SlideShare a Scribd company logo
1 of 31
ขั้นตอนการแก้ปัญหา
การถ่ายทอดความคิดใน
     การแก้ไขปัญหา
ความหมาย
กระบวนการเทคโนโลยี (Technological
Process) 
       คือ  ขั้นตอนการแก้ปัญหาหรือตอบสนองต่อ
ความต้องการซึ่งจะก่อให้เกิดการเปลียนแปลงจาก
                                  ่
ทรัพยากรให้เป็นผลผลิตหรือผลลัพธ์ระบบ
เทคโนโลยีโดยก่อให้เกิดประโยชน์ใช้สอย ตามที่
มนุษย์ต้องการและเปลี่ยนแปลงการเพิ่ม
ประสิทธิภาพในการทำากิจกรรมต่างๆของ
มนุษย์  เพราะมนุษย์มีความต้องการในการสร้าง
สิ่งอำานวยความสะดวกต่างๆในการดำารงชีวิต  
ขั้นตอนการแก้ไข
              ปัญหา
วิธีการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ มีขั้นตอน 
                 คือ
  ขั้นตอนที 1  วิเคราะห์ปัญหาและ
            ่
   กำาหนดรายละเอียดของ                
   ปัญหา
  ขั้นตอนที 2  วางแผนในการแก้ปัญหา
              ่
  ขั้นตอนที 3  ดำาเนินการแก้ปัญหา
                ่
  ขั้นตอนที 4  การตรวจสอบและ
                  ่
   ปรับปรุง
ขั้นตอนที่ 1 วิเคราะห์ปัญหาและกำาหนด
            รายละเอียดของปัญหา
        จุดประสงค์ของขั้นตอนนี้ คือการทำาความ
เข้าใจกับปัญหาเพื่อแยกให้ออกว่าข้อมูลทีกำาหนด่
มาในปัญหาหรือเงือนไขของปัญหาคืออะไร และ
                       ่
สิ่งที่ต้องการคืออะไร อีกทั้งวิธีการที่ใช้ประมวลผล 
ในการวิเคราะห์ปญหาใด กล่าวโดยสรุปมีองค์
                     ั
ประกอบในการวิเคราะห์ ดังนี้
      1. การระบุขอมูลเข้า  ได้แก่ การพิจารณา
                 ้
ข้อมูลและเงื่อนไขที่กำาหนดมาในปัญหา
      2. การระบุขอมูลออก ได้แก่ การพิจารณาเป้า
                   ้
หมายหรือสิ่งที่ต้องหาคำาตอบ
      3. การกำาหนดวิธีประมวลผล  ได้แก่ การ
ขั้นตอนที 2 วางแผนในการแก้
            ่
               ปัญหา
       ขั้นตอนนี้จำาเป็นต้องอาศัยประสบการณ์ของผู้
แก้ปัญหาเป็นหลัก  ขันตอนนี้จะเริ่มจากการเลือก
                         ้
เครื่องมือที่ใช้ในการแก้ปัญหา โดยพิจารณาความ
เหมาะสมระหว่างเครืองมือกับเงือนไขต่างๆ ของ
                       ่          ่
ปัญหาซึ่งหมายรวมถึงความสามารถของเครื่องมือ
ในการแก้ปัญหาดังกล่าว และสิ่งที่สำาคัญคือความ
คุ้นเคยในการใช้งานเครืองมือนันๆ ของผู้แก้ปัญหา
                           ่    ้
ขั้นตอนที 3 ดำาเนินการแก้
         ่
           ปัญหา
      ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนที่ต้องลงมือแก้ปญหา
                                             ั
โดยใช้เครืองมือทีได้เลือกไว้ขนตอนนี้กเป็นการใช้
           ่        ่            ั้      ็
โปรแกรมสำาเร็จหรือใช้ภาษาคอมพิวเตอร์เขียน
โปรแกรมแก้ปญหา ขันตอนนี้ต้องอาศัยความรูเกี่ยว
              ั           ้                    ้
กับเครืองมือที่เลือกใช้ซึ่งผู้แก้ปัญหาต้องศึกษาให้
       ่
เข้าใจและเชี่ยวชาญ ในขณะที่ดำาเนินการหากพบ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการสารสนเทศ
แนวทางที่ดีกว่าทีปอกแบบไว้ก็สิทยาศาสตร์ ่ยน
      หลักการแก้่อญหาตามวิธวามารถปรับเปลี
                      ั             ี
ได้ หลักการแก้ปญหาตามวิธการทางวิศวกรรม  
                        ั             ี
      วิธีการแก้ปญหาแบบสร้างสรรค์ 
                  ั
ขั้นตอนที่ 4 การตรวจสอบและ
             ปรับปรุง
      หลังจากที่ลงมือแก้ปญหาแล้ว ต้องตรวจสอบ
                            ั
ให้แน่ใจว่าวิธีการนี้ให้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง โดยผู้แก้
ปัญหาต้องตรวจสอบว่าขันตอนวิธที่สร้างขึน
                          ้          ี      ้
สอดคล้องกับรายละเอียดของปัญหา ซึ่งได้แก่ 
ข้อมูลเข้า และข้อมูลออก เพื่อให้มั่นใจว่าสามารถ
         การตรวจ
รองรับข้อมูลเข้าได้ในทุกกรณีอย่างถูกต้องและ
          สอบและ                  การตรวจ
สมบูรณ์ แบ่งได้เป็น 2 ขั้นตอน ได้แก่
          ปรับปรุง              สอบโดยผู้
           โดยผู้               ใช้งานจริง
         ออกแบบ
การตรวจ
 สอบและ         การตรวจ
 ปรับปรุง      สอบโดยผู้
  โดยผู้       ใช้งานจริง
 ออกแบบ
                ตรวจสอบ
 ควรกระทำา
               ภายหลังการ
 ระหว่างการ
                ดำาเนินงาน
 ดำาเนินงาน
               เสร็จสิ้นแล้ว 
และภายหลัง
                โดยจัดเก็บ
 การดำาเนิน
               ข้อมูลจากผู้
งานเสร็จสิ้น
                  ใช้งาน
     แล้ว
                 โดยตรง
การถ่ายทอดความคิดในการ
    แก้ไขปัญหาด้วยอัลกอริทึม 
           [ Algorithm ]
       อัลกอริทึม (Algorithm) คือ กระบวนการ 
การทำางานที่ใช้การตัดสินใจ โดยนำาหลักเหตุผล
และคณิตศาสตร์มาช่วยเลือกวิธีการหรือขันตอน ้
การดำาเนินงานต่อไป จนกระทั่งถึงขั้นตอนสุดท้าย 
เป็นวิธีการที่ใช้แยกย่อยและเรียงลำาดับขั้นตอน
ของกระบวนการในการทำางานต่างๆ เพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพในการค้นหาและแก้ไขปัญหา
อัลกอริทึมที่ดจะต้องได้ผลลัพธ์ตรงกับ
                  ี
ความต้องการเสมอ ควรมีลักษณะดังนี้

 มีความถูกต้อง          เข้าใจได้ง่ายและ
    แม่นยำา                  ชัดเจน


            มีขนตอนหลักและ
               ั้
               ขั้นตอนย่อย
เครื่องมือที่ใช้ในการจำาลองความคิดมักจะ
ประกอบขึ้นด้วยเครืองหมายที่แตกต่างกันหลาย
                      ่
อย่าง แต่พอสรุปได้เป็น  2  ลักษณะ คือ
1. การจำาลองความคิดเป็นข้อความหรือคำา
บรรยาย  (Algorithm) เป็นการเขียนเค้าโครงด้วย
การบรรยายเป็นภาษาที่มนุษย์ใช้สื่อสารกัน เพื่อให้
ทราบถึงขันตอนการทำาดเป็นสัญลักษณ์หรือผัง
2. การจำา   ้ ลองความคิ งานของการแก้ปญหา
                                       ั
แต่ละตอน ในบางครั้งอาจใช้คำาสั่งของภาษาที่ใช้
งาน  (Flowchart)
เขียนโปรแกรมก็คืด้  เครืองหมายรูปแบบต่างๆ ซึ่ง
      สัญลักษณ์   ไอ      ่
ใช้สำาหรับสื่อสารความหมายให้เข้าใจตรงกัน 
สถาบันมาตรฐานแห่งชาติอเมริกา ได้กำาหนด
สัญลักษณ์ไว้เป็นมาตรฐานแล้ว สามารถนำาไป
การเขียนรหัส
         จำาลอง
       รหัสลำาลองหรือ pseudocode เป็นคำาบรรยาย
ที่เขียนแสดงขั้นตอนวิธี(algorithm) ของการเขียน
โปรแกรม โดยใช้ภาษาที่กะทัดรัด สื่อสารกับ
โปรแกรมเมอร์ผู้เขียนโปรแกรม โดยอาจใช้ภาษา
ที่ใช้ทั่วไปและอาจมีภาษาทีใช้ในการเขียน
                            ่
โปรแกรมประกอบ แต่ไม่มีมาตรฐานแน่นอนในการ
เขียน pseudocode  และไม่สามารถนำาไปทำางาน
บนคอมพิวเตอร์โดยตรง(เพราะไม่ใช่คำาสั่งในภาษา
คอมพิวเตอร์) และไม่ขนกับภาษาคอมพิวเตอร์
                      ึ้
ภาษาใดภาษาหนึง นิยมใช้ pseudocode แสดง 
                 ่
algorithm มากกว่าใช้ผังงาน เพราะผังงานอาจไม่
มักจะประกอบด้วยคำาสั่งต่างๆที่ใกล้เคียงกับ
ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมจริงๆ 
เช่น begin…end, if…else, do…while, while, foe, 
read และ print การเขียนรหัสจำาลองจะต้องมีการ
วางแผนสำาหรับการอ้างอิงถึงข้อมูลต่างๆที่จะใช้
ในโปรแกรมด้วยการสร้างตัวแปร โดยใช้
เครื่องหมายเท่ากับ (=) แทนการกำาหนดค่าให้
การเขียนผังงาน
กำาหนดตัวแปรนั้นๆ
       ผังงาน (flowchart) คือ แผนภาพซึ่งแสดง
ลำาดับขั้นตอนของการทำางาน โดยแต่ละขั้นตอน
จะถูกแสดงโดยใช้สัญลักษณ์ซึ่งมีความหมายบ่ง
บอกว่า ขั้นตอนนั้น ๆ มีลักษณะการทำางาน ทำาให้
ง่ายต่อความเข้าใจ ว่าในการทำางานนั้นมีขั้นตอน
ประเภทของผังงาน
1. ผังงานระบบ (system flowchart) 
เป็นผังซึ่งแสดงขอบเขต และลำาดับขันตอนการ
                                   ้
ทำางานของระบบหนึง ๆ่
2. ผังงานโปรแกรม (Program flowchart) 
เป็นผังงานซึ่งแสดงลำาดับขั้นตอนการทำางานของ
การใช้สัญลั่ กษณ์
โปรแกรมหนึง ๆ
       จะใช้สัญลักษณ์ที่เป็นรูปภาพแทนคำาสั่งการ
ทำางานโดยจะไม่ใช้คำาอธิบายลักษณะการทำางาน 
มีลูกศรแสดงทิศทางการไหลของข้อมูลตั้งแต่เริ่ม
ต้นไปสิ้นสุดโปรแกรม
ตัวอย่างสัญลักษณ์
            สัญลักษณ์      ความหมาย
                          เริ่มต้น/สิ้นสุด

                        รับข้อมูลเข้า/แสดง
                                  ผล
                          รับข้อมูลเข้าจาก
                                มนุษย์
                          แสดงผลลัพธ์บน
                             กระดานด้วย
                             เครื่องพิมพ์
                           การประมวลผล
สัญลักษณ์       ความหมาย
            จุดต่อเนื่องภายใน
            หน้าเดียวกันของผัง
             จุดต่องานงที่อยู่
                    เนื่อ
             คนละหน้าของผัง
             ลูกงานเดียวกัาดับ
                ศรแสดงลำ น
                 การทำางาน
โครงสร้างการเขียนผังงาน 
       เป็นรูปแบบพื้นฐานของการเขียนผังงาน 
เนื่องจากเขียนได้ง่ายและนำาไปใช้งานมากี่สุด 
     1.โครงสร้างแบบเป็น
 ลำาดับ (Sequence 
 Structure)
     โครงสร้างลักษณะนี้
 เป็นโครงสร้างพื้นฐานของ
 ผังงาน และเป็นลักษณะ
 ขั้นตอนการทำางานที่พบ
 มากที่สุด คือทำางานทีละ
 ขั้นตอนลำาดับ
2.โครงสร้างแบบมีตัวเลือก 
(Selection Structure)
โครงสร้างการทำางานแบบมี
การเลือกมีรูปแบบที่ซับซ้อน
กว่าโครงสร้างแบบเป็นลำาดับ
รูปแบบที่ง่ายที่สุดของ
โครงสร้างแบบนี้คือ การเลือก
แบบมีทางออก 2 ทาง ในการ
เลือกแบบมีทางออก 2 ทาง นี้
จะมีทางออกจากสัญลักษณ์
การตัดสินใจเพียง 2 ทาง คือ 
ใช่หรือไม่ใช่ เท่านั้น (แต่
ระบบการเขียนผังงานระบบ 
อนุญาตให้มีทางออกจากการ
ตัดสินใจได้มากกว่า 2 ทาง)
3.โครงสร้างแบบทำาซำ้า (Iteration Structure) 
      โครงสร้างการทำางานแบบทำาซำ้า จะทำางาน
แบบเดียวกันซำ้าไปเรือย ๆ ในขณะที่ยังเป็นไปตาม
                     ่
เงือนไขหรือเงื่อนไขเป็นจริง จนกระทั้งเงื่อนไขเป็น
   ่
เท็จจึงทำางานอื่นต่อไป
ประโยชน์ของผังงาน
•ช่วยให้สามารถทำาความเข้าใจลำาดับขันตอนการ
                                   ้
ทำางานของโปรแกรมหรือระบบใด ๆได้อย่าง
รวดเร็ว
•ช่วยแสดงลำาดับขันตอนการทำางาน ทำาให้สามารถ
                   ้
เขียนโปรแกรมได้อย่างเป็นระบบไม่สับสน 
นอกจากนี้ผงงานยังเป็นอิสระต่อภาษาที่ใช้ในการ 
              ั
เขียนโปรแกรม กล่าวคือจากผังงานเดียวกัน
สามารถนำาไปเขียนโปรแกรมด้วยภาษาใดก็ได้
•ช่วยในการตรวจสอบ และแก้ไขโปรแกรมได้งาย   ่
เมื่อเกิดข้อผิดพลาด ช่วยให้การดัดแปลง แก้ไข 
ทำาได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว 
•ช่วยให้ผู้อื่นสามารถศึกษาการทำางานของ
การเขียน
     โปรแกรม
        ผังงานโปรแกรมสามารถนำามาใช้เขียน
โปรแกรม โดยในการเขียนโปรแกรมสามารถเลือก
ใช้ภาษาได้หลายภาษา ไม่ว่าจะเป็นภาษาแอส
เซมบลี ภาษาเบสิก ภาษาซี ภาษาปาสคาล ภาษา
โคบอล ภาษาฟอร์แทรน หรือภาษาอื่น ๆ ซึ่งแต่ละ
ภาษาก็มีรูปแบบไวยากรณ์ของภาษาที่ใช้แตกต่าง
กันออกไป แต่โดยทั่วไปแล้วจะมีรปแบบหรือ
                                 ู
โครงสร้างของคำาสั่งที่คล้ายกัน โดยทั่วไปทุกคำา
สั่งจะมีคำาสั่งพื้นฐานต่อไปนี้
•คำาสั่งการรับข้อมูลเข้า และการแสดงผล
•คำาสั่งการกำาหนดค่า
คำาถาม
1.กระบวนการเทคโนโลยี
สารสนเทศหมายถึงอะไร
ก.การทำางานตามขั้นตอนที่กำาหนด 
ข.ขั้นตอนการแก้ปัญหาหรือตอบ
สนองต่อความต้องการ
ค.กระบวนการจัดวยกระบวนการ
2.การแก้ปัญหาด้ การกับข้อมูล
ข่าวสาร สารสนเทศมีกี่ขั้นตอน
เทคโนโลยี
ง.การจัดการแบบลำ้ายุค
ก.3        ข.4           ค.5
          ง.6
3.การวิเคราะห์ปัญหาและกำาหนด
รายละเอียดของปัญหามีองค์
ประกอบดังต่อไปนี้ ยกเว้นข้อใด 
ก.การกำาหนดวิธีประมวลผล  ข.การ
ระบุข้อมูลออก  
ค.การระบุข้อมูลเข้า   และเงื่อนไขที่
4.การพิจารณาข้อมูล     ง.การ
วิเาหนดมาในปัญหา อยูในองค์
กำ คราะห์ข้อมูล        ่
ประกอบใดของการวิเคราะห์ข้อมูล
ก.การระบุข้อมูลเข้า        ข.การ
ระบุข้อมูลออก
ค.การกำาหนดวิธีประมวลผล
ง.ก และ ข ถูกต้อง 
5. ข้อใดไม่ใช่โครงสร้างการเขียน
ผังงาน
ก.โครงสร้างแบบลำาดับ        ข.
โครงสร้างแบบทางเลือก
ค.โครงสร้างแบบซำงมีผลลัพง.ที่ดี
6.อัลกอริทึมที่ดีต้อ ้าซ้อน ธ์
โครงสร้างแบบทำาซำ้านข้อใด
ควรมีคุณสมบัติยกเว้
ก.ความแม่นยำาถูกต้อง
ข.มีขั้นตอนหลักและขั้นตอนย่อย
ค.เข้าใจง่ายและชัดเจน
ง.มีขั้นตอนที่ผลลัพธ์ออกมาหลาย
คำาตอบไม่ใช่คำาตอบเหมือนเดิมทุก
ครั้ง
7.สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผัง
งาน มีไว้เพื่ออะไร
ก.แสดงขั้นตอนการทำางาน  ข.ความ
สวยงาม
ค.การจัดการข้อมูล ง.ลำาดับาง
8.การเขียนโปรแกรม โครงสร้
ข้อมูลาสั่งที่คล้ายกัน โดยทั่วไปทุก
ของคำ
คำาสั่งจะมีคำาสั่งพื้นฐานต่อไปนี้
ยกเว้นข้อใด
ก.คำาสั่งการรับข้อมูลเข้า และการ
แสดงผล
ข.คำาสั่งการทำาซำ้าหรือการวนลูป
ค.คำาสั่งการเปรียบเทียบเงื่อนไข
9.การตรวจสอบและปรับปรุงโดยผู้
ออกแบบควรดำาเนินงานเวลาใด
ก.หลังการดำาเนินงานเสร็จสิ้นแล้ว
ข.ควรกระทำาระหว่างการดำาเนินงาน
และภายหลังการดำาเนินงานเสร็จสิ้น
แล้ว
ค.ระหว่างการดำาเนินงาน
ง.ไม่มีข้อใดถูกต้อง างแบบลำาดับ
10.การเขียนโครงสร้
ควรมีวิธีการเขียนอย่างไร
ก.เขียนเป็นลำาดับขั้นจากบนลงล่าง 
หรือ ซ้ายไปขวาเท่านั้น
ข.เขียนเป็นลำาดับขั้นตอน จากขวา
ไปซ้ายเท่านั้น
เฉลยคำาตอบ
 ข้อ   คำาตอบ
 1.      ข
 2.      ข
 3.      ง
 4.      ก
 5.      ค
 6.      ง
 7.      ก
 8.      ง
 9.      ข
 10.     ก
แหล่งอ้างอิง
หลักการแก้ปัญหา.สืบค้นเมื่อ 17 มิถนายน 2555 จาก 
                                   ุ
http://www.ns.ac.th/course/webit/lesson7/pg7_1.htm
 
โรงเรียนเชียงคำาวิทยาคม อำาเภอเชียงคำา จังหวัดพะเยา. 
การจำาลองความคิดเป็นสัญลักษณ์หรือผังงาน 
(Flowchart). สืบค้นเมื่อ 17 มิถนายน 2555 จาก
                               ุ
http://www.krunee.com/E_learning/content422.html    
                   
หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการทาง
เทคโนโลยีสารสนเทศ . สืบค้นเมื่อ 17 มิถนายน 2555 
                                        ุ
           จาก 
http://www.smartdrae.com/resourcers/centers/flowcharts/
การเขียนผังงาน. สืบค้นเมื่อ 17 มิถนายน 2555 จาก 
                                  ุ
http://www.bcoms.net/system_lesson63.asp
รหัสจำาลอง. สืบค้นเมื่อ 17 มิถนายน 2555 จาก 
                              ุ
www.pkc.ac.th/.../12%20content9%20%20Pseudocod
e.doc
ครูเดช.กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ. สืบค้นเมื่อ 
17 มิถนายน 2555 จาก
      ุ
        http://kroodechathon.wordpress.com
จัดทำาโดย
         นางสาว ชุติมณฑน์ เอี่ยมศรีทรัพย์ เลข
ที่ 16
         นางสาว ธิพรัตน์ เนื่องภิรมย์    เลข
ที่ 17
         นางสาว แพรพลอย พรหมชนะ          เลข
ที่ 18
         นางสาว ภาสวัณ คูหา              เลข
ที่ 19
         นาวสาว วรรณนิลา ชนะใจวัฒนา
         เลขที่ 20

More Related Content

What's hot

ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2Orapan Chamnan
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2pianojrtk
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2pianojrtk
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2Orapan Chamnan
 
งานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอมงานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอมEdz Chatchawan
 
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาคีตะบลู รักคำภีร์
 
Problem solution
Problem solutionProblem solution
Problem solutionaumaiaiai
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศณัฐพล บัวพันธ์
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2Ja Phenpitcha
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศณัฐพล บัวพันธ์
 
การรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการการรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการskiats
 
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)tumetr
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1Orapan Chamnan
 
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศThitikorn Prakrongyad
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศOrapan Chamnan
 
สัญลักษณ์ผังงาน
สัญลักษณ์ผังงานสัญลักษณ์ผังงาน
สัญลักษณ์ผังงานPannathat Champakul
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 ผังงาน
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 ผังงานแบบทดสอบหน่วยที่ 1 ผังงาน
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 ผังงานAmonrat Tabklang
 
หลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรม
หลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรมหลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรม
หลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรมNunnaphat Chadajit
 

What's hot (20)

ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2
 
งานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอมงานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอม
 
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
 
Problem solution
Problem solutionProblem solution
Problem solution
 
Problem solution
Problem solutionProblem solution
Problem solution
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการการรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการ
 
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1
 
Sallai pro
Sallai proSallai pro
Sallai pro
 
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
สัญลักษณ์ผังงาน
สัญลักษณ์ผังงานสัญลักษณ์ผังงาน
สัญลักษณ์ผังงาน
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 ผังงาน
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 ผังงานแบบทดสอบหน่วยที่ 1 ผังงาน
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 ผังงาน
 
หลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรม
หลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรมหลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรม
หลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรม
 

Similar to งานนำเสนอ1 คอม

ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศPaweena Kittitongchaikul
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศPaweena Kittitongchaikul
 
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]Paweena Kittitongchaikul
 
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]Paweena Kittitongchaikul
 
Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007
Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007
Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007MMp'New Aukkaradet
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศKru.Mam Charoensansuay
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2Orapan Chamnan
 
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศB'Benz Sunisa
 

Similar to งานนำเสนอ1 คอม (20)

ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรมใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
 
1
11
1
 
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
 
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
 
Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007
Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007
Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007
 
Project Sky
Project SkyProject Sky
Project Sky
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบงาน 2-8
ใบงาน 2-8ใบงาน 2-8
ใบงาน 2-8
 
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
 
คอมทรงสัก1
คอมทรงสัก1คอมทรงสัก1
คอมทรงสัก1
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2
 
Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2
 
Lesson 4 (misson)
Lesson 4 (misson)Lesson 4 (misson)
Lesson 4 (misson)
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2
 
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
08
0808
08
 

งานนำเสนอ1 คอม