมูลที่ตองการ (แบบเดียวกับขั้นตอนที่ 2.11) เมื่อกลับมาที่กลอง
ขอความนี้อีก ใหคลิกซายที่ลูกศรแดงหลังคําวา Bin Range เพื่อระบุขอบเขตบนของแตละชั้น
การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 16
2.18 เมื่อกลับมาที่กลองขอความเดิมอีก ใหคลิก Labels เนื่องจากระบุขอบเขตขอมูลที่
รวมชื่อตัวแปรไว จากนั้นใหคลิกซายเลือก Cumulative Percentage และ Chart Output แลว
คลิกซายเลือก OK
2.19 ผลลัพธที่ไดในแผนทํางานใหมคือ ตารางแจกแจงความถี่ และฮิสโตแกรม ในที่นี้อาจตอง
ทําการปรับฮิสโตแกรมใหมีขนาดที่ใหญขึ้นและมีความสวยงามมากขึ้น
การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 17
จากตารางแจกแจงความถี่ขางตนสรุปไดวา (ฮิสโตแกรมที่ปรับแกไขแลวแสดงดังรูป
ขางลาง)
คะแนน จํานวนคน
ไมเกิน10 คะแนน 3
มากกวา 10 แตไมเกิน 20 คะแนน 14
มากกวา 20 แตไมเกิน 30 คะแนน 43
มากกวา 30 แตไมเกิน 40 คะแนน 22
มากกวา 40 แตไมเกิน 50 คะแนน 4
การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 18
3. การรวมคะแนนและคํานวณสถิติสรุป
ขั้นตอนสุดทายไดแกการทําคะแนนรวมซึ่งหมายถึงการหาคะแนนรวมจากคะแนนสวน
ตางๆ ของนักศึกษาแตละคนโดยเทียบใหคะแนนเต็มเปนรอยคะแนนเพื่อความสะดวกในการ
กําหนดระดับคะแนน อนึ่ง ในตัวอยางที่จะกลาวถึงตอไป คะแนนสวนตางๆ ไดแก คะแนนสอบ
กลางภาค คะแนนรายงาน คะแนนสอบปฏิบัติการและคะแนนสอบปลายภาค หลังจากคํานวณ
คะแนนรวมแลวจะทําการหาคาสถิติตางๆ พิจารณาการแจกแจงของคะแนนรวมเพื่อใชในการ
ตัดสินใจกําหนดระดับคะแนนตอไป
3.1 สมมุติวาคะแนนสวนตางๆ ของนักศึกษาแตละคนเปนดังขางลางนี้
ถาคะแนนสอบกลางภาคและคะแนนสอบปลายภาคคิดเปนรอยละ 80 ของทั้งหมด สวน
คะแนนรายงานคิดเปนรอยละ 10 และคะแนนสอบปฏิบัติการคิดเปนรอยละ 10 ของทั้งหมด
สมมุติตอไปวาจะทําการรวมคะแนนสอบกลางภาครวมกับคะแนนสอบปลายภาคแลวหารดวย
สองซึ่งจะได คะแนนเต็ม 82.5 (คะแนนเกินมา 2.5 ก็ไมเปนไร ถือวาเปนคะแนนชวย) จากนั้นจึง
บวกเขากับคะแนนรายงานและคะแนนสอบปฏิบัติการ นั่นคือคะแนนรวม (เต็ม 100 คะแนน)
ของนักศึกษาแตละคนคํานวณจาก คะแนนรวม = (คะแนนสอบกลางภาค+คะแนนสอบปลาย
ภาค)/2 + คะแนนรายงาน + คะแนนสอบปฏิบัติการ หรือ
Total(100) = ( Midterm(70)+Final(95) )/2 + Report(10) + Lab(10)
การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 19
3.2 สรางสดมภใหม (H) ชื่อ Total(100) จากนั้นคลิกซายที่เซลล H2 แลวพิมพ
= (d2+g2)/2+e2+f2 ในชองวางดานบน (หลังเครื่องหมายถูก (สีแดง) ผิด (สีเขียว) และเทากับ)
เพื่อสั่งใหคํานวณคะแนนรวมของนักศึกษาคนที่ 1 ซึ่งขอมูลอยูในแถวที่สอง แลวกด Enter
3.3 คลิกซายที่เซลล H2 จากนั้นวางเคอรเซอรที่มุมลางขวาของเซลล H2 เมื่อปรากฏ
เครื่องหมายบวกใหคลิกซายคางไวแลวลากลงมายังบรรทัดอื่นๆ เพื่อทําการคัดลอกสูตรการ
คํานวณคะแนนรวมนี้ไปยังเซลลของนักศึกษาคนอื่นๆ (อาจทําการคัดลอกโดยการคลิกขวาที่
เซลล H2 Æ คัดลอก แลววางยังเซลลอื่นๆ ก็ได)
การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 20
3.4 เมื่อปลอยเมาส จะปรากฏคะแนนรวมของนักศึกษาแตละคนที่ไดทําการลากเมาส
ไปในขั้นตอนที่ 3.3
3.5 ทําการคํานวณสถิติสรุปของคะแนนรวมโดยใชวิธีเดียวกับขั้นตอนที่ 2.8-2.12
ผลลัพธที่ไดแสดงดังขางลาง (สําหรับนักศึกษาที่ถอน W ใหเวนวางในชองคะแนนรวม ไมควร
ใสคะแนนรวมที่เปนศูนยเพราะจะทําใหการคํานวณคะแนนเฉลี่ยไมถูกตอง)
การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 21
3.6 ทําการปดเศษคะแนนรวมใหเปนจํานวนเต็ม โดยการคลิกที่เซลล I2 แลวพิมพ
=round(h2,0)
3.7 จากนั้นใหคลิกที่เซลล I2 วางเคอรเซอรที่มุมลางขวาของเซลล I2 เมื่อปรากฏ
เครื่องหมายบวกใหคลิกซายคางไวแลวลากลงมายังบรรทัดอื่นๆ เพื่อทําการคัดลอกการปดเศษ
นี้ไปยังเซลลของนักศึกษาคนอื่นๆ
การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 22
3.8 จากนั้นคัดลอกสดมภของคะแนนที่ปดเศษมาไวยังสดมภเดิม Total(100) ผลลัพธที่
ไดคือคะแนนรวมที่มีการปดเศษซึ่งจะนําไปใชในการสรางตารางแจกแจงความถี่เพื่อกําหนด
ระดับคะแนนตอไป
3.9 กําหนด Bin ซึ่งเปนขอบเขตของขอมูลในแตละชั้น ในที่นี้เนื่องจากคะแนนต่ําสุดคือ
36 คะแนนและคะแนนสูงสุดคือ 85 คะแนน ดังนั้นจะสรางขอบเขตตั้งแต 36,37,38,…,85 ทํา
โดยการพิมพเลข 36, 37, และ 38 ที่ใดก็ไดในแผนงาน (อยาลืมตั้งชื่อ Bin) คลิกซายคางไวแลว
ลากที่ตัวเลขสามตัว
การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 23
3.10 นําเมาสวางที่มุมลางขวาของตัวเลขตัวสุดทาย เมื่อปรากฏเครื่องหมายบวกให
คลิกซายคางไวลากเมาสลงมาเรื่อยๆ จนไดตัวเลขครบตามที่ตองการ (ตัวสุดทายคือ 85)
3.11 ทําการสรางฮิสโตแกรมของคะแนนรวมโดยใชวิธีเดียวกับขั้นตอนที่ 2.15-2.19
ผลลัพธที่ไดแสดงดังขางลาง
การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 24
3.12 ตารางแจกแจงความถี่และฮิสโตแกรมพรอมกับสถิติอื่นๆ เชนคะแนนเฉลี่ย
รวมทั้งเกณฑที่ผูสอนกําหนดสามารถชวยในการตัดสินใจสรางเกณฑในการกําหนดระดับ
คะแนนไดตารางแจกแจงความถี่และฮิสโตแกรมที่ปรับแตงแลว แสดงไดดังนี้
Bin Frequency
36 1
37 1
38 0
39 1
40 0
41 0
42 2
43 0
44 2
45 2
46 0
47 1
48 3
49 1
50 1
51 4
52 3
53 0
54 1
55 1
56 3
57 6
58 4
59 5
60 5
61 3
62 0
63 7
64 1
65 3
66 3
67 3
68 2
69 1
70 1
71 4
72 3
73 1
74 0
75 0
76 0
77 2
78 1
79 0
80 1
81 0
82 0
83 0
84 0
85 1
More 0
ตารางแจกแจงความถี่ของแตละคะแนนเพื่อใชในการกําหนดระดับคะแนน
การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 25
3.13 การสรางปายกํากับที่ฮิสโตแกรม ใหคลิกซายหนึ่งครั้งที่ฮิสโตแกรม จากนั้นคลิกขวา
ที่ฮิสโตแกรม Æ เพิ่มปายชื่อขอมูล
จะไดฮิสโตแกรมที่เพิ่มปายชื่อขอมูล ดังนี้
ฮิสโตแกรมชนิดที่แสดงความถี่ (จํานวนนักศึกษา)กํากับที่แทงแตละแทง
การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 26
3.14 กรณีที่ตองการใหฮิสโตแกรมแสดงปายชื่อขอมูลที่คะแนน ใหคลิกซายหนึ่งครั้งที่
ฮิสโตแกรม จากนั้นคลิกขวาที่ฮิสโตแกรม Æ จัดรูปแบบปายชื่อขอมูล
จะปรากฏกลองขอความจัดรูปแบบปายชื่อขอมูลขึ้นมา ที่ tab ปายชื่อประกอบดวย
เลือก ชื่อประเภท Æ ปด ดังนี้
การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 27
จะไดฮิสโตแกรมที่เปลี่ยนปายชื่อขอมูล ดังนี้
ฮิสโตแกรมชนิดที่แสดงคะแนนกํากับที่แทงแตละแทง
การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 28
4. การกําหนดระดับคะแนน
การกําหนดระดับคะแนนหรือการแปลงจากคะแนนดิบเปนระดับคะแนนหรือเกรดทําได
หลายวิธีดวยกัน เชน การพิมพคําสั่ง IF หลายๆ คําสั่งซอนกัน การใชกลองขอความของคําสั่ง
IF แทนการพิมพ (เพื่อปองกันการพิมพผิดและการใสจํานวนวงเล็บเปดที่ไมเทากับจํานวน
วงเล็บปด) และการใชคําสั่ง VLOOKUP
สมมุติวาหลังจากพิจารณาตารางแจกแจงความถี่ของคะแนนรวม และสถิติอื่นๆ
ประกอบการตัดสินใจแลว กําหนดเกณฑในการกําหนดระดับคะแนนดังนี้
คะแนน ระดับคะแนน
ตั้งแต 80 คะแนนขึ้นไป A
76 คะแนน ถึง 79 คะแนน B+ (บวก)
71 คะแนน ถึง 75 คะแนน B
63 คะแนน ถึง 70 คะแนน C+ (บวก)
54 คะแนน ถึง 62 คะแนน C
47 คะแนน ถึง 53 คะแนน D+ (บวก)
41 คะแนน ถึง 46 คะแนน D
ตั้งแต 40 คะแนนลงมา F
อาจพิมพคําสั่ง IF ไวในไฟลดวย Microsoft Word หรือ Microsoft Excel เพื่อจะไดไมมี
ขอผิดพลาดในเรื่องจํานวนวงเล็บเปดและวงเล็บปด จากนั้นเมื่อมีการใชคําสั่งนี้อีกจะไดทําการ
คัดลอกมาใชไดทันที ไมตองพิมพใหม คําสั่ง IF ที่ตองพิมพ ในเซลลของสดมภที่แทนระดับ
คะแนน คือ
=IF(H2>79, "A", IF(H2>75, "B+(บวก)", IF(H2>70, "B", IF(H2>62, "C+(บวก)",
IF(H2>53, "C",IF(H2>46,"D+(บวก)",IF(H2>40, "D", "F") ) ) ) ) ) )
ใหสังเกตวา จํานวนวงเล็บเปดของคําสั่ง IF มี 7 วงเล็บ ดังนั้นจํานวนวงเล็บปดที่
ทายสุดของคําสั่งจะตองมี 7 วงเล็บดวย สังเกตตอไปวา เซลล H2 ก็คือคาของตัวแปร
Total(100) (คะแนนรวมของนักศึกษาคนที่ 1) ที่เราอางอิงถึง
การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 29
4.1 พิมพคําสั่ง IF ขางตนในสดมภที่แทนตัวแปรระดับคะแนน (Grade1) ดังนี้
4.2 หลังพิมพเสร็จและเคาะแปน Enter จะปรากฏระดับคะแนนที่สอดคลองกับคะแนน
รวม (ตัวแปร Total(100)) ของเซลลนั้น หรือของนักศึกษาคนแรก ในที่นี้คือ C+(บวก)
การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 30
4.3 คลิกซายที่เซลลนั้น (ที่ไดระดับคะแนน C+(บวก)) วางเมาสที่มุมลางขวาของเซลล
เมื่อปรากฏเครื่องหมายบวก ใหทําการคัดลอกโดยคลิกซายคางไวแลวลากลงมาที่บรรทัดตอๆ
มาจนครบถึงนักศึกษาคนสุดทาย
4.4 เมื่อปลอยเมาส จะไดระดับคะแนนของนักศึกษาแตละคน
การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 31
4.5 นอกจากการพิมพคําสั่ง IF ซอนกันแลว สามารถใชการโตตอบกับกลองขอความ
โดย คลิกซายที่ สูตร Æ แทรกฟงกชัน
4.6 เมื่อปรากฏกลองขอความใหเลือก ประเภทฟงกชันคือ แบบตรรกะ และชื่อฟงกชัน
คือ IF แลวคลิกซายที่ ตกลง
หมายเหตุ สามารถคลิกซายที่ สูตร Æ แบบตรรกะ(รูปหนังสือสีมวง)Æ IF ไดเชนกัน
การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 32
4.7 เมื่อปรากฏกลองขอความใหพิมพ H2>79 ในชอง Logical_test และใสคา “A” ใน
ชอง Value_if_true แลวคลิกซายที่ ตกลง
4.8 หลังจากนั้นจะปรากฏคําสั่ง IF ที่เซลลนั้น วางเคอรเซอรหลัง “A” ใสเครื่องหมาย
จุลภาค (,) เพื่อเตรียมใชคําสั่ง IF อีก
การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 33
4.9 คลิกซายที่ สูตร Æ แบบตรรกะ (รูปหนังสือสีมวง) เลือกฟงกชัน IF (แบบเดียวกับ
ขั้นตอนที่ 4.5-4.6) จากนั้นเมื่อปรากฏกลองขอความใหพิมพ H2>75 ในชอง Logical_test
และใสคา B+(บวก) ในชอง Value_if_true แลวคลิกซายที่ ตกลง
4.10 ใหสังเกตวาจะมีคําสั่ง IF พรอมวงเล็บเพิ่มขึ้นมาในเซลลนั้น
การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 34
4.11 วางเคอรเซอรที่หลัง “B+(บวก)” ใสเครื่องหมายจุลภาค (,) เพื่อเตรียมใชคําสั่ง IF
อีกหลายๆ ครั้ง จนครบเงื่อนไขตามที่กําหนดไว จากนั้นกดแปน Enter จะไดระดับคะแนนของ
นักศึกษาคนแรก
4.12 ทําการคัดลอกการแปลงคะแนนใหกับนักศึกษาคนอื่นๆ เชนเดียวกับขั้นตอนที่
4.3-4.4 เมื่อคัดลอกเสร็จแลวจะไดระดับคะแนนของนักศึกษาแตละคนซึ่งควรจะสอดคลองกับ
การใช คําสั่ง IF แบบหลายครั้งซอนกันที่ผูใชพิมพคําสั่งเอง
การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 35
4.13 ตอไปจะลองใชคําสั่ง VLOOKUP ในการกําหนดระดับคะแนน ซึ่งมีขอระมัดระวัง
ในการกําหนดขอบเขตของคะแนนดิบที่จะแปลงเปนระดับคะแนนดังนี้
จากตัวอยางที่ผานมา เกณฑในการกําหนดระดับคะแนนคือ
คะแนน ระดับคะแนน
ตั้งแต 80 คะแนนขึ้นไป (80-100) A
76 คะแนน ถึง 79 คะแนน (76-79) B+ (บวก)
71 คะแนน ถึง 75 คะแนน (71-75) B
63 คะแนน ถึง 70 คะแนน (63-70) C+ (บวก)
54 คะแนน ถึง 62 คะแนน (54-62) C
47 คะแนน ถึง 53 คะแนน (47-53) D+ (บวก)
41 คะแนน ถึง 46 คะแนน (41-46) D
ตั้งแต 40 คะแนนลงมา (0-40) F
ซึ่งการใชคําสั่ง IF ที่ผานมานั้น เขียนไดดังนี้
=IF(H2>79, "A", IF(H2>75, "B+(บวก)", IF(H2>70, "B", IF(H2>62, "C+(บวก)",
IF(H2>53, "C",IF(H2>46,"D+(บวก)",IF(H2>40, "D", "F") ) ) ) ) ) )
การใชคําสั่ง VLOOKUP ใหสรางตารางของการแปลงคะแนนดิบเปนระดับคะแนนดังนี้
ขอบเขต ระดับคะแนน
0 F
41 D
47 D+(บวก)
54 C
63 C+(บวก)
71 B
76 B+(บวก)
80 A
มากกวาหรือเทากับ 41 คะแนนไดระดับคะแนน D มากกวาหรือเทากับ 47 คะแนน ได
ระดับคะแนน D+ มากกวาหรือเทากับ 54 คะแนนไดระดับคะแนน C มากกวาหรือเทากับ 63
คะแนนไดระดับคะแนน C+ มากกวาหรือเทากับ 71 คะแนนไดระดับคะแนน B มากกวาหรือ
เทากับ 76 คะแนนไดระดับคะแนน B+ มากกวาหรือเทากับ 80 คะแนนไดระดับคะแนน A
การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 36
สมมุติวาสรางตารางการแปลงคะแนนไวที่ L4 ถึง M12 และกําหนด สดมภ Grade3
เพื่อใชเก็บตัวแปรระดับคะแนน ดังนี้
4.14 ใหพิมพคําสั่ง = VLOOKUP(H2,L4:M12,2) ในเซลล K2 ซึ่งหมายถึงการ
พิจารณาวาคะแนน 70 (เซลล H2) เมื่อพิจารณาในตารางเทียบคะแนน (L4:M12) แลวจะได
ระดับคะแนนใด (ตัวเลข 2 ทายคําสั่งหมายถึงใหนําระดับคะแนนในสดมภที่ 2 ของตารางมาใส)
การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 37
4.15 หลังกดแปน Enter จะไดระดับคะแนน C+(บวก) ในเซลล K2
4.16 กอนทําการคัดลอกคําสั่ง VLOOKUP ใหกับเซลลของนักศึกษาคนอื่น จะตองทํา
การล็อคตารางใหเปนตารางเทียบคะแนนเดิมโดยระบุตารางดังนี้ $L$4:$M$12 (หมายถึงการ
ล็อคทั้งแถวและสดมภ) โดยแกไขคําสั่ง VLOOKUP ของเซลล K2 เปน =
VLOOKUP(H2,$L$4:$M$12,2) จากนั้นใหทําการคัดลอกโดยใหกับเซลลอื่นๆ ตามปกติ
การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 38
4.17 เมื่อทําการคัดลอกแลว (เชนเดียวกับขั้นตอนที่ 4.3-4.4) จะไดระดับคะแนนของ
นักศึกษาทุกคนในสดมภ Grade3 ซึ่งสามารถเปรียบเทียบความถูกตองกับการกําหนดระดับ
คะแนนโดยการใชคําสั่ง IF ในสดมภ Grade1 และ Grade2 ได
การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 39
5. การสรุปจํานวนระดับคะแนนและการกรอกคะแนน
การสรุปจํานวนระดับคะแนนในขั้นตอนสุดทายจะเปนการพิจารณาวามีนักศึกษาได
ระดับคะแนนตางๆ เปนจํานวนกี่คน รวมทั้งผูที่ไดระดับคะแนน W (เพิกถอน) ดวย จากนั้นจะ
ทําการคัดลอกสดมภระดับคะแนนที่ไดนี้ใสในสดมภสําหรับการกําหนดระดับคะแนนในแฟมที่
จะตองนําสงสํานักทะเบียนฯ
5.1 ขั้นตอนแรกไดแก การแกไขระดับคะแนน F ใหเปน W สําหรับนักศึกษาที่เพิกถอน
รายวิชา เนื่องจากในแฟมที่สํานักทะเบียนจัดเตรียมมาใหนั้นยังคงมีรายชื่อนักศึกษาที่เพิกถอน
อยูดวย และสํานักทะเบียนฯ ไดระบุระดับคะแนนเปน W ไวในเซลลนั้น
ในที่นี้มีนักศึกษาสองคนที่ทําการเพิกถอนรายวิชา (คะแนนสอบเปนศูนย) ใหใสระดับ
คะแนน W ใหสอดคลองกับแฟมที่สํานักทะเบียนฯ สงมาเพื่อใหกรอกระดับคะแนน
จะใช Pivot Table ในการสรุปผล จํานวนนักศึกษาที่ไดระดับคะแนนตางๆ ซึ่งมีวิธีการ
ดําเนินงานตามขั้นตอนดังตอไปนี้
การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 40
5.2 คลิกซายบริเวณที่ตองการใหแสดง PivotTable จากนั้นคลิกซายที่ แทรก Æ
PivotTable
5.3 จะปรากฏกลองขอความใหระบุขอบเขตขอมูลที่ตองการใช (คลิกซายที่ลูกศรแดง
มุมขวาสุดของชองวาง ตาราง/ชวง) ในที่นี้อาจเลือกเฉพาะตัวแปร Grade1 เพียงตัวเดียวก็ได
การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 41
5.4 คลิกซายคางไว ลากเมาสไปทั่วขอมูลของตัวแปร Grade1 แลวคลิกที่ลูกศรแดงอีก
ครั้งหนึ่งเพื่อใหดําเนินการตอไป
5.5 คลิกซายเลือก ตกลง เพื่อใหดําเนินการตอ
การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 42
5.6 จะปรากฏกลองขอความดานขวามือเพื่อใหระบุรูปแบบของ Pivot Table ดังนี้
5.7 คลิกซายเลือก Grade1 ทางขวามือดานบน ลากเมาสมาไวที่บริเวณที่เขียนวา ปาย
ชื่อแถว เพราะตองการใหแสดงรายการ (ระดับคะแนนตางๆ) ตามแนวแถว ถาตองการใหแสดง
รายการตามแนวสดมภใหคลิกซายเลือก Grade1 ทางขวามือดานบน ลากเมาสมาไวที่บริเวณที่
เขียนวา ปายชื่อคอลัมน
การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 43
5.8 คลิกซายเลือก Grade1 ทางขวามือมือดานบนอีกครั้งมาไวที่บริเวณที่เขียนวา คา
เพื่อใหแสดงการสรุปเกี่ยวกับตัวแปร Grade1 ในที่นี้โปรแกรมกําหนดใหโดยปริยายวาเปนการ
นับ (Count) ของตัวแปร Grade1 (ในกรณีที่ตองการใหสรุปเปนอยางอื่นโดยเฉพาะขอมูลเชิง
ปริมาณใหคลิกซายที่ นับจํานวน ของ Grade1 Æ การตั้งคาเขตขอมูล ‘ขอมูล’... เพื่อเลือกเปน
แบบอื่น เชน ผลรวม หรือคาเฉลี่ยเปนตน) คลิกซายที่เครื่องหมายกากบาท
5.9 ผลลัพธที่ได แสดงผลสรุปของจํานวนนักศึกษาจําแนกตามระดับคะแนนตางๆ ดังนี้
ใหระวังวาการเรียงลําดับนั้น ไมเปนไปตามที่ควรจะเปน เนื่องจาก B มากอน B+(บวก),
C มากอน C+(บวก), และ D มากอน D+(บวก) ดังนั้นจะตองกรอกผลสรุปอยางรอบคอบ
การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 44
5.10 ทําการคัดลอกสดมภระดับคะแนน สดมภใดสดมภหนึ่ง (เชนตัวแปร Grade1)
เพื่อวางลงในสดมภ GRADE ของแฟมที่จะตองสงสํานักทะเบียนฯ
5.11 เมื่อเปดแฟมที่จะตองสงสํานักทะเบียนฯ แลว คลิกที่เซลลที่จะตองกรอกระดับ
คะแนนของนักศึกษาคนแรก คลิกขวาเซลลที่เลือก Æ วางแบบพิเศษ
การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 45
5.12 คลิกซายเลือกวาง คา (ไมเชนนั้นจะมีสูตรที่ใชคํานวณตามมาดวยและทําใหเกิด
ขอผิดพลาดเนื่องจากการอางอิงของสูตรไมสอดคลองกับแผนงานนี้) แลวคลิกซายเลือก ตกลง
5.13 จะไดระดับคะแนนปรากฏที่สดมภ GRADE (รวมทั้งระดับคะแนน W ดวย)
จากนั้นกรอกผลสรุปจํานวนนักศึกษาจําแนกตามระดับคะแนนที่ดานลางของแผนทํางาน พรอม
ที่จะนําสงสํานักทะเบียนฯตอไป
การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 46
6. บทสรุป
การใชโปรแกรมสําเร็จรูปหรือคอมพิวเตอรชวยในการกําหนดระดับคะแนนมีความ
สะดวกรวดเร็ว ใหความถูกตองสูงถาทําโดยความระมัดระวัง ควรมีการตรวจสอบความเปน
ไปไดอื่นๆ หรือตรวจทานกับตนฉบับที่เปนคะแนนดิบอยางเขมงวด ขอผิดพลาดในการกรอก
ระดับคะแนนเทาที่พบเห็นอาจเกิดจาก
1. การเรียงลําดับขอมูล ซึ่งจะตองกําหนดใหจัดเรียงทุกๆ สดมภ การจัดเรียงเพียง
บางสดมภ (โดยบังเอิญ) จะทําใหขอมูลของนักศึกษาแตละคนไมถูกตอง
2. จํานวนนักศึกษาที่มีการเพิ่มขึ้น หรือลดลงหลังการเพิกถอนรายวิชา ถาแฟมขอมูล
ฉบับแรกที่ไดจากสํานักทะเบียนฯ กอนการเพิ่ม-ถอน ตางจากหลังการเพิ่ม-ถอน จะ
ทําใหการคัดลอกคะแนนตางๆ เชน คะแนนการบาน คะแนนสอบยอย คะแนนสอบ
กลางภาค เปนตนไมสอดคลองกับแฟมขอมูลที่ไดมาหลังจากที่มีการเพิ่มถอน
3. ใหระวังวาสําหรับนักศึกษาที่ถอนรายวิชา ไมควรตัดขอมูลของนักศึกษาคนนั้น
ออกไปในชวงที่ทําคะแนนสอบกลางภาคหรือคะแนนสอบยอย หรือแมแตคะแนน
สอบปลายภาค เพราะสํานักทะเบียนฯ ยังคงเก็บขอมูลของนักศึกษาที่มีการเพิก
ถอนไว และยังรวมไวในกลุมเดียวกับนักศึกษาที่จดทะเบียนลักษณะวิชานั้น
นอกจากนั้นยังไดระบุระดับคะแนนเปน W ในชอง GRADE ไวดวย ทําใหการกรอก
ระดับคะแนนตองคงระดับคะแนน W สําหรับนักศึกษาที่เพิกถอนลักษณะวิชาไวใน
แฟมนั้นๆ
หวังเปนอยางยิ่งวา เอกสารนี้จะเปนประโยชนกับอาจารยทุกๆ ทานที่สนใจการใช
คอมพิวเตอรเปนเครื่องมือชวยในการพัฒนาการเรียนการสอน หากทานมีขอเสนอแนะอยางไร
ขอไดโปรดแจงใหผูเขียนทราบดวย เพื่อใหเอกสารนี้เปนวิทยาทานที่มีประโยชนอยางสูงสุดกับ
ผูใชทุกระดับ
รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา
ภาควิชาคณิตศาสตรและสถิติ
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
kamon@mathstat.sci.tu.ac.th
http://mathstat.sci.tu.ac.th/~kamon/

More Related Content

Similar to ตัวอย่างทำคะแนน.นร.excel.pdf

การจัดการข้อมูลด้วย Excel
การจัดการข้อมูลด้วย Excelการจัดการข้อมูลด้วย Excel
การจัดการข้อมูลด้วย ExcelSatapon Yosakonkun
 
25 game by excel v2007 2014
25 game by excel v2007 201425 game by excel v2007 2014
25 game by excel v2007 20140810752540
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำSsab Sky
 
Aritc excel2013 2
Aritc excel2013 2Aritc excel2013 2
Aritc excel2013 2wuttichat
 
53011213098
5301121309853011213098
53011213098jeabchat
 
ปฏิบัติการที่ 5 การใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ด
ปฏิบัติการที่ 5 การใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ดปฏิบัติการที่ 5 การใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ด
ปฏิบัติการที่ 5 การใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ดteaw-sirinapa
 
บทนำ1
บทนำ1บทนำ1
บทนำ1Ssab Sky
 
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูลตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูลKriangx Ch
 
Design and technology 3 unit 4
Design and technology 3 unit 4Design and technology 3 unit 4
Design and technology 3 unit 4Chompooh Cyp
 
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบบทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบSarawut Panchon
 
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010 เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010 kanidta vatanyoo
 

Similar to ตัวอย่างทำคะแนน.นร.excel.pdf (20)

การจัดการข้อมูลด้วย Excel
การจัดการข้อมูลด้วย Excelการจัดการข้อมูลด้วย Excel
การจัดการข้อมูลด้วย Excel
 
Lecture excel2007
Lecture excel2007Lecture excel2007
Lecture excel2007
 
Static excel
Static excelStatic excel
Static excel
 
25 game by excel v2007 2014
25 game by excel v2007 201425 game by excel v2007 2014
25 game by excel v2007 2014
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำ
 
Aritc excel2013 2
Aritc excel2013 2Aritc excel2013 2
Aritc excel2013 2
 
บทท 7
บทท   7บทท   7
บทท 7
 
บทท 7 (1)
บทท   7 (1)บทท   7 (1)
บทท 7 (1)
 
53011213098
5301121309853011213098
53011213098
 
P2 r
P2 rP2 r
P2 r
 
Ass2 1
Ass2 1Ass2 1
Ass2 1
 
ปฏิบัติการที่ 5 การใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ด
ปฏิบัติการที่ 5 การใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ดปฏิบัติการที่ 5 การใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ด
ปฏิบัติการที่ 5 การใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ด
 
บทนำ1
บทนำ1บทนำ1
บทนำ1
 
Unit 15
Unit 15Unit 15
Unit 15
 
Epi info unit01
Epi info unit01Epi info unit01
Epi info unit01
 
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูลตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
 
Chapter02
Chapter02Chapter02
Chapter02
 
Design and technology 3 unit 4
Design and technology 3 unit 4Design and technology 3 unit 4
Design and technology 3 unit 4
 
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบบทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
 
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010 เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
 

ตัวอย่างทำคะแนน.นร.excel.pdf

  • 1. การใช Microsoft Excel ในการกําหนดระดับคะแนน ปรับปรุงครั้งที่ 7 (ธันวาคม 2553) โดย รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา ภาควิชาคณิตศาสตรและสถิติ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร kamon@mathstat.sci.tu.ac.th http://mathstat.sci.tu.ac.th/~kamon/ (ขอมูลที่ใชเปนตัวอยางที่สมมุติขึ้น)
  • 2. หัวขอ หนา --------------------------------------------------------------------------- 1. การจัดเตรียมแฟมขอมูลสําหรับการทําคะแนน 1-6 2. การสรุปคะแนนสอบกลางภาค 7-17 3. การรวมคะแนนและคํานวณสถิติสรุป 18-27 4. การกําหนดระดับคะแนน 28-38 5. การสรุปจํานวนระดับคะแนนและการกรอกคะแนน 39-45 6. บทสรุป 46
  • 3. การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 1 1. การจัดเตรียมแฟมขอมูลสําหรับการทําคะแนน การจัดเตรียมแฟมขอมูลสําหรับการทําคะแนนในที่นี้จะเริ่มจากการทําสําเนาแฟมขอมูล การคัดลอกขอมูลและการจัดรูปแบบแฟมขอมูลใหเหมาะสมสําหรับการทําคะแนน การจัดเตรียม ดังกลาวใหดําเนินการตามขั้นตอนตอไปนี้ 1.1 เปดแฟมขอมูลที่ไดจากสํานักทะเบียนฯ (เปนแฟมประเภท Excel ในที่นี้สมมุติวา แฟมนี้ชื่อ 0955st3388100146_01) แฟมดังกลาวมีลักษณะดังตอไปนี้
  • 4. การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 2 1.2 สรางสําเนาแฟมขอมูลไวอีกหนึ่งชุดดวยการคลิกซายที่ ปุม Office –> บันทึกแฟม เปน… จากนั้นระบุชื่อแฟมในที่อยูที่ตองการ (ในตัวอยางนี้ใหชื่อเปน st338_146) 1.3 เปดแฟมใหม (ชื่อ st338_146) แลวคลิกซายที่มุมบนดานซายสุดของตารางเพื่อ เลือกแผนงานทั้งแผนของแฟมใหม
  • 5. การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 3 1.4 คลิกขวาที่พื้นที่วาง Æ คัดลอก เพื่อคัดลอกแผนงานปจจุบันไปไวที่แผนงานใหม 1.5 เปดแผนงานใหมโดยการคลิกซายที่มุมลางดานซาย แผนงานที่ 2 (Sheet2) ซึ่ง โดยอัตโนมัติโปรแกรมจะสรางแผนงานขึ้นมา 3 แผนงาน
  • 6. การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 4 1.6 เมื่อปรากฏแผนงานใหมใหวางแผนงานที่กําลังจะคัดลอกลงบนแผนงานใหมนี้โดย การคลิกขวาที่เซลล A1 Æ วาง 1.7 ตั้งชื่อแผนงานใหมโดยการคลิกขวาที่ Sheet2 Æ เปลี่ยนชื่อ จากนั้นตั้งชื่อแผนงาน ใหมตามที่ตองการ ในที่นี้จะใชชื่อวา midterm เพื่อใชสําหรับทําคะแนนสอบกลางภาค
  • 7. การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 5 1.8 ตัดสดมภที่ไมตองการใชโดยการคลิกซายที่หัวสดมภที่ตองการตัดออก ตามดวย การคลิกขวาบริเวณที่เลือก Æ ลบ 1.9 ตัดแถวที่ไมตองการใชโดยการคลิกซายที่หัวแถวที่ตองการตัดออก ตามดวยการ คลิกขวาบริเวณที่เลือก Æ ลบ
  • 8. การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 6 1.10 ตั้งชื่อสดมภใหมตามที่ตองการ เชน Midterm(70) เพื่อใชกรอกคะแนนสอบ กลางภาคที่มีคะแนนเต็ม 70 คะแนน 1.11 กรอกคะแนนสอบกลางภาคในสดมภดังกลาว ทั้งนี้อาจมีสดมภอื่นๆ ที่แทน คะแนนทดสอบยอยอื่นๆ ดวยก็ได
  • 9. การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 7 2. การสรุปคะแนนสอบกลางภาค การสรุปคะแนนสอบกลางภาคในที่นี้จะทําการจัดเรียงคะแนนจากคะแนนสูงสุดไปต่ําสุด ทําการคํานวณคะแนนเฉลี่ย และคาสถิติอื่นๆ เพื่อประกอบการประกาศผลคะแนนสอบ 2.1 การจัดเรียงคะแนนจากคะแนนสูงสุดไปต่ําสุดใหคลิกซายที่มุมบนซายของแผนงาน เพื่อเลือกขอมูลทั้งแผน จากนั้นคลิกซายที่ ขอมูล Æ เรียงลําดับ… 2.2 จากนั้นจะปรากฏกลองขอความเพื่อใหระบุเงื่อนไขตางๆ ในการเรียงลําดับดังนี้
  • 10. การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 8 2.3 ใหระบุตัวแปรที่ใชเปนหลักในการจัดเรียง ในที่นี้ระบุวาจะจัดเรียงตาม คาของคอลัมน D ซึ่งเปนคาของตัวแปร Midterm(70) ผูใชสามารถเปลี่ยนไดหากตองการ จัดเรียงตามตัวแปรอื่น โดยคลิกซายที่ริมขวาสุดของชองดังกลาวเพื่อเลือกใหจัดเรียงลําดับตาม คาของตัวแปรที่ตองการ 2.4 จากนั้นใหเลือกลักษณะการจัดเรียงจากนอยที่สุดไปหามากที่สุด หรือจากมากที่สุด ไปหานอยที่สุด ในที่นี้เลือก มากที่สุดไปหานอยที่สุด แลวคลิกตกลง
  • 11. การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 9 2.5 ผลลัพธที่ไดจะเปนการจัดเรียงขอมูลตามคะแนนสอบกลางภาค (ตัวแปร Midterm(70)) จากคะแนนสูงสุดไปต่ําสุด 2.6 ตอไปจะทําการคํานวณคะแนนเฉลี่ยและสถิติอื่นๆ ที่เกี่ยวของประกอบการสรุปผล ใหคลิกซายที่มุมบนดานซาย tab ขวาสุด Æ คําสั่งเพิ่มเติม…ดังนี้
  • 12. การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 10 2.7 คลิกซายที่ Add-in Æ ไป... 2.8 เลือก Analysis ToolPak (และ Analysis ToolPak – VBA) จากกลองขอความที่ ปรากฏขึ้นมา แลวคลิกซายเลือก ตกลง
  • 13. การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 11 2.9 หลังจากติดตั้งโปรแกรมเสร็จ คลิกซายที่ ขอมูล Æ Data Analysis (อยูมุมบน ดานขวาสุด) 2.10 เลือก Descriptive Statistics จากกลองขอความที่ปรากฏขึ้นมา แลวคลิกซาย เลือก OK
  • 14. การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 12 2.11 คลิกซายที่ลูกศรแดงในชองบนสุดที่เวนวางไว (หลังคําวา Input Range) เพื่อ กําหนดตําแหนงที่อยูของขอมูลที่ตองการคํานวณคาสถิติ 2.12 คลิกซายคางไวลากทั่วบริเวณขอมูลคะแนนสอบกลางภาค (ตัวแปร Midterm (70)) เมื่อตรวจสอบวามีเสนประลอมรอบทั่วบริเวณขอมูลทุกตัวแลว คลิกซายที่ลูกศรแดงเพื่อ กลับไปยังกลองขอความเดิม
  • 15. การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 13 2.13 การจัดกลุม (Grouped By) ระบุวาจัดตามสดมภ (Column) ถูกตองแลว ตอไปให คลิกซายเลือก Labels in First Row เนื่องจากการระบุบริเวณของขอมูลนั้นไดรวมสวนที่เปน ปายชื่อตัวแปรที่อยูในแถวแรกดวย จากนั้นคลิกซายเลือก Summary statistics แลวคลิกซาย เลือก OK 2.14 จากนั้นจะไดสถิติพรรณนาของคะแนนสอบกลางภาค เชน คะแนนเฉลี่ยสวนเบี่ยงเบน มาตรฐาน คะแนนต่ําสุดและคะแนนสูงสุด จํานวนผูเขาสอบทั้งหมด เปนตน
  • 16. การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 14 ผูเขาสอบมีจํานวนทั้งสิ้น 86 คน คะแนนต่ําสุดคือ 0 คะแนน (ไมไดเขาสอบ) และ คะแนนสูงสุดคือ 50 คะแนน คะแนนสอบโดยเฉลี่ยคือ 26.82 คะแนน มีสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 8.8 คะแนน ใหสังเกตวามัธยฐานของคะแนนสอบไมตางจากคะแนนเฉลี่ยเทาใดนัก แสดงวา ขอมูลคะแนนสอบนี้ไมเบมากนัก (สังเกตจากคาความเบ Skewness ก็ได) ตอไปจะพิจารณาวามีผูสอบไดคะแนนในชวงตางๆ ตอไปนี้เปนจํานวนกี่คน คะแนน จํานวนคน ไมเกิน10 คะแนน xx มากกวา 10 แตไมเกิน 20 คะแนน xx มากกวา 20 แตไมเกิน 30 คะแนน xx มากกวา 30 แตไมเกิน 40 คะแนน xx มากกวา 40 แตไมเกิน 50 คะแนน xx มากกวา 50 คะแนน xx (หมายเหตุ ในที่นี้ทราบแลววาไมมีใครไดคะแนนเกิน 50 คะแนน) 2.15 ใหปอนขอมูลในสดมภใดสดมภหนึ่ง (สมมุติวาชื่อ Bin) ในแผนงานขอมูล (ในที่นี้ชื่อ midterm) โดยขอมูลที่ปอนนี้คือขอบเขตบนของแตละชั้นตามที่ตองการ ในที่นี้คือ 10, 20, 30, 40, 50, และ 70
  • 17. การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 15 2.16 คลิกซายที่ ขอมูล Æ Data Analysis Æ Histogram แลวคลิกซายที่ OK 2.17 คลิกซายที่ลูกศรแดงในชองบนสุดที่เวนวางไว (หลังคําวา Input Range) เพื่อ กําหนดตําแหนงที่อยูของขอมูลที่ตองการ (แบบเดียวกับขั้นตอนที่ 2.11) เมื่อกลับมาที่กลอง ขอความนี้อีก ใหคลิกซายที่ลูกศรแดงหลังคําวา Bin Range เพื่อระบุขอบเขตบนของแตละชั้น
  • 18. การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 16 2.18 เมื่อกลับมาที่กลองขอความเดิมอีก ใหคลิก Labels เนื่องจากระบุขอบเขตขอมูลที่ รวมชื่อตัวแปรไว จากนั้นใหคลิกซายเลือก Cumulative Percentage และ Chart Output แลว คลิกซายเลือก OK 2.19 ผลลัพธที่ไดในแผนทํางานใหมคือ ตารางแจกแจงความถี่ และฮิสโตแกรม ในที่นี้อาจตอง ทําการปรับฮิสโตแกรมใหมีขนาดที่ใหญขึ้นและมีความสวยงามมากขึ้น
  • 19. การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 17 จากตารางแจกแจงความถี่ขางตนสรุปไดวา (ฮิสโตแกรมที่ปรับแกไขแลวแสดงดังรูป ขางลาง) คะแนน จํานวนคน ไมเกิน10 คะแนน 3 มากกวา 10 แตไมเกิน 20 คะแนน 14 มากกวา 20 แตไมเกิน 30 คะแนน 43 มากกวา 30 แตไมเกิน 40 คะแนน 22 มากกวา 40 แตไมเกิน 50 คะแนน 4
  • 20. การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 18 3. การรวมคะแนนและคํานวณสถิติสรุป ขั้นตอนสุดทายไดแกการทําคะแนนรวมซึ่งหมายถึงการหาคะแนนรวมจากคะแนนสวน ตางๆ ของนักศึกษาแตละคนโดยเทียบใหคะแนนเต็มเปนรอยคะแนนเพื่อความสะดวกในการ กําหนดระดับคะแนน อนึ่ง ในตัวอยางที่จะกลาวถึงตอไป คะแนนสวนตางๆ ไดแก คะแนนสอบ กลางภาค คะแนนรายงาน คะแนนสอบปฏิบัติการและคะแนนสอบปลายภาค หลังจากคํานวณ คะแนนรวมแลวจะทําการหาคาสถิติตางๆ พิจารณาการแจกแจงของคะแนนรวมเพื่อใชในการ ตัดสินใจกําหนดระดับคะแนนตอไป 3.1 สมมุติวาคะแนนสวนตางๆ ของนักศึกษาแตละคนเปนดังขางลางนี้ ถาคะแนนสอบกลางภาคและคะแนนสอบปลายภาคคิดเปนรอยละ 80 ของทั้งหมด สวน คะแนนรายงานคิดเปนรอยละ 10 และคะแนนสอบปฏิบัติการคิดเปนรอยละ 10 ของทั้งหมด สมมุติตอไปวาจะทําการรวมคะแนนสอบกลางภาครวมกับคะแนนสอบปลายภาคแลวหารดวย สองซึ่งจะได คะแนนเต็ม 82.5 (คะแนนเกินมา 2.5 ก็ไมเปนไร ถือวาเปนคะแนนชวย) จากนั้นจึง บวกเขากับคะแนนรายงานและคะแนนสอบปฏิบัติการ นั่นคือคะแนนรวม (เต็ม 100 คะแนน) ของนักศึกษาแตละคนคํานวณจาก คะแนนรวม = (คะแนนสอบกลางภาค+คะแนนสอบปลาย ภาค)/2 + คะแนนรายงาน + คะแนนสอบปฏิบัติการ หรือ Total(100) = ( Midterm(70)+Final(95) )/2 + Report(10) + Lab(10)
  • 21. การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 19 3.2 สรางสดมภใหม (H) ชื่อ Total(100) จากนั้นคลิกซายที่เซลล H2 แลวพิมพ = (d2+g2)/2+e2+f2 ในชองวางดานบน (หลังเครื่องหมายถูก (สีแดง) ผิด (สีเขียว) และเทากับ) เพื่อสั่งใหคํานวณคะแนนรวมของนักศึกษาคนที่ 1 ซึ่งขอมูลอยูในแถวที่สอง แลวกด Enter 3.3 คลิกซายที่เซลล H2 จากนั้นวางเคอรเซอรที่มุมลางขวาของเซลล H2 เมื่อปรากฏ เครื่องหมายบวกใหคลิกซายคางไวแลวลากลงมายังบรรทัดอื่นๆ เพื่อทําการคัดลอกสูตรการ คํานวณคะแนนรวมนี้ไปยังเซลลของนักศึกษาคนอื่นๆ (อาจทําการคัดลอกโดยการคลิกขวาที่ เซลล H2 Æ คัดลอก แลววางยังเซลลอื่นๆ ก็ได)
  • 22. การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 20 3.4 เมื่อปลอยเมาส จะปรากฏคะแนนรวมของนักศึกษาแตละคนที่ไดทําการลากเมาส ไปในขั้นตอนที่ 3.3 3.5 ทําการคํานวณสถิติสรุปของคะแนนรวมโดยใชวิธีเดียวกับขั้นตอนที่ 2.8-2.12 ผลลัพธที่ไดแสดงดังขางลาง (สําหรับนักศึกษาที่ถอน W ใหเวนวางในชองคะแนนรวม ไมควร ใสคะแนนรวมที่เปนศูนยเพราะจะทําใหการคํานวณคะแนนเฉลี่ยไมถูกตอง)
  • 23. การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 21 3.6 ทําการปดเศษคะแนนรวมใหเปนจํานวนเต็ม โดยการคลิกที่เซลล I2 แลวพิมพ =round(h2,0) 3.7 จากนั้นใหคลิกที่เซลล I2 วางเคอรเซอรที่มุมลางขวาของเซลล I2 เมื่อปรากฏ เครื่องหมายบวกใหคลิกซายคางไวแลวลากลงมายังบรรทัดอื่นๆ เพื่อทําการคัดลอกการปดเศษ นี้ไปยังเซลลของนักศึกษาคนอื่นๆ
  • 24. การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 22 3.8 จากนั้นคัดลอกสดมภของคะแนนที่ปดเศษมาไวยังสดมภเดิม Total(100) ผลลัพธที่ ไดคือคะแนนรวมที่มีการปดเศษซึ่งจะนําไปใชในการสรางตารางแจกแจงความถี่เพื่อกําหนด ระดับคะแนนตอไป 3.9 กําหนด Bin ซึ่งเปนขอบเขตของขอมูลในแตละชั้น ในที่นี้เนื่องจากคะแนนต่ําสุดคือ 36 คะแนนและคะแนนสูงสุดคือ 85 คะแนน ดังนั้นจะสรางขอบเขตตั้งแต 36,37,38,…,85 ทํา โดยการพิมพเลข 36, 37, และ 38 ที่ใดก็ไดในแผนงาน (อยาลืมตั้งชื่อ Bin) คลิกซายคางไวแลว ลากที่ตัวเลขสามตัว
  • 25. การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 23 3.10 นําเมาสวางที่มุมลางขวาของตัวเลขตัวสุดทาย เมื่อปรากฏเครื่องหมายบวกให คลิกซายคางไวลากเมาสลงมาเรื่อยๆ จนไดตัวเลขครบตามที่ตองการ (ตัวสุดทายคือ 85) 3.11 ทําการสรางฮิสโตแกรมของคะแนนรวมโดยใชวิธีเดียวกับขั้นตอนที่ 2.15-2.19 ผลลัพธที่ไดแสดงดังขางลาง
  • 26. การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 24 3.12 ตารางแจกแจงความถี่และฮิสโตแกรมพรอมกับสถิติอื่นๆ เชนคะแนนเฉลี่ย รวมทั้งเกณฑที่ผูสอนกําหนดสามารถชวยในการตัดสินใจสรางเกณฑในการกําหนดระดับ คะแนนไดตารางแจกแจงความถี่และฮิสโตแกรมที่ปรับแตงแลว แสดงไดดังนี้ Bin Frequency 36 1 37 1 38 0 39 1 40 0 41 0 42 2 43 0 44 2 45 2 46 0 47 1 48 3 49 1 50 1 51 4 52 3 53 0 54 1 55 1 56 3 57 6 58 4 59 5 60 5 61 3 62 0 63 7 64 1 65 3 66 3 67 3 68 2 69 1 70 1 71 4 72 3 73 1 74 0 75 0 76 0 77 2 78 1 79 0 80 1 81 0 82 0 83 0 84 0 85 1 More 0 ตารางแจกแจงความถี่ของแตละคะแนนเพื่อใชในการกําหนดระดับคะแนน
  • 27. การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 25 3.13 การสรางปายกํากับที่ฮิสโตแกรม ใหคลิกซายหนึ่งครั้งที่ฮิสโตแกรม จากนั้นคลิกขวา ที่ฮิสโตแกรม Æ เพิ่มปายชื่อขอมูล จะไดฮิสโตแกรมที่เพิ่มปายชื่อขอมูล ดังนี้ ฮิสโตแกรมชนิดที่แสดงความถี่ (จํานวนนักศึกษา)กํากับที่แทงแตละแทง
  • 28. การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 26 3.14 กรณีที่ตองการใหฮิสโตแกรมแสดงปายชื่อขอมูลที่คะแนน ใหคลิกซายหนึ่งครั้งที่ ฮิสโตแกรม จากนั้นคลิกขวาที่ฮิสโตแกรม Æ จัดรูปแบบปายชื่อขอมูล จะปรากฏกลองขอความจัดรูปแบบปายชื่อขอมูลขึ้นมา ที่ tab ปายชื่อประกอบดวย เลือก ชื่อประเภท Æ ปด ดังนี้
  • 29. การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 27 จะไดฮิสโตแกรมที่เปลี่ยนปายชื่อขอมูล ดังนี้ ฮิสโตแกรมชนิดที่แสดงคะแนนกํากับที่แทงแตละแทง
  • 30. การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 28 4. การกําหนดระดับคะแนน การกําหนดระดับคะแนนหรือการแปลงจากคะแนนดิบเปนระดับคะแนนหรือเกรดทําได หลายวิธีดวยกัน เชน การพิมพคําสั่ง IF หลายๆ คําสั่งซอนกัน การใชกลองขอความของคําสั่ง IF แทนการพิมพ (เพื่อปองกันการพิมพผิดและการใสจํานวนวงเล็บเปดที่ไมเทากับจํานวน วงเล็บปด) และการใชคําสั่ง VLOOKUP สมมุติวาหลังจากพิจารณาตารางแจกแจงความถี่ของคะแนนรวม และสถิติอื่นๆ ประกอบการตัดสินใจแลว กําหนดเกณฑในการกําหนดระดับคะแนนดังนี้ คะแนน ระดับคะแนน ตั้งแต 80 คะแนนขึ้นไป A 76 คะแนน ถึง 79 คะแนน B+ (บวก) 71 คะแนน ถึง 75 คะแนน B 63 คะแนน ถึง 70 คะแนน C+ (บวก) 54 คะแนน ถึง 62 คะแนน C 47 คะแนน ถึง 53 คะแนน D+ (บวก) 41 คะแนน ถึง 46 คะแนน D ตั้งแต 40 คะแนนลงมา F อาจพิมพคําสั่ง IF ไวในไฟลดวย Microsoft Word หรือ Microsoft Excel เพื่อจะไดไมมี ขอผิดพลาดในเรื่องจํานวนวงเล็บเปดและวงเล็บปด จากนั้นเมื่อมีการใชคําสั่งนี้อีกจะไดทําการ คัดลอกมาใชไดทันที ไมตองพิมพใหม คําสั่ง IF ที่ตองพิมพ ในเซลลของสดมภที่แทนระดับ คะแนน คือ =IF(H2>79, "A", IF(H2>75, "B+(บวก)", IF(H2>70, "B", IF(H2>62, "C+(บวก)", IF(H2>53, "C",IF(H2>46,"D+(บวก)",IF(H2>40, "D", "F") ) ) ) ) ) ) ใหสังเกตวา จํานวนวงเล็บเปดของคําสั่ง IF มี 7 วงเล็บ ดังนั้นจํานวนวงเล็บปดที่ ทายสุดของคําสั่งจะตองมี 7 วงเล็บดวย สังเกตตอไปวา เซลล H2 ก็คือคาของตัวแปร Total(100) (คะแนนรวมของนักศึกษาคนที่ 1) ที่เราอางอิงถึง
  • 31. การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 29 4.1 พิมพคําสั่ง IF ขางตนในสดมภที่แทนตัวแปรระดับคะแนน (Grade1) ดังนี้ 4.2 หลังพิมพเสร็จและเคาะแปน Enter จะปรากฏระดับคะแนนที่สอดคลองกับคะแนน รวม (ตัวแปร Total(100)) ของเซลลนั้น หรือของนักศึกษาคนแรก ในที่นี้คือ C+(บวก)
  • 32. การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 30 4.3 คลิกซายที่เซลลนั้น (ที่ไดระดับคะแนน C+(บวก)) วางเมาสที่มุมลางขวาของเซลล เมื่อปรากฏเครื่องหมายบวก ใหทําการคัดลอกโดยคลิกซายคางไวแลวลากลงมาที่บรรทัดตอๆ มาจนครบถึงนักศึกษาคนสุดทาย 4.4 เมื่อปลอยเมาส จะไดระดับคะแนนของนักศึกษาแตละคน
  • 33. การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 31 4.5 นอกจากการพิมพคําสั่ง IF ซอนกันแลว สามารถใชการโตตอบกับกลองขอความ โดย คลิกซายที่ สูตร Æ แทรกฟงกชัน 4.6 เมื่อปรากฏกลองขอความใหเลือก ประเภทฟงกชันคือ แบบตรรกะ และชื่อฟงกชัน คือ IF แลวคลิกซายที่ ตกลง หมายเหตุ สามารถคลิกซายที่ สูตร Æ แบบตรรกะ(รูปหนังสือสีมวง)Æ IF ไดเชนกัน
  • 34. การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 32 4.7 เมื่อปรากฏกลองขอความใหพิมพ H2>79 ในชอง Logical_test และใสคา “A” ใน ชอง Value_if_true แลวคลิกซายที่ ตกลง 4.8 หลังจากนั้นจะปรากฏคําสั่ง IF ที่เซลลนั้น วางเคอรเซอรหลัง “A” ใสเครื่องหมาย จุลภาค (,) เพื่อเตรียมใชคําสั่ง IF อีก
  • 35. การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 33 4.9 คลิกซายที่ สูตร Æ แบบตรรกะ (รูปหนังสือสีมวง) เลือกฟงกชัน IF (แบบเดียวกับ ขั้นตอนที่ 4.5-4.6) จากนั้นเมื่อปรากฏกลองขอความใหพิมพ H2>75 ในชอง Logical_test และใสคา B+(บวก) ในชอง Value_if_true แลวคลิกซายที่ ตกลง 4.10 ใหสังเกตวาจะมีคําสั่ง IF พรอมวงเล็บเพิ่มขึ้นมาในเซลลนั้น
  • 36. การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 34 4.11 วางเคอรเซอรที่หลัง “B+(บวก)” ใสเครื่องหมายจุลภาค (,) เพื่อเตรียมใชคําสั่ง IF อีกหลายๆ ครั้ง จนครบเงื่อนไขตามที่กําหนดไว จากนั้นกดแปน Enter จะไดระดับคะแนนของ นักศึกษาคนแรก 4.12 ทําการคัดลอกการแปลงคะแนนใหกับนักศึกษาคนอื่นๆ เชนเดียวกับขั้นตอนที่ 4.3-4.4 เมื่อคัดลอกเสร็จแลวจะไดระดับคะแนนของนักศึกษาแตละคนซึ่งควรจะสอดคลองกับ การใช คําสั่ง IF แบบหลายครั้งซอนกันที่ผูใชพิมพคําสั่งเอง
  • 37. การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 35 4.13 ตอไปจะลองใชคําสั่ง VLOOKUP ในการกําหนดระดับคะแนน ซึ่งมีขอระมัดระวัง ในการกําหนดขอบเขตของคะแนนดิบที่จะแปลงเปนระดับคะแนนดังนี้ จากตัวอยางที่ผานมา เกณฑในการกําหนดระดับคะแนนคือ คะแนน ระดับคะแนน ตั้งแต 80 คะแนนขึ้นไป (80-100) A 76 คะแนน ถึง 79 คะแนน (76-79) B+ (บวก) 71 คะแนน ถึง 75 คะแนน (71-75) B 63 คะแนน ถึง 70 คะแนน (63-70) C+ (บวก) 54 คะแนน ถึง 62 คะแนน (54-62) C 47 คะแนน ถึง 53 คะแนน (47-53) D+ (บวก) 41 คะแนน ถึง 46 คะแนน (41-46) D ตั้งแต 40 คะแนนลงมา (0-40) F ซึ่งการใชคําสั่ง IF ที่ผานมานั้น เขียนไดดังนี้ =IF(H2>79, "A", IF(H2>75, "B+(บวก)", IF(H2>70, "B", IF(H2>62, "C+(บวก)", IF(H2>53, "C",IF(H2>46,"D+(บวก)",IF(H2>40, "D", "F") ) ) ) ) ) ) การใชคําสั่ง VLOOKUP ใหสรางตารางของการแปลงคะแนนดิบเปนระดับคะแนนดังนี้ ขอบเขต ระดับคะแนน 0 F 41 D 47 D+(บวก) 54 C 63 C+(บวก) 71 B 76 B+(บวก) 80 A มากกวาหรือเทากับ 41 คะแนนไดระดับคะแนน D มากกวาหรือเทากับ 47 คะแนน ได ระดับคะแนน D+ มากกวาหรือเทากับ 54 คะแนนไดระดับคะแนน C มากกวาหรือเทากับ 63 คะแนนไดระดับคะแนน C+ มากกวาหรือเทากับ 71 คะแนนไดระดับคะแนน B มากกวาหรือ เทากับ 76 คะแนนไดระดับคะแนน B+ มากกวาหรือเทากับ 80 คะแนนไดระดับคะแนน A
  • 38. การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 36 สมมุติวาสรางตารางการแปลงคะแนนไวที่ L4 ถึง M12 และกําหนด สดมภ Grade3 เพื่อใชเก็บตัวแปรระดับคะแนน ดังนี้ 4.14 ใหพิมพคําสั่ง = VLOOKUP(H2,L4:M12,2) ในเซลล K2 ซึ่งหมายถึงการ พิจารณาวาคะแนน 70 (เซลล H2) เมื่อพิจารณาในตารางเทียบคะแนน (L4:M12) แลวจะได ระดับคะแนนใด (ตัวเลข 2 ทายคําสั่งหมายถึงใหนําระดับคะแนนในสดมภที่ 2 ของตารางมาใส)
  • 39. การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 37 4.15 หลังกดแปน Enter จะไดระดับคะแนน C+(บวก) ในเซลล K2 4.16 กอนทําการคัดลอกคําสั่ง VLOOKUP ใหกับเซลลของนักศึกษาคนอื่น จะตองทํา การล็อคตารางใหเปนตารางเทียบคะแนนเดิมโดยระบุตารางดังนี้ $L$4:$M$12 (หมายถึงการ ล็อคทั้งแถวและสดมภ) โดยแกไขคําสั่ง VLOOKUP ของเซลล K2 เปน = VLOOKUP(H2,$L$4:$M$12,2) จากนั้นใหทําการคัดลอกโดยใหกับเซลลอื่นๆ ตามปกติ
  • 40. การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 38 4.17 เมื่อทําการคัดลอกแลว (เชนเดียวกับขั้นตอนที่ 4.3-4.4) จะไดระดับคะแนนของ นักศึกษาทุกคนในสดมภ Grade3 ซึ่งสามารถเปรียบเทียบความถูกตองกับการกําหนดระดับ คะแนนโดยการใชคําสั่ง IF ในสดมภ Grade1 และ Grade2 ได
  • 41. การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 39 5. การสรุปจํานวนระดับคะแนนและการกรอกคะแนน การสรุปจํานวนระดับคะแนนในขั้นตอนสุดทายจะเปนการพิจารณาวามีนักศึกษาได ระดับคะแนนตางๆ เปนจํานวนกี่คน รวมทั้งผูที่ไดระดับคะแนน W (เพิกถอน) ดวย จากนั้นจะ ทําการคัดลอกสดมภระดับคะแนนที่ไดนี้ใสในสดมภสําหรับการกําหนดระดับคะแนนในแฟมที่ จะตองนําสงสํานักทะเบียนฯ 5.1 ขั้นตอนแรกไดแก การแกไขระดับคะแนน F ใหเปน W สําหรับนักศึกษาที่เพิกถอน รายวิชา เนื่องจากในแฟมที่สํานักทะเบียนจัดเตรียมมาใหนั้นยังคงมีรายชื่อนักศึกษาที่เพิกถอน อยูดวย และสํานักทะเบียนฯ ไดระบุระดับคะแนนเปน W ไวในเซลลนั้น ในที่นี้มีนักศึกษาสองคนที่ทําการเพิกถอนรายวิชา (คะแนนสอบเปนศูนย) ใหใสระดับ คะแนน W ใหสอดคลองกับแฟมที่สํานักทะเบียนฯ สงมาเพื่อใหกรอกระดับคะแนน จะใช Pivot Table ในการสรุปผล จํานวนนักศึกษาที่ไดระดับคะแนนตางๆ ซึ่งมีวิธีการ ดําเนินงานตามขั้นตอนดังตอไปนี้
  • 42. การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 40 5.2 คลิกซายบริเวณที่ตองการใหแสดง PivotTable จากนั้นคลิกซายที่ แทรก Æ PivotTable 5.3 จะปรากฏกลองขอความใหระบุขอบเขตขอมูลที่ตองการใช (คลิกซายที่ลูกศรแดง มุมขวาสุดของชองวาง ตาราง/ชวง) ในที่นี้อาจเลือกเฉพาะตัวแปร Grade1 เพียงตัวเดียวก็ได
  • 43. การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 41 5.4 คลิกซายคางไว ลากเมาสไปทั่วขอมูลของตัวแปร Grade1 แลวคลิกที่ลูกศรแดงอีก ครั้งหนึ่งเพื่อใหดําเนินการตอไป 5.5 คลิกซายเลือก ตกลง เพื่อใหดําเนินการตอ
  • 44. การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 42 5.6 จะปรากฏกลองขอความดานขวามือเพื่อใหระบุรูปแบบของ Pivot Table ดังนี้ 5.7 คลิกซายเลือก Grade1 ทางขวามือดานบน ลากเมาสมาไวที่บริเวณที่เขียนวา ปาย ชื่อแถว เพราะตองการใหแสดงรายการ (ระดับคะแนนตางๆ) ตามแนวแถว ถาตองการใหแสดง รายการตามแนวสดมภใหคลิกซายเลือก Grade1 ทางขวามือดานบน ลากเมาสมาไวที่บริเวณที่ เขียนวา ปายชื่อคอลัมน
  • 45. การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 43 5.8 คลิกซายเลือก Grade1 ทางขวามือมือดานบนอีกครั้งมาไวที่บริเวณที่เขียนวา คา เพื่อใหแสดงการสรุปเกี่ยวกับตัวแปร Grade1 ในที่นี้โปรแกรมกําหนดใหโดยปริยายวาเปนการ นับ (Count) ของตัวแปร Grade1 (ในกรณีที่ตองการใหสรุปเปนอยางอื่นโดยเฉพาะขอมูลเชิง ปริมาณใหคลิกซายที่ นับจํานวน ของ Grade1 Æ การตั้งคาเขตขอมูล ‘ขอมูล’... เพื่อเลือกเปน แบบอื่น เชน ผลรวม หรือคาเฉลี่ยเปนตน) คลิกซายที่เครื่องหมายกากบาท 5.9 ผลลัพธที่ได แสดงผลสรุปของจํานวนนักศึกษาจําแนกตามระดับคะแนนตางๆ ดังนี้ ใหระวังวาการเรียงลําดับนั้น ไมเปนไปตามที่ควรจะเปน เนื่องจาก B มากอน B+(บวก), C มากอน C+(บวก), และ D มากอน D+(บวก) ดังนั้นจะตองกรอกผลสรุปอยางรอบคอบ
  • 46. การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 44 5.10 ทําการคัดลอกสดมภระดับคะแนน สดมภใดสดมภหนึ่ง (เชนตัวแปร Grade1) เพื่อวางลงในสดมภ GRADE ของแฟมที่จะตองสงสํานักทะเบียนฯ 5.11 เมื่อเปดแฟมที่จะตองสงสํานักทะเบียนฯ แลว คลิกที่เซลลที่จะตองกรอกระดับ คะแนนของนักศึกษาคนแรก คลิกขวาเซลลที่เลือก Æ วางแบบพิเศษ
  • 47. การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 45 5.12 คลิกซายเลือกวาง คา (ไมเชนนั้นจะมีสูตรที่ใชคํานวณตามมาดวยและทําใหเกิด ขอผิดพลาดเนื่องจากการอางอิงของสูตรไมสอดคลองกับแผนงานนี้) แลวคลิกซายเลือก ตกลง 5.13 จะไดระดับคะแนนปรากฏที่สดมภ GRADE (รวมทั้งระดับคะแนน W ดวย) จากนั้นกรอกผลสรุปจํานวนนักศึกษาจําแนกตามระดับคะแนนที่ดานลางของแผนทํางาน พรอม ที่จะนําสงสํานักทะเบียนฯตอไป
  • 48. การใช Microsoft Excel ชวยในการกําหนดระดับคะแนน รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา 46 6. บทสรุป การใชโปรแกรมสําเร็จรูปหรือคอมพิวเตอรชวยในการกําหนดระดับคะแนนมีความ สะดวกรวดเร็ว ใหความถูกตองสูงถาทําโดยความระมัดระวัง ควรมีการตรวจสอบความเปน ไปไดอื่นๆ หรือตรวจทานกับตนฉบับที่เปนคะแนนดิบอยางเขมงวด ขอผิดพลาดในการกรอก ระดับคะแนนเทาที่พบเห็นอาจเกิดจาก 1. การเรียงลําดับขอมูล ซึ่งจะตองกําหนดใหจัดเรียงทุกๆ สดมภ การจัดเรียงเพียง บางสดมภ (โดยบังเอิญ) จะทําใหขอมูลของนักศึกษาแตละคนไมถูกตอง 2. จํานวนนักศึกษาที่มีการเพิ่มขึ้น หรือลดลงหลังการเพิกถอนรายวิชา ถาแฟมขอมูล ฉบับแรกที่ไดจากสํานักทะเบียนฯ กอนการเพิ่ม-ถอน ตางจากหลังการเพิ่ม-ถอน จะ ทําใหการคัดลอกคะแนนตางๆ เชน คะแนนการบาน คะแนนสอบยอย คะแนนสอบ กลางภาค เปนตนไมสอดคลองกับแฟมขอมูลที่ไดมาหลังจากที่มีการเพิ่มถอน 3. ใหระวังวาสําหรับนักศึกษาที่ถอนรายวิชา ไมควรตัดขอมูลของนักศึกษาคนนั้น ออกไปในชวงที่ทําคะแนนสอบกลางภาคหรือคะแนนสอบยอย หรือแมแตคะแนน สอบปลายภาค เพราะสํานักทะเบียนฯ ยังคงเก็บขอมูลของนักศึกษาที่มีการเพิก ถอนไว และยังรวมไวในกลุมเดียวกับนักศึกษาที่จดทะเบียนลักษณะวิชานั้น นอกจากนั้นยังไดระบุระดับคะแนนเปน W ในชอง GRADE ไวดวย ทําใหการกรอก ระดับคะแนนตองคงระดับคะแนน W สําหรับนักศึกษาที่เพิกถอนลักษณะวิชาไวใน แฟมนั้นๆ หวังเปนอยางยิ่งวา เอกสารนี้จะเปนประโยชนกับอาจารยทุกๆ ทานที่สนใจการใช คอมพิวเตอรเปนเครื่องมือชวยในการพัฒนาการเรียนการสอน หากทานมีขอเสนอแนะอยางไร ขอไดโปรดแจงใหผูเขียนทราบดวย เพื่อใหเอกสารนี้เปนวิทยาทานที่มีประโยชนอยางสูงสุดกับ ผูใชทุกระดับ รองศาสตราจารย ดร. กมล บุษบา ภาควิชาคณิตศาสตรและสถิติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร kamon@mathstat.sci.tu.ac.th http://mathstat.sci.tu.ac.th/~kamon/