SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
ด.ญ.ธนัชชา
2. ด.ญ.ธิญาดา
3. ด.ญ.นัชชา
4. ด.ญ.ปวีณา
5. ด.ญ.ลักษมณ
6. ด.ญ.สุณิสา
7. ด.ญ.สุพัตรา
1.

ปานมา
พูลสมบัติ
ห้วยหงส์ทอง
ทองนุ่ม
เจนสุริยะกุล
แสงดาว
ดอกรัก

ม.2/3 เลขที่ 11
ม.2/3 เลขที่ 14
ม.2/3 เลขที่ 15
ม.2/3 เลขที่ 18
ม.2/3 เลขที่ 22
ม.2/3 เลขที่ 24
ม.2/3 เลขที่ 25
ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database) เป็นฐานข้อมูลที่ใช้โมเดลเชิง
สัมพันธ์ (Relational Database Model) ซึ่งผู้คิดค้นโมเดลเชิงสัมพันธ์นี้คือ Dr. E.F. Codd โดย
ใช้หลักพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ เนื่องด้วยแนวคิดของแบบจาลองแบบนี้มีลักษณะที่คนใช้กันทั่ว
กล่าวคือมีการเก็บเป็นตาราง ทาให้ง่ายต่อการเข้าใจและการประยุกต์ใช้งาน ด้วยเหตุนี้ ระบบ
ฐานข้อมูลแบบนี้จึงที่ได้รับความนิยมมากที่สุด ในแง่ของ entity แบบจาลองแบบนี้คือ แฟ้มข้อมูล
ในรูปตาราง และ attribute ก็เปรียบเหมือนเขตข้อมูล ส่วนความสัมพันธ์คือความสัมพันธ์
ระหว่าง entity
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ คือ การเก็บข้อมูลในรูปของตาราง (Table) หลายๆตารางที่มี
ความสัมพันธ์กัน ในแต่ละตารางแบ่งออกเป็นแถวๆ และในแต่ละแถวจะแบ่งเป็นคอลัมน์
(Column) ในทางทฤษฎีจะมีคาศัพท์เฉพาะแตกต่างออกไป เนื่องจากแบบจาลองแบบนี้เกิดจาก
ทฤษฎีทางคณิตศาสตร์เรื่องเซ็ท (Set)
โครงสร้างของข้อมูล (Data Structure)
2.1. Relation
โครงสร้างของฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ จะอยู่ในลักษณะของตาราง 2 มิติ ประกอบด้วยทางด้านแถว และ
คอลัมน์ ซึ่งจะเรียกว่า รีเลชัน (Relation) โดยทั่ว ๆ ไป Relation หนึ่ง ๆ จะมีคุณสมบัติต่าง ๆ ดังนี้
1) ไม่มี Tuples คู่ใด ๆ เลยที่ซ้ากัน (No duplicate tuples)
2) ลาดับที่ของ Tuples ไม่มีความสาคัญ
3) ลาดับที่ของ Attributes ไม่มีความสาคัญ
4) ค่าของ Attribute จะเป็นค่าเดี่ยว ๆ (Atomic) นั่นคือ ค่าของข้อมูลที่ปรากฏอยู่ในตารางจะเป็นค่า ๆ
เดียว เป็นลิสต์ของค่าหลาย ๆ ค่าไม่ได้ ซึ่ง Relation ที่มีคุณสมบัติข้อนี้จะถูกเรียกว่าเป็น Relation ที่
อยู่ในรูปแบบ Normal form
5) ค่าของข้อมูลในแต่ละ Attribute จะบรรจุค่าของข้อมูลประเภทเดียวกัน
ชนิดของ Relations
ในระบบจัดการฐานข้อมูลทั่ว ๆ ไป Relation อาจจาแนกออกได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้คือ
1) Relation หลัก (Base Relation)
เป็น Relation ที่ถูกกาหนดขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลและเพื่อนาข้อมูลไปใช้เมื่อมีการสร้าง Relation โดยใช้ Data
Definition Language เช่น ใน SQL คาสั่ง CREATE TABLE เป็นการสร้าง Relation หลัก หลังจากนั้นก็จะทา
การเก็บข้อมูลเพื่อการเรียกใช้ข้อมูลในภายหลัง Relation หลักจะเป็นตารางที่จัดเก็บข้อมูลจริงไว้
2) วิว (View) หรืออาจเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า Relation สมมุติ (Virtual Relation)
เป็น Relation ที่ถูกสร้างขึ้นตามความต้องการใช้ข้อมูลของผู้ใช้แต่ละคน เนื่องจาก ผู้ใช้แต่ละคนอาจต้องการใช้
ข้อมูลในลักษณะที่แตกต่างกัน จึงทาการกาหนดวิวของตัวเองขึ้นมาจาก Relation หลัก เพื่อความสะดวกในการ
ใช้ข้อมูล และช่วยให้การรักษาความปลอดภัยของฐานข้อมูลทาได้ง่ายขึ้น Relation ที่ถูกสมมติขึ้นมานี้จะไม่มี
การเก็บข้อมูลจริง ๆ ในระบบฐานข้อมูล
ลักษณะของรีเลชั่นแสดงดังรูปที่ 3.3
กฎที่เกี่ยวข้องกับการรักษาความถูกต้อง
กฎที่ใช้สาหรับรักษาความถูกต้องของข้อมูล แบ่งออกเป็น 2 กฎคือ กฎที่เกี่ยวข้องกับเอนทิตี้ และกฎที่เกี่ยวข้องกับการ
เชื่อมโยงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้ )
1. กฎความบูรณภาพของเอนทิตี้ (Entity Integrity Rule)
กฎความบูรณภาพของเอนทิตี้ เป็นกฎที่ใช้กาหนดเพื่อให้ข้อมูลของเอนทิตี้ มีความถูกต้อง ซึ่งกล่าวไว้ว่า "แอตทริบิวส์ที่ทา
หน้าที่เป็นคีย์หลักของรีเลชัน ไมสามารถมีค่าเป็นค่าว่างได้ (Null Value)" และจะต้องมีคุณสมบัติที่เป็นเอกลักษณ์
(Identity) คือสามารถระบุข้อมูลแอตทริบิวส์อื่นๆ ที่อยู่ในทูเพิลเดียวกันได้
2. กฎความบูรณภาพของการอ้างอิง (Referential Integrity Rule)
กฎความบูรณภาพของการอ้างอิง คือกฎที่ใช้รักษาความถูกต้องของข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กันของเอนทิตี้ ซึ่งได้กล่าวไว้ว่า
"ค่าของคีย์นอกในรีเลชัน จะต้องมข้อมูลอยู่ในอีก รีเลชันหนึ่ง ที่คีย์นอกของรีเลชันนั้นอ้างอิงถึง"
ในบางกรณีคีย์นอกอาจเป็นค่าว่างได้ ถ้านโยบายขององค์กร อนุญาตให้ค่าคีย์นอกเป็น ค่าว่างได้ กรณีหากมีการลบ หรือ
แก้ไขข้อมูล ในรีเลชันที่ถูกอ้างอิงถึง ซึ่งจะทาให้สูญเสียความบูรณภาพของข้อมูล ดังตัวอย่างรูปที่ 3.6 หากมีการแก้ไขหรือ
ลบข้อมูลของรีเลชัน Major ในแอตทริบิวส์ Major ซึ่งมีความสัมพันธอยู่กับรีเลชัน Student จะทาให้ความสัมพันธ์ของข้อมูล
เสียหาย ดังนั้นจึงต้องเลือก การกระทาเพื่อไม่ให้ความสัมพันธ์ของข้อมูลสูญเสียไปดังนี้
กรณีการแก้ไขข้อมูล
1. ห้ามทาการแก้ไขข้อมูลในรีเลชันที่ถูกอ้างถึงนั้น เนื่องจากจะทาให้ข้อมูลใน
รีเลชันที่อ้างอิงมา ไม่สามารถอ้างอิงข้อมูลได้
2. อนุญาตให้ทาการแก้ไขข้อมูลในรีเลชันที่ถูกอ้างอิงถึงได้ แต่จะต้องตามไป
แก้ไขข้อมูล ในรีเลชันที่อ้างอิงมาให้ตรงกับข้อมูลที่แก้ไขใหม่ทั้งหมด
3. อนุญาตให้ทาการแก้ไขข้อมูลในรีเลชันที่ถูกอ้างอิงถึงได้ โดยการแก้ไข
ข้อมูลในรีเลชัน ที่อ้างอิงมาให้มีค่าเป็น ค่าว่าง
3.4. การจัดการกับข้อมูล (Data manipulation)

3.4. การจัดการกับข้อมูล (Data manipulation)
Dr. E.F. Codd ได้นาทฤษฎีของเซท ซึ่งเป็นทฤษฎีทางคณิตศาสตร์มาใช้ในการจัดการกับ ข้อมูลของฐานเชิงสัมพันธ์ ซึ่งมีอยู่
หลายการกระทาด้วยกัน ในบทนี้จะกล่าวโดยย่อๆ เท่านั้น เนื่องจากเป็นเนื้อหาทางทฤษฎี ซึ่งการนาไปใช้งานจริงนั้น จะพูด
ถึงในบทที่เกี่ยวกับคาสั่งที่ใช้ จัดการฐานข้อมูล ซึ่งเนื้อหาจะมีความใกล้เคียงกัน การกระทาเหล่านี้ได้แก่
3.4.1. Restrict
คาว่า Restrict เป็โอเปอเรเตอร์ทางคณิตศาสตร์ที่ใช้ในการเลือกข้อมูลจากรีเลชั่นหนึง ๆ ที่มีเงื่อนไขตรงตามที่ระบุไว้ กล่าว
่
อีกนัยหนึ่งคือ ใช้ในการแสดงข้อมูลของทูเพิลที่เป็นไปตามเงื่อนไขที่ระบุไว ้
รูปแบบ
COMPARISION ในที่นี้ หมายถึงเงื่อนไขของข้อมูลที่ต้องการเรียกดู ซึ่งจะระบุชื่อแอททริบิวต์ และค่าเฉพาะที่ต้องการดูขอมูล
้
โดยมีเครื่องหมายที่ประกอบการระบุเงื่อนไข เช่น = (เท่ากับ) < (น้อยกว่า) > (มากกว่า) <> (ไม่เท่ากับ) เป็นต้น ในกรณีที่มี
เงื่อนไขมากกว่าหนึงเงื่อนไขอาจใช้คาว่า OR (หรือ) AND (และ) ประกอบกันเป็นเงื่อนไขที่ต้องการได้
่
ตัวอย่าง จากตารางให้แสดงรายละเอียดของนักศึกษาที่อยู่ นครราชสีมา
การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2

More Related Content

What's hot

บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1nunzaza
 
แบบรูป ลักษณะคุณสมบัติและข้อดีของฐานข้อมูลเชิงวัตถุ
แบบรูป ลักษณะคุณสมบัติและข้อดีของฐานข้อมูลเชิงวัตถุแบบรูป ลักษณะคุณสมบัติและข้อดีของฐานข้อมูลเชิงวัตถุ
แบบรูป ลักษณะคุณสมบัติและข้อดีของฐานข้อมูลเชิงวัตถุAmIndy Thirawut
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6nunzaza
 
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลบทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลRungnapa Rungnapa
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลkruthanyaporn
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล Watuka Wannarun
 
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุลงานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุลchanoot29
 
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูลLecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูลskiats
 
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นการใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นtechno UCH
 
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูล
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูลแนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูล
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูลShengyou Lin
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลABELE Snvip
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลYongyut Nintakan
 

What's hot (18)

บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
แบบรูป ลักษณะคุณสมบัติและข้อดีของฐานข้อมูลเชิงวัตถุ
แบบรูป ลักษณะคุณสมบัติและข้อดีของฐานข้อมูลเชิงวัตถุแบบรูป ลักษณะคุณสมบัติและข้อดีของฐานข้อมูลเชิงวัตถุ
แบบรูป ลักษณะคุณสมบัติและข้อดีของฐานข้อมูลเชิงวัตถุ
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลบทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
 
Database
DatabaseDatabase
Database
 
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุลงานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูลLecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
 
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นการใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
 
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูล
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูลแนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูล
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูล
 
SA Chapter 6
SA Chapter 6SA Chapter 6
SA Chapter 6
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
แนวการสอบ ม.4
แนวการสอบ ม.4แนวการสอบ ม.4
แนวการสอบ ม.4
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
 

Viewers also liked

Technical analysis
Technical analysisTechnical analysis
Technical analysisypendharkar
 
מצגת תמא 37ח
מצגת תמא 37חמצגת תמא 37ח
מצגת תמא 37חzalulisrael
 
Strategic Conversation Description 52014 - ELS
Strategic Conversation Description 52014 - ELSStrategic Conversation Description 52014 - ELS
Strategic Conversation Description 52014 - ELSEd Hansen
 
портфоліо ткачук т.і.
портфоліо ткачук т.і.портфоліо ткачук т.і.
портфоліо ткачук т.і.Oksana Vyshnevetska
 
The role of financial ratio on disbrusment of loan to companies idbi.docx rep...
The role of financial ratio on disbrusment of loan to companies idbi.docx rep...The role of financial ratio on disbrusment of loan to companies idbi.docx rep...
The role of financial ratio on disbrusment of loan to companies idbi.docx rep...Bhoopendra Verma
 
Opowiedz swoją historię
Opowiedz swoją historięOpowiedz swoją historię
Opowiedz swoją historiębozkka
 
Putuo Study Tour - Shanghai
Putuo Study Tour - ShanghaiPutuo Study Tour - Shanghai
Putuo Study Tour - ShanghaiAnaïs Laurent
 
vipure catalog
vipure catalog vipure catalog
vipure catalog amitvipure
 
Photo Interview: A first time mom
Photo Interview: A first time momPhoto Interview: A first time mom
Photo Interview: A first time momCharlene Ellis
 
A patchwork of individual solutions (LOTE 5, 27 feb 2016)
A patchwork of individual solutions   (LOTE 5, 27 feb 2016)A patchwork of individual solutions   (LOTE 5, 27 feb 2016)
A patchwork of individual solutions (LOTE 5, 27 feb 2016)Mohamed Hegazy
 
Real Estate marketing approach
Real Estate marketing approachReal Estate marketing approach
Real Estate marketing approachPNV Gopalakrishnan
 
Open Education Week 2014 IPTS
Open Education Week 2014 IPTSOpen Education Week 2014 IPTS
Open Education Week 2014 IPTSiptsedu
 
портфоліо оксенюка в.і.
портфоліо оксенюка в.і.портфоліо оксенюка в.і.
портфоліо оксенюка в.і.Oksana Vyshnevetska
 
Livet på arbejdsmarkedet
Livet på arbejdsmarkedetLivet på arbejdsmarkedet
Livet på arbejdsmarkedetRune Grønkjær
 

Viewers also liked (20)

Technical analysis
Technical analysisTechnical analysis
Technical analysis
 
מצגת תמא 37ח
מצגת תמא 37חמצגת תמא 37ח
מצגת תמא 37ח
 
Strategic Conversation Description 52014 - ELS
Strategic Conversation Description 52014 - ELSStrategic Conversation Description 52014 - ELS
Strategic Conversation Description 52014 - ELS
 
Лит всё утеплит
Лит всё утеплитЛит всё утеплит
Лит всё утеплит
 
портфоліо ткачук т.і.
портфоліо ткачук т.і.портфоліо ткачук т.і.
портфоліо ткачук т.і.
 
Parto
PartoParto
Parto
 
The role of financial ratio on disbrusment of loan to companies idbi.docx rep...
The role of financial ratio on disbrusment of loan to companies idbi.docx rep...The role of financial ratio on disbrusment of loan to companies idbi.docx rep...
The role of financial ratio on disbrusment of loan to companies idbi.docx rep...
 
Fotografia
FotografiaFotografia
Fotografia
 
Opowiedz swoją historię
Opowiedz swoją historięOpowiedz swoją historię
Opowiedz swoją historię
 
Putuo Study Tour - Shanghai
Putuo Study Tour - ShanghaiPutuo Study Tour - Shanghai
Putuo Study Tour - Shanghai
 
vipure catalog
vipure catalog vipure catalog
vipure catalog
 
Photo Interview: A first time mom
Photo Interview: A first time momPhoto Interview: A first time mom
Photo Interview: A first time mom
 
Risk management
Risk managementRisk management
Risk management
 
A patchwork of individual solutions (LOTE 5, 27 feb 2016)
A patchwork of individual solutions   (LOTE 5, 27 feb 2016)A patchwork of individual solutions   (LOTE 5, 27 feb 2016)
A patchwork of individual solutions (LOTE 5, 27 feb 2016)
 
Real Estate marketing approach
Real Estate marketing approachReal Estate marketing approach
Real Estate marketing approach
 
Open Education Week 2014 IPTS
Open Education Week 2014 IPTSOpen Education Week 2014 IPTS
Open Education Week 2014 IPTS
 
Old show
Old showOld show
Old show
 
Time of the day
Time of the dayTime of the day
Time of the day
 
портфоліо оксенюка в.і.
портфоліо оксенюка в.і.портфоліо оксенюка в.і.
портфоліо оксенюка в.і.
 
Livet på arbejdsmarkedet
Livet på arbejdsmarkedetLivet på arbejdsmarkedet
Livet på arbejdsmarkedet
 

Similar to การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2

การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลYongyut Nintakan
 
งานกลุ่ม ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ม.2/4 เลขที่ 1-18-26-29-31-34-40
งานกลุ่ม ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ม.2/4 เลขที่ 1-18-26-29-31-34-40งานกลุ่ม ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ม.2/4 เลขที่ 1-18-26-29-31-34-40
งานกลุ่ม ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ม.2/4 เลขที่ 1-18-26-29-31-34-40KittinanSuksom2
 
งานกลุ่ม3ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
งานกลุ่ม3ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์งานกลุ่ม3ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
งานกลุ่ม3ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์Earn'kanittha Thunyadee
 
Database
DatabaseDatabase
Databasepaween
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศSrion Janeprapapong
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลOrapan Chamnan
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลchanoot29
 
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2Hitsuji12
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลchaiwat vichianchai
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22MyunDao
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22MyunDao
 
รูปแบบของระบบฐานข้อมูล
รูปแบบของระบบฐานข้อมูลรูปแบบของระบบฐานข้อมูล
รูปแบบของระบบฐานข้อมูลMareeyalosocity
 
รูปแบบของระบบฐานข้อมูล
รูปแบบของระบบฐานข้อมูลรูปแบบของระบบฐานข้อมูล
รูปแบบของระบบฐานข้อมูลMareeyalosocity
 
รูปแบบของระบบฐานข้อมูล
รูปแบบของระบบฐานข้อมูลรูปแบบของระบบฐานข้อมูล
รูปแบบของระบบฐานข้อมูลMareeyalosocity
 
รูปแบบของระบบฐานข้อมูล
รูปแบบของระบบฐานข้อมูลรูปแบบของระบบฐานข้อมูล
รูปแบบของระบบฐานข้อมูลMareeyalosocity
 
01 ฐานข้อมูลและคลังข้อมูล
01 ฐานข้อมูลและคลังข้อมูล01 ฐานข้อมูลและคลังข้อมูล
01 ฐานข้อมูลและคลังข้อมูลpop Jaturong
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Nattanan Rassameepak
 

Similar to การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2 (20)

การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
งานกลุ่ม ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ม.2/4 เลขที่ 1-18-26-29-31-34-40
งานกลุ่ม ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ม.2/4 เลขที่ 1-18-26-29-31-34-40งานกลุ่ม ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ม.2/4 เลขที่ 1-18-26-29-31-34-40
งานกลุ่ม ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ม.2/4 เลขที่ 1-18-26-29-31-34-40
 
งานกลุ่ม3ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
งานกลุ่ม3ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์งานกลุ่ม3ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
งานกลุ่ม3ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
Db1
Db1Db1
Db1
 
งานคอม#2
งานคอม#2งานคอม#2
งานคอม#2
 
Database
DatabaseDatabase
Database
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
 
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
รูปแบบของระบบฐานข้อมูล
รูปแบบของระบบฐานข้อมูลรูปแบบของระบบฐานข้อมูล
รูปแบบของระบบฐานข้อมูล
 
รูปแบบของระบบฐานข้อมูล
รูปแบบของระบบฐานข้อมูลรูปแบบของระบบฐานข้อมูล
รูปแบบของระบบฐานข้อมูล
 
รูปแบบของระบบฐานข้อมูล
รูปแบบของระบบฐานข้อมูลรูปแบบของระบบฐานข้อมูล
รูปแบบของระบบฐานข้อมูล
 
รูปแบบของระบบฐานข้อมูล
รูปแบบของระบบฐานข้อมูลรูปแบบของระบบฐานข้อมูล
รูปแบบของระบบฐานข้อมูล
 
01 ฐานข้อมูลและคลังข้อมูล
01 ฐานข้อมูลและคลังข้อมูล01 ฐานข้อมูลและคลังข้อมูล
01 ฐานข้อมูลและคลังข้อมูล
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 

การจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์2

  • 1.
  • 2. ด.ญ.ธนัชชา 2. ด.ญ.ธิญาดา 3. ด.ญ.นัชชา 4. ด.ญ.ปวีณา 5. ด.ญ.ลักษมณ 6. ด.ญ.สุณิสา 7. ด.ญ.สุพัตรา 1. ปานมา พูลสมบัติ ห้วยหงส์ทอง ทองนุ่ม เจนสุริยะกุล แสงดาว ดอกรัก ม.2/3 เลขที่ 11 ม.2/3 เลขที่ 14 ม.2/3 เลขที่ 15 ม.2/3 เลขที่ 18 ม.2/3 เลขที่ 22 ม.2/3 เลขที่ 24 ม.2/3 เลขที่ 25
  • 3. ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database) เป็นฐานข้อมูลที่ใช้โมเดลเชิง สัมพันธ์ (Relational Database Model) ซึ่งผู้คิดค้นโมเดลเชิงสัมพันธ์นี้คือ Dr. E.F. Codd โดย ใช้หลักพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ เนื่องด้วยแนวคิดของแบบจาลองแบบนี้มีลักษณะที่คนใช้กันทั่ว กล่าวคือมีการเก็บเป็นตาราง ทาให้ง่ายต่อการเข้าใจและการประยุกต์ใช้งาน ด้วยเหตุนี้ ระบบ ฐานข้อมูลแบบนี้จึงที่ได้รับความนิยมมากที่สุด ในแง่ของ entity แบบจาลองแบบนี้คือ แฟ้มข้อมูล ในรูปตาราง และ attribute ก็เปรียบเหมือนเขตข้อมูล ส่วนความสัมพันธ์คือความสัมพันธ์ ระหว่าง entity ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ คือ การเก็บข้อมูลในรูปของตาราง (Table) หลายๆตารางที่มี ความสัมพันธ์กัน ในแต่ละตารางแบ่งออกเป็นแถวๆ และในแต่ละแถวจะแบ่งเป็นคอลัมน์ (Column) ในทางทฤษฎีจะมีคาศัพท์เฉพาะแตกต่างออกไป เนื่องจากแบบจาลองแบบนี้เกิดจาก ทฤษฎีทางคณิตศาสตร์เรื่องเซ็ท (Set)
  • 4. โครงสร้างของข้อมูล (Data Structure) 2.1. Relation โครงสร้างของฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ จะอยู่ในลักษณะของตาราง 2 มิติ ประกอบด้วยทางด้านแถว และ คอลัมน์ ซึ่งจะเรียกว่า รีเลชัน (Relation) โดยทั่ว ๆ ไป Relation หนึ่ง ๆ จะมีคุณสมบัติต่าง ๆ ดังนี้ 1) ไม่มี Tuples คู่ใด ๆ เลยที่ซ้ากัน (No duplicate tuples) 2) ลาดับที่ของ Tuples ไม่มีความสาคัญ 3) ลาดับที่ของ Attributes ไม่มีความสาคัญ 4) ค่าของ Attribute จะเป็นค่าเดี่ยว ๆ (Atomic) นั่นคือ ค่าของข้อมูลที่ปรากฏอยู่ในตารางจะเป็นค่า ๆ เดียว เป็นลิสต์ของค่าหลาย ๆ ค่าไม่ได้ ซึ่ง Relation ที่มีคุณสมบัติข้อนี้จะถูกเรียกว่าเป็น Relation ที่ อยู่ในรูปแบบ Normal form 5) ค่าของข้อมูลในแต่ละ Attribute จะบรรจุค่าของข้อมูลประเภทเดียวกัน
  • 5. ชนิดของ Relations ในระบบจัดการฐานข้อมูลทั่ว ๆ ไป Relation อาจจาแนกออกได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้คือ 1) Relation หลัก (Base Relation) เป็น Relation ที่ถูกกาหนดขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลและเพื่อนาข้อมูลไปใช้เมื่อมีการสร้าง Relation โดยใช้ Data Definition Language เช่น ใน SQL คาสั่ง CREATE TABLE เป็นการสร้าง Relation หลัก หลังจากนั้นก็จะทา การเก็บข้อมูลเพื่อการเรียกใช้ข้อมูลในภายหลัง Relation หลักจะเป็นตารางที่จัดเก็บข้อมูลจริงไว้ 2) วิว (View) หรืออาจเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า Relation สมมุติ (Virtual Relation) เป็น Relation ที่ถูกสร้างขึ้นตามความต้องการใช้ข้อมูลของผู้ใช้แต่ละคน เนื่องจาก ผู้ใช้แต่ละคนอาจต้องการใช้ ข้อมูลในลักษณะที่แตกต่างกัน จึงทาการกาหนดวิวของตัวเองขึ้นมาจาก Relation หลัก เพื่อความสะดวกในการ ใช้ข้อมูล และช่วยให้การรักษาความปลอดภัยของฐานข้อมูลทาได้ง่ายขึ้น Relation ที่ถูกสมมติขึ้นมานี้จะไม่มี การเก็บข้อมูลจริง ๆ ในระบบฐานข้อมูล ลักษณะของรีเลชั่นแสดงดังรูปที่ 3.3
  • 6. กฎที่เกี่ยวข้องกับการรักษาความถูกต้อง กฎที่ใช้สาหรับรักษาความถูกต้องของข้อมูล แบ่งออกเป็น 2 กฎคือ กฎที่เกี่ยวข้องกับเอนทิตี้ และกฎที่เกี่ยวข้องกับการ เชื่อมโยงความสัมพันธ์ของเอนทิตี้ ) 1. กฎความบูรณภาพของเอนทิตี้ (Entity Integrity Rule) กฎความบูรณภาพของเอนทิตี้ เป็นกฎที่ใช้กาหนดเพื่อให้ข้อมูลของเอนทิตี้ มีความถูกต้อง ซึ่งกล่าวไว้ว่า "แอตทริบิวส์ที่ทา หน้าที่เป็นคีย์หลักของรีเลชัน ไมสามารถมีค่าเป็นค่าว่างได้ (Null Value)" และจะต้องมีคุณสมบัติที่เป็นเอกลักษณ์ (Identity) คือสามารถระบุข้อมูลแอตทริบิวส์อื่นๆ ที่อยู่ในทูเพิลเดียวกันได้ 2. กฎความบูรณภาพของการอ้างอิง (Referential Integrity Rule) กฎความบูรณภาพของการอ้างอิง คือกฎที่ใช้รักษาความถูกต้องของข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กันของเอนทิตี้ ซึ่งได้กล่าวไว้ว่า "ค่าของคีย์นอกในรีเลชัน จะต้องมข้อมูลอยู่ในอีก รีเลชันหนึ่ง ที่คีย์นอกของรีเลชันนั้นอ้างอิงถึง" ในบางกรณีคีย์นอกอาจเป็นค่าว่างได้ ถ้านโยบายขององค์กร อนุญาตให้ค่าคีย์นอกเป็น ค่าว่างได้ กรณีหากมีการลบ หรือ แก้ไขข้อมูล ในรีเลชันที่ถูกอ้างอิงถึง ซึ่งจะทาให้สูญเสียความบูรณภาพของข้อมูล ดังตัวอย่างรูปที่ 3.6 หากมีการแก้ไขหรือ ลบข้อมูลของรีเลชัน Major ในแอตทริบิวส์ Major ซึ่งมีความสัมพันธอยู่กับรีเลชัน Student จะทาให้ความสัมพันธ์ของข้อมูล เสียหาย ดังนั้นจึงต้องเลือก การกระทาเพื่อไม่ให้ความสัมพันธ์ของข้อมูลสูญเสียไปดังนี้
  • 7. กรณีการแก้ไขข้อมูล 1. ห้ามทาการแก้ไขข้อมูลในรีเลชันที่ถูกอ้างถึงนั้น เนื่องจากจะทาให้ข้อมูลใน รีเลชันที่อ้างอิงมา ไม่สามารถอ้างอิงข้อมูลได้ 2. อนุญาตให้ทาการแก้ไขข้อมูลในรีเลชันที่ถูกอ้างอิงถึงได้ แต่จะต้องตามไป แก้ไขข้อมูล ในรีเลชันที่อ้างอิงมาให้ตรงกับข้อมูลที่แก้ไขใหม่ทั้งหมด 3. อนุญาตให้ทาการแก้ไขข้อมูลในรีเลชันที่ถูกอ้างอิงถึงได้ โดยการแก้ไข ข้อมูลในรีเลชัน ที่อ้างอิงมาให้มีค่าเป็น ค่าว่าง
  • 8. 3.4. การจัดการกับข้อมูล (Data manipulation) 3.4. การจัดการกับข้อมูล (Data manipulation) Dr. E.F. Codd ได้นาทฤษฎีของเซท ซึ่งเป็นทฤษฎีทางคณิตศาสตร์มาใช้ในการจัดการกับ ข้อมูลของฐานเชิงสัมพันธ์ ซึ่งมีอยู่ หลายการกระทาด้วยกัน ในบทนี้จะกล่าวโดยย่อๆ เท่านั้น เนื่องจากเป็นเนื้อหาทางทฤษฎี ซึ่งการนาไปใช้งานจริงนั้น จะพูด ถึงในบทที่เกี่ยวกับคาสั่งที่ใช้ จัดการฐานข้อมูล ซึ่งเนื้อหาจะมีความใกล้เคียงกัน การกระทาเหล่านี้ได้แก่ 3.4.1. Restrict คาว่า Restrict เป็โอเปอเรเตอร์ทางคณิตศาสตร์ที่ใช้ในการเลือกข้อมูลจากรีเลชั่นหนึง ๆ ที่มีเงื่อนไขตรงตามที่ระบุไว้ กล่าว ่ อีกนัยหนึ่งคือ ใช้ในการแสดงข้อมูลของทูเพิลที่เป็นไปตามเงื่อนไขที่ระบุไว ้ รูปแบบ COMPARISION ในที่นี้ หมายถึงเงื่อนไขของข้อมูลที่ต้องการเรียกดู ซึ่งจะระบุชื่อแอททริบิวต์ และค่าเฉพาะที่ต้องการดูขอมูล ้ โดยมีเครื่องหมายที่ประกอบการระบุเงื่อนไข เช่น = (เท่ากับ) < (น้อยกว่า) > (มากกว่า) <> (ไม่เท่ากับ) เป็นต้น ในกรณีที่มี เงื่อนไขมากกว่าหนึงเงื่อนไขอาจใช้คาว่า OR (หรือ) AND (และ) ประกอบกันเป็นเงื่อนไขที่ต้องการได้ ่ ตัวอย่าง จากตารางให้แสดงรายละเอียดของนักศึกษาที่อยู่ นครราชสีมา