SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6
ปีการศึกษา 2561
ชื่อโครงงาน ปัญหาความเครียด
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นางสาวพรสุดา ทองแสน เลขที่ 21 ชั้น ม.6 ห้อง 6
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
นางสาวพรสุดา ทองแสน เลขที่ 21
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ชี้จุด!! ความเครียด
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Stressed out
ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวพรสุดา ทองแสน
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1 การศึกษาปีที่ 2561
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
เนื่องจากในสังคมปัจจุบันปัญหาความเครียดนั้นเกิดกับคนทุกประเภททุกวัย ไม่ว่าจะเด็กหรือผู้ใหญ่หรือ
ผู้สูงอายุ ปัญหาความเครียดเป็นปัญหาในโลกปัจจุบันเป็นอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นปัญหาความเครียดจากที่ทางานหรือ
ที่เรียนหรือที่บ้านหรือจากตัวเองหรือจากที่อื่นๆ ทาให้ปัญหาความเครียดเหล่านี้เกิดการสะสมความเครียด การไม่รู้จัก
แก้ปัญหาความเครียดนั้น การที่พาตัวเองไปหมกมุ่นอยู่กับเรื่องที่ตัวเองเครียด ทาให้เกิดอาการต่างๆและโรคที่ตามมา
จากปัญหาความเครียด ซึ่งหากไม่ได้แก้ปัญหาความเครียดนั้นจะเป็นอันตรายต่อตัวเองและคนรอบข้าง จึงควรที่จะ
ได้รับการแก้ปัญหาหรือเข้าพบแพทย์ เพื่อรู้สาเหตุของปัญหาความเครียด จะได้แก้ปัญหาความเครียดได้ถูกจุด หากใน
อนาคตปัญหาความเครียดยังเพิ่มมากขึ้น ซึ่งจะมีความเสี่ยงอย่างมากที่ทาให้โลกเกิดปัญหาอื่นๆตามมาอีกได้ ควรรีบ
แก้ปัญหาความเครียดให้ถูกจุดที่สุดซึ่งจะได้ไม่เกิดปัญหาในอนาคตซึ่งอาจจะตามมาได้ ดังนั้นเหตุผลของการเลือกทา
โครงงานนี้ก็คือ สาเหตุของโรคเครียดมาจากเหตุใดบ้างและการรักษาได้โดยวิธีการใดบ้างที่ไม่กระทบต่อตัวเองและคน
รอบข้าง และแก้ไข้ปัญหาความเครียดได้ถูกจุด
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อศึกษาสาเหตุของความเครียด
2. เรียนรู้การรักษาโรคเครียด
3. ศึกษาแก้ปัญหาความเครียด
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
1. ความเครียดของคนทั่วไปและวัยรุ่น
3
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
แนวคิดเกี่ยวกับความเครียด ได้มีนักวิชาการได้เสนอแนวคิดดังนี้
Girdano และคณะ (1993 อ้างถึงใน สีจันทร์ ใจป้อ, 2544: 10) ได้เสนอแนวคิดที่เกี่ยวกับความเครียดไว้ว่า
ความเครียดเป็นการตอบสนองของร่างกาย ที่มีความเกี่ยวข้องกับตัวกระตุ้นให้เกิดความเครียด
Selye (1974 อ้างถึงใน ประณิตา ประสงค์จรรยา, 2542: 34) ได้กล่าวถึงทฤษฎีความเครียดของ selye
(Selye’Stress Theory) ว่า เมื่อร่างกายถูกสิ่งที่มาคุกคาม(Stressor) จะทาให้เกิดความเครียด ซึ่งอาจเป็นสิ่งที่ดีและ
ไม่ดี จะทาให้ความสมดุลของร่างกายเปลี่ยนแปลงไป และจะเกิดการตอบสนองของบุคคลต่อตัวกระตุ้น (Stressor)
ซึ่งการตอบสนองนั้นจะแสดงออกไปในลักษณะของกลุ่มอาการที่ไม่เฉพาะเจาะจง (Nonspecific) ที่เรียกว่า กลุ่ม
อาการปรับตัวโดยทั่วไป (GAS : General Adaptation Syndrome) ซึ่งกลุ่มอาการนี้เกิดขึ้นเป็น 3 ระยะ คือ
1. ระยะเตือน (Alarm Reaction) เป็นปฏิกิริยาตอบสนองของบุคคลต่อสิ่งเร้าหรือตัวกระตุ้นที่ก่อให้เกิด
ภาวะเครียดในระยะแรก ปฏิกิริยาในระยะนี้จะเกิดขึ้นเพียงระยะสั้นๆ ตั้งแต่เพียงไม่กี่นาที ถึง 48 ชั่วโมง ขึ้นอยู่กับ
ความรุนแรงของตัวกระตุ้น อาการแสดงนั้นเป็นผลเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงของระบบประสาทอัตโนมัติซิมพา
เททิคและต่อมพิทูอิทารี่ส่วนหน้า ระยะเตือนนี้สามารถแบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ
1.1. ระยะช็อค (Shock Phase) เป็นระยะของการตอบสนองต่อสิ่งเร้า ซึ่งบุคคลที่ถูกรบกวน จะเริ่มมี
การเปลี่ยนแปลงความสมดุลของร่างกาย ปฏิกิริยาจะเกิดขึ้นเป็นอันดับแรกที่ สมองส่วนคอร์เทกซ์ แล้วจึงส่งคลื่น
ประสาทมากระตุ้นต่อมพิทูอิทารี่ส่วนหน้า ประสาทอัตโนมัติซิมพาเททิค และต่อมหมวกไตตามลาดับ ทาให้มีการ
ผลิตฮอร์โมนแคทีโคลมีนคอร์ติคอยด์ โคโทรฟิค และโกนาโดรโทรฟิคเข้าสู่กระแสเลือดเพิ่มขึ้น ในระยะนี้จะพบว่ามี
การสลายโปรตีนของกล้ามเนื้อ ตัวที่ก่อให้เกิดความเครียด การตอบสนอง โรคที่เกี่ยวกับความผิดปกติของร่างกาย
(Stressor) (Stress Response) (Stress – Related Dysfuction Diseas) มีการหลั่งน้ําย่อยในกระเพาะอาหาร
เพิ่มขึ้น และเซลล์ตับมีการหลั่งฮีสตามีนเพิ่มขึ้น มีน้ําและเกลือโซเดียมคั่งระหว่างเซลล์ ระดับโปตัสเซียมในเลือด
สูงขึ้น ซึ่งโปตัสเซียมที่สูงขึ้นนี้ จะมีผลกดสมองส่วนกลาง ทาให้การดึงตัวของกล้ามเนื้อหัวใจลดลง หลอดเลือดไปเลี้ยง
กล้ามเนื้อขยายตัว ในขณะที่หลอดเลือดฝอยส่วนปลายตามผิวหนัง และช่องท้องหดตัว ถ้าปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นรุนแรง
มาก ความดันโลหิตจะลดต่าลงอาจมีอาการช็อคหรือหัวใจหยุดเต้นได้ การเปลี่ยนแปลงในระยะนี้ร่างกายไม่พร้อมที่
จะปรับตัว และถ้ายังดาเนินต่อไป ร่างกาย จะถูกใช้พลังงาน จนหมดภายใน 24-48 ชั่วโมง นอกจากนี้จะมีกลไกการ
ป้องกันตัวเอง ซึ่งจะเข้าสู่ระยะต้านช็อค
1.2 ระยะต้านช็อค (Countershock Phase) เป็นระยะถัดจากระยะช็อค ซึ่งร่างกายเริ่มปรับตัวกลับ
เข้าสูํํภาวะสมดุล โดยจะมีการดึงเอากลไกการต่อสู้ของร่างกายออกมาช่วยเหลือระบบต่างๆ ของร่างกาย เริ่ม
ประสานกันอย่างมีระเบียบ ต่อมพิทูอิทารี่จะขับฮอร์โมนคอร์ติโคโทฟิคเพิ่มขึ้น ส่วนต่อมหมวกไตจะหลั่งฮอร์โมนกลูโค
คอร์ติคอยด์เพิ่มขึ้น ทาให้อัตราการเผาผลาญของร่างกายสูงขึ้นร่วมกับการเร่งขอประสาทอัตโนมัติซิมพาเททิค อาการ
แสดงที่ตรวจพบ คือ อัตราการเต้นของหัวใจจะแรงและเร็ว ความดันโลหิตสูงขึ้น หายใจเร็ว มีอาการคลื่นไส้หรือ
อาเจียน ม่านตาขยาย และเหงื่อออกมากผิดปกติ
2. ระยะต่อต้าน (Stage of Resistance) สิ่งมีชีวิตจะปรับตัวอย่างเต็มที่ต่อตัวกระตุ้นให้เกิดความเครียดและ
ผลที่ตามมา คือ อาการจะดีขึ้นหรือหายไป ลักษณะที่ปรากฏในระยะนี้จะแตกต่าง หรือมีลักษณะตรงกันข้ามกับระยะ
เตือน เช่น ในระยะเตือนเซลคอร์เทกซ์ของต่อมหมวกไต ปล่อยฮอร์โมนเข้าสู๋กระแสเลือก เพราะฉะนั้น จะไม่มีฮอรG
โมนคอรGติคอยดGเก็บสะสมไว' แต่ในระยะต่อต้านคอร์เทกซ์จะมีฮอร์โมนเก็บไว้มาก ในระยะเตือนเลือดจะเข้มข้น
และคลอไรด์ต่า จะมีการทาลายของเนื้อเยื่อมาก แต/ในระยะต/อต'านเลือดจะเจือจาง คลอไรด์สูงและเซลล์มีการ
ซ่อมแซมทาให้น้ําหนักกลับเข้าสู่ปกติ แต่ถ้าสิ่งมีชีวิตนั้นยังได้รับการกระตุ้นจากสิ่งที่ก่อให้เกิดความเครียดอยู่
สิ่งมีชีวิตนั้นจะสูญเสียการปรับตัวอีกและจะเข้าสู่ระยะที่ 3 คือ ระยะหมดกาลัง
4
3. ระยะหมดกาลัง (Stage of Exhausion) เนื่องจากความสามารถในการปรับตัวของสิ่งมีชิวิตต้องมีจุดจบ
ถ้าตัวกระตุ้นก่อให้เกิดความเครียดรุนแรงและไม่สามารถจะขจัดออกไปได้สิ่งมีชีวิตจะเกิดการหมดกาลัง อาการต่างๆ
ที่เกิดขึ้นในระยะเตือนก็จะกลับมาอีก และถ้าหากไม่ได้รับความช่วยเหลือหรือประคับประคองจากภายนอกอย่าง
เพียงพอ กลไกในการปรับตัวจะล้มเหลว เกิดโรคและเสียชีวิตได้ในที่สุดทฤษฎีเกี่ยวกับความเครียดมี 3 กลุ่ม ดังนี้ (อ'
างถึงใน พรพรรณ ศรีเทพ, 2550:17X18)
ทฤษฎีการตอบสนอง (Response Theory) ของลาซารัส (Lazarus) ทฤษฎีนี้เชื่อว่า การตอบสนองต่อสิ่ง
เร้าใดๆ นั้น ขึ้นอยู่กับกับสร้างจินตภาพต่อสิ่งเร้านั้นๆ ทฤษฎีนี้จะอธิบายความแตกต่างของแต่ละบุคคลในการ
ตอบสนองต่อสิ่งเร้าชนิดเดียว เช่น ภาวะของโรค การรักษาของแพทย์ การนอนอยู่ในตึกผู้ป่วยหนัก เป็นต้น
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าใดๆ นั้น จะขึ้นอยู่กับสถานการณ์ในอดีตที่จะเป็นตัวเสริม หรือกาหนดให้มีการ
ตอบสนองต่อสิ่งเร้าในปัจจุบันว่าควรเป็นเช่นไร
ทฤษฎีความเครียดของฮันส์-เซลยี เซลยี (อ้างถึงใน จาลอง ดิษยวณิช และพริ้มเพรา ดิษยวนิช, 2545, หน้า 5-
15) Selye พบว่าเมื่อมีความเครียด (Stress) เกิดขึ้นจะกอให้เกิดกลุ่มอาการปรับตัวทั่ว ๆ ไป (General Adaptation
Syndrome: GAS) (รูปที่ 1-2) ซึ่งมี 3 ระยะดวยกันคือ
1. ระยะตกใจ (Alarm Reaction) แสดงลักษณะที่ร่างกายมีปฏิกิริยาเมื่อเผชิญกับสิ่งเร้าจะมีการกระตุ้นหรือยั่ว
ยุให้ตนตื่นตัว ระยะตกใจ แบ่งออกเป็น
1.1 ระยะช็อก (Shock Phase) เป็นระยะแรก และเป็นปฏิกิริยาโต้ตอบทันทีทันใดต่อสิ่งที่เป็นภัย ปฏิกิริยา
ของร่างกายในระยะนี้มีอยู่สองแบบ คือ “สู้ (Fight) หรือหนี (Flight)”ระยะนี้มีการเปลี่ยนแปลงหลายอย่างเกิดขึ้นซึ่ง
เป็นผลจากการกระตุ้นของระบบประสาท Sympathetic เช่น หัวใจเต้นเร็ว กล้ามเนื้ออ่อนตัว อุณหภมูํลดลง และ
ความดันโลหิตต่า
1.2 ระยะต้านช๊อก (Counter Shock Phase) จะเกิดปฏิกิริยาสะท้อนกลับ (Rebound Reaction) เช่น
Adrenal Cortex จะโตขึ้น น้าตาลถูกปล่อยออกมาจากตับ มีการเคลื่อนไหว ของกล้ามเนื้อเพิ่มขึ้น ส่วนใหญ่แล้ว
ปฏิกิริยาต่อความเครียดแบบเฉียบพลัน (Acute Stress Reaction) จะสัมพันธ์กันทั้งสองระยะนี้
2. ระยะต้านทาน (Stage of Resistance) หรือระยะปรับตัว (Adaptaion Stage) ระยะนี้ร่างกายจะพยายาม
ปรับตัวต่อสิ่งที่ทาให้เกิดความเครียด (Stressor) และทาให้สภาพทั่วไปดีขึ้น อาการต่าง ๆ จะหายไป ความพยายาม
ของร่างกายในการปรับตัวมีส่วนช่วยให้พลังงานที่สูญหายไปกลับคืนมา และยังช่วยซ่อมแซมส่วนที่ถูกทาลายไปให้ดี
ขึ้น
3. ระยะหมดแรง (Stage of Exhaustion) ถ้าสิ่งที่ทาให้เกิดความเครียดยังไม้ได้รับการแก้ไขอย่างพอเพียง
ร่างกายจะผ่านเข้าสู่ระยะที่สามคือระยะหมดแรงเนื่องจากความเครียดยังคงมีอยู่ ไม่รู้จักหมดสิ้น พอร่างกายโดน
ความเครียดเล่นงานซ้าแล้วซ้าอีก ร่างกายจะเสื่อมโทรม จนกระทั่งเกิดเป็นโรคต่าง ๆ เช่น ภูมิแพ้ ลมพิษ แผลใน
กระเพาะอาหาร โรคหัวใจ ความดันโลหิตสูง และอาจถึงแก่ความตายได้ในที่สุด
สิ่งมีชีวิตทั้งหลายมีความสามารถในการปรับตัวหรือการคงสภาพไว้ ซึ่งสิ่งแวดล้อมภายในร่างกายให้อยู่ในภาวะ
สมดุล ถึงแม้ว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมภายนอก Cannon จึงได้นาคาว่าภาวะธารงดุล (Homeostasis)
มาใช้เมื่อกล่าวถึงภาวะสมดุล (Equilibrium) หรือดุลยภาพ (Balance) ซึ่งได้แก่ กลไก (Defenses) ต่าง ๆ ที่มนุษย์
นามาใช้ในการจัดการ (Coping) กับความเครียดหากวิธีจัดการล้มเหลวก็จะเกิดโรคที่เรียกว่าโรคแห่งการปรับตัว
(Diseases of Adaptation) หรือ Stress Diseases เช่นการเกิดเป็นโรคทางร่างกายที่มีสาเหตุจากจิต
(Psychosomatic Disorders) Selye ยังได้จาแนก Stress Eustress และ Distress คาว่า Eustress หมายถึง
ความกระตือรือร้น และขยันในการศึกษาเล่าเรียน การปรับปรุงนิสัย การขยายธุรกิจหรือการมีตาแหน่ง และหน้าที่
การงานที่สูงขึ้นส่วน Distress เป็นความเครียดที่ไม่ดี เช่นการหย่าร้างการถูกออกจากงาน ความเจ็บป่วย การถูกจาคุก
ซึ่งเป็นสิ่งที่มนุษย์พยายามหลีกเลี่ยง
5
ทฤษฎีความเครียดของเซกตตัน และไฮแลนด์ เซกต์ตัน และไฮแลนด์ (Sexton & Hyland,1979 อ้างถึงใน
จันทร์จิรา ภู่ทองเกษ , 2537, หน้า 40-41) ได้สร้างโมเดลซึ่งแสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างความเครียดกับการ
ปรับตัว เรียกว่า Stress Adaptation Cycle หรือ S-A Cycle โดยอาศัยแนวคิดพื้นฐานมาจากแนวคิดของเซลยี
(Selye) ซึ่งเซกต์ตัน และไฮแลนด์ เห็นว่ามนุษย์มีชีวิตอยู่ในโลก ซึ่งล้อมรอบด้วยความเครียดทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเป็น
อาหาร อากาศ น้า แสงและระดับอารมณ์ของคน ความคงทนของมนุษย์ต่อความเครียดขึ้นอยู่กับธรรมชาติของมนุษย์
เช่น ประสบการณ์ ที่เกี่ยวกับความเครียด การปรับตัว ระดับพัฒนาการการตอบสนองต่อการเรียนรู้ เป็นต้น เมื่อมี
ความเครียดเกิดขึ้นมนุษย์จะต้องมีการปรับตัว อาจเป็นไปในทางตรงหรือทางอ้อม ขึ้นกับความเครียดครั้งแรกที่
มนุษย์ประสบ เมื่อมีการปรับตัวโดยตรงจะทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงหน้าที่ของร่างกาย และทาให้เกิดความเครียดอัน
ใหม่เกิดขึ้นร่างกายก็ปรับตัวอีกครั้ง และจะเป็นลักษณะเช่นนี้เรื่อยไป
ตามทฤษฎีได้แบ่งระดับการปรับตัวต่อความเครียดออกเป็น 3 ระดับ คือ
1. การปรับตัวเฉพาะที่ (Local Level) เป็นการปรับตัวเฉพาะต่อสิ่งที่มารบกวน ถ้าไม่ประสบผลสาเร็จก็จะ
นาไปสู่สภาวะการปรับตัวในระยะต่อไป
2. การปรับตัวในระดับอวัยวะ (Organ Level) เนื่องจากการปรับตัวในทางตรง (Direct Adaptation) ครั้ง
แรกไม่สามารถกาจัดสิ่งที่มารบกวนได้ กระตุ้นให้เกิดความเครียดใหม่ขึ้นมาร่างกายก็พยายามปรับตัวใหม่ เพื่อกาจัด
ความเครียดนี้ เรียกว่าเป็นการปรับตัวทางอ้อม (Indirect Adaptation) ต่อความเครียดอันแรก จากจุดนี้จึงเริ่มต้น
S-A Cycle
3. การปรับตัวของร่างกายทั้งตัว (Systemic Level) จะเกิดขึ้นเมื่อการปรับตัวทางตรงในระดับอวัยวะไม่
ประสบผลสาเร็จ ทาให้เกิดความเครียดอันใหม่ขึ้น จึงต้องมีการปรับตัวอีก และเป็นการปรับตัวทางอ้อม (Indirect
Adaptation) ที่สัมพันธ์กับความเครียดครั้งแรก ดังนั้น S-A Cycle จะดาเนินต่อไป
ทฤษฎีความเครียดของดูแกน และคณะ (Dougan et al., 1986, pp. 191-198 อ้างถึงในวิลาวัณย์ วรศรีหิรัญ,
2536, หน้า 26) กล่าวถึงอาการต่าง ๆ ของความเครียด โดยแบ่งออกเป็น 4 ด้าน ดังนี้
3.1 ด้านอารมณ์ (Mood) เช่น รู้สึกหงุดหงิด ฉุนเฉียวง่าย กังวลใจ รู้สึกสับสน หลงลืมง่าย รู้สึกเศร้า เบื่อ
หน่าย เป็นต้น
3.2 ด้านอวัยวะ (Organs) เช่น หัวใจเต้นแรง หายใจถี่ กระเพาะอาหารปั่นป่วน วิงเวียนศีรษะ ปากคอแห้ง
เป็นต้น
3.3 ด้านกล้ามเนื้อ (Muscles) เช่น มือ นิ้วสั่น เส้นกระตุก กล้ามเนื้อยึด พูดตระกุกตระกัก ตามวัย ปวดหลัง
เป็นต้น
3.4 ด้านพฤติกรรม (Behavior) เช่น ลุกลี้ลุกลน นอนไม่หลับ ความต้องการทางเพศ ลดลง เดินตัวเกร็ง เป็น
ต้น
ลักษณะและรูปแบบทฤษฎีความเครียด
1. ทฤษฎีความเครียดที่เน้นทางด้านจิตวิทยา (Psychology) ประกอบด้วยรูปแบบดังนี้
1.1 รูปแบบพื้นฐานของการตอบสนอง ( ResponseXBased Model) เป็นรูปแบบที่อธิบายว่า
ความเครียดเป็นกลุ่มของสิ่งรบกวนที่ขัดขวางการตอบสนองทางสรีระวิทยาและจิตวิทยาของบุคคลต่อภาวะคุกคาม
ทฤษฎีกลุ่มนี้ได้แก่ ทฤษฎีพื้นฐานความเครียดของ Selye ที่อธิบายว่า ความเครียดเป็นการตอบสนองในกลุ่มอาการที่
ไม่เฉพาะเจาะจง (General Adaptation Syndrome) หรือ GAS เป็นต้น
1.2 รูปแบบพื้นฐานของสิ่งเร้า (Stimulation–based Model) เป็นรูปแบบที่ อธิบายว่า ความเครียดเป็น
กลุ่มของสถานการณ์ของสิ่งแวดล้อมที่เป็นสิ่งเร้ามากระตุ้นให้เกิดการตอบสนอง และสิ่งเร้านี้เป็นบ่อเกิดของ
ความเครียด เช่น ความมากเกินพอความขัดแย้ง และสิ่งที่นอกเหนือการควบคุม ทฤษฎีในกลุ่มนี้ เช่น ทฤษฎีความ
เปลี่ยนแปลงในชีวิตกับการเจ็บป่วยของ Holmes และ Rahe (1967 อ้างถึงใน วนิดา รัตนมงคล, 2542: 35) ทฤษฎีนี้
เชื่อว่าเหตุการณ์ต่างๆ ที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในชีวิตถือว่าเป็นภาวะเครียดที่ทาให้มนุษย์ต้องปรับตัว
6
1.3 รูปแบบปฏิสัมพันธ์ของความเครียด (Interaction Model of Stress) เป็นรูปแบบที่มีพื้นฐานแนวคิด
จาก 2 รูปแบบแรกรวมกัน และศึกษาในมิติที่ว่าความเครียดเป็นความไม่สมดุลระหว่างความต้องการ และ
ความสามารถในการตอบสนองของบุคคล ความเครียดจะเกิดขึ้นเมื่อบุคคลได้รับความคุกคาม และไม่สามารถจัดการ
กับความเครียดได้ ถ้าบุคคลมีแรงจูงใจสูง มีความสมดุลระหว่างความต้องการ และการตอบสนองบุคคลนั้นจะ
ปลอดภัยจากความเครียด นักทฤษฎีความเครียดในกลุ่มนี้ ได้แก่ Lasarus และคณะ (1987 อ้างถึงใน วนิดา รัตนมง
คล, 2542: 32)
2. ทฤษฎีความเครียดเกี่ยวกับการปฏิบัติงาน (Job Stress) ทฤษฎีในกลุ่มนี้ได้นามาใช้อธิบายความเครียดใน
การทางานอย่างกว้างขวาง ได้แก่ ทฤษฎีความสอดคล้องระหว่างบุคคลกับสิ่งแวดล้อม (PersonX Environment Fit
Theory) ซึ่งเป็นแนวคิดของ French และคณะ ทฤษฎีนี้ตั้งบนแนวคิดสาคัญ 2 ประการ คือ ความบีบคั้นขององค์การ
และความเครียดของบุคคล ปฏิสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบทั้งสองนี้ มีผลต่อสุขภาพและศักยภาพในการทางานของ
บุคคล นั้นคือ ความเครียดจะเกิดขึ้นเมื่อการตอบสนอง (Supply) หรือความต้องการ (Demands) ของสิ่งแวดล้อม
ไม่สมดุลกับความต้องการ (Needs) หรือความสามารถของบุคคล นั่นคือ ถ้าความต้องการ หรือความสามารถของ
บุคคล และสิ่งแวดล้อมไม่สมดุล ผลที่ตามมาก็คือความเครียด ซึ่งจะมีผลสะท้อนกลับมาที่การปฏิบัติงานเกิดความรู้สึก
ในทางที่ไม่ดีกับงาน นอกจากทฤษฎีนี้แล้ว ในกลุ่มนี้ยังมีแนวคิดว่าด้วย ความเครียดกับประสิทธิภาพในการทางาน ซึ่ง
เป็นแนวคิดของ Worechel และ Wayne (1980 อ้างถึงใน วนิดา รัตนมงคล, 2542: 32 ) ที่กล่าวว่า ความเครียดเป็น
ทั้งคุณและโทษ ระดับความเครียดมีความสัมพันธ์ทั้งทางบวกและทางลบกับสัมฤทธิผลของการทางาน คือระดับ
ความเครียดที่เหมาะสม (Eustress) จะมีสัมฤทธิผลของการทางานสูงสุด ซึ่งจะอยู่จุดสูงสุดของตัวยูหัวกลับ ถ้า
ความเครียดสูงกว่านี้ สัมฤทธิผลของการทางานจะลดลงอย่างรวดเร็ว และยังเสนอว่า ความเครียดน้อยก็ทาให้ผลงาน
ต่ํา และผลของงานกับระดับความเครียดจะผันแปรอยู่ระหว่างคนกับองค์การ
3. ทฤษฎีความเครียดที่เน้นผลกระทบของความเครียดที่มีต่อบุคคล ทฤษฎีในกลุ่มนี้ ได้แก่
3.1 สมมติฐานตัวยูหัวกลับ (Inverted –U Hypothesis) ซึ่งอธิบายว่า เมื่อความเครียดเพิ่มขึ้น ผลการ
ทางาน (Job Performance) จะสูงขึ้นจนสูงสุดของโค้งตัวยูหัวกลับและความเครียดที่มากหรือน้อยเกินไปมีผลทา
ให้ผลการทางานต่ากว่าด้วย ดังที่ selye (อ้างถึงใน ประณิตา ประสงค์จรรยา, 2542) เรียกความเครียดที่มีผลใน
ทางบวกวา Eustress และเรียกความเครียดในทางลบว่า Disress ซึ่งสามารถแสดงความสัมพันธ์กันได้
3.2 ทฤษฎีการตรวจจับสัญญาน (Signal Detection Theory) เป็นทฤษฎีที่ว่าด้วยการตอบสนองเมื่อ
ร่างกาย ได้รับสัญญาณกระตุ้นจากสิ่งที่คุกคาม จะตอบสนองทั้งร่างกายและจิตใจ
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
-ปรึกษาเลือกหัวข้อ
-นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน
-ศึกษารวบรวมข้อมูล
-จัดทารายงาน
-นาเสนอครู
-ปรับปรุงและแก้ไข
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
-อินเทอร์เน็ต
-คอมพิวเตอร์
-โทรศัพท์
งบประมาณ
500 บาท
7
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1.คนในสังคมไทยทุกคนจะสามารถนาไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ที่สุด
2.คนในสังคมไทยไม่ตึงเครียด
3.ลดความเสี่ยงโรคที่เป็นผลมาจากความเครียด
4.คนในสังคมไทยโดยเฉพาะวัยรุ่นแก้ปัญหาได้ถูกจุด
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
2.กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา
3.กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
https://boonkit54.blogspot.com/2013/08/blog-post_6180.html

More Related Content

Similar to Fill

Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
PhilophobiaSuppamas
 
ใบงานที่6-โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่6-โครงร่างโครงงานใบงานที่6-โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่6-โครงร่างโครงงานNatthanaSriloer
 
2561 project-pichaya
2561 project-pichaya 2561 project-pichaya
2561 project-pichaya apisarajk
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมmind jirapan
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project ssuser8b423e
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561NodChaa
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Daranpop Doungdetch
 
2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasarajKUMBELL
 
2562 final-project 34-610
2562 final-project 34-6102562 final-project 34-610
2562 final-project 34-610ssuser015151
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Krittapornn Chanasaen
 
How to set a bedroom to health. TH
How to set a bedroom to health. THHow to set a bedroom to health. TH
How to set a bedroom to health. THpattharawan putthong
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Warunee Kruea-kaew
 

Similar to Fill (20)

Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
Philophobia
 
ใบงานที่6-โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่6-โครงร่างโครงงานใบงานที่6-โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่6-โครงร่างโครงงาน
 
2561 project-pichaya
2561 project-pichaya 2561 project-pichaya
2561 project-pichaya
 
2562 final-project
2562 final-project2562 final-project
2562 final-project
 
Benyapa 607 35
Benyapa 607 35Benyapa 607 35
Benyapa 607 35
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้า
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj
 
taksaorn
taksaorntaksaorn
taksaorn
 
W.1
W.1W.1
W.1
 
2562 final-project 34-610
2562 final-project 34-6102562 final-project 34-610
2562 final-project 34-610
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
How to set a bedroom to health. TH
How to set a bedroom to health. THHow to set a bedroom to health. TH
How to set a bedroom to health. TH
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 

More from Pattaranan Duangin

More from Pattaranan Duangin (7)

Fruit juice
Fruit juiceFruit juice
Fruit juice
 
Healthy by-juice
Healthy by-juiceHealthy by-juice
Healthy by-juice
 
Visual fatigue
Visual fatigueVisual fatigue
Visual fatigue
 
สายตาล้า
สายตาล้าสายตาล้า
สายตาล้า
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Prbcom60
Prbcom60Prbcom60
Prbcom60
 
Work2 606_25
Work2 606_25Work2 606_25
Work2 606_25
 

Fill

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6 ปีการศึกษา 2561 ชื่อโครงงาน ปัญหาความเครียด ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวพรสุดา ทองแสน เลขที่ 21 ชั้น ม.6 ห้อง 6 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม นางสาวพรสุดา ทองแสน เลขที่ 21 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ชี้จุด!! ความเครียด ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Stressed out ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวพรสุดา ทองแสน ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1 การศึกษาปีที่ 2561 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) เนื่องจากในสังคมปัจจุบันปัญหาความเครียดนั้นเกิดกับคนทุกประเภททุกวัย ไม่ว่าจะเด็กหรือผู้ใหญ่หรือ ผู้สูงอายุ ปัญหาความเครียดเป็นปัญหาในโลกปัจจุบันเป็นอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นปัญหาความเครียดจากที่ทางานหรือ ที่เรียนหรือที่บ้านหรือจากตัวเองหรือจากที่อื่นๆ ทาให้ปัญหาความเครียดเหล่านี้เกิดการสะสมความเครียด การไม่รู้จัก แก้ปัญหาความเครียดนั้น การที่พาตัวเองไปหมกมุ่นอยู่กับเรื่องที่ตัวเองเครียด ทาให้เกิดอาการต่างๆและโรคที่ตามมา จากปัญหาความเครียด ซึ่งหากไม่ได้แก้ปัญหาความเครียดนั้นจะเป็นอันตรายต่อตัวเองและคนรอบข้าง จึงควรที่จะ ได้รับการแก้ปัญหาหรือเข้าพบแพทย์ เพื่อรู้สาเหตุของปัญหาความเครียด จะได้แก้ปัญหาความเครียดได้ถูกจุด หากใน อนาคตปัญหาความเครียดยังเพิ่มมากขึ้น ซึ่งจะมีความเสี่ยงอย่างมากที่ทาให้โลกเกิดปัญหาอื่นๆตามมาอีกได้ ควรรีบ แก้ปัญหาความเครียดให้ถูกจุดที่สุดซึ่งจะได้ไม่เกิดปัญหาในอนาคตซึ่งอาจจะตามมาได้ ดังนั้นเหตุผลของการเลือกทา โครงงานนี้ก็คือ สาเหตุของโรคเครียดมาจากเหตุใดบ้างและการรักษาได้โดยวิธีการใดบ้างที่ไม่กระทบต่อตัวเองและคน รอบข้าง และแก้ไข้ปัญหาความเครียดได้ถูกจุด วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อศึกษาสาเหตุของความเครียด 2. เรียนรู้การรักษาโรคเครียด 3. ศึกษาแก้ปัญหาความเครียด ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) 1. ความเครียดของคนทั่วไปและวัยรุ่น
  • 3. 3 หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) แนวคิดเกี่ยวกับความเครียด ได้มีนักวิชาการได้เสนอแนวคิดดังนี้ Girdano และคณะ (1993 อ้างถึงใน สีจันทร์ ใจป้อ, 2544: 10) ได้เสนอแนวคิดที่เกี่ยวกับความเครียดไว้ว่า ความเครียดเป็นการตอบสนองของร่างกาย ที่มีความเกี่ยวข้องกับตัวกระตุ้นให้เกิดความเครียด Selye (1974 อ้างถึงใน ประณิตา ประสงค์จรรยา, 2542: 34) ได้กล่าวถึงทฤษฎีความเครียดของ selye (Selye’Stress Theory) ว่า เมื่อร่างกายถูกสิ่งที่มาคุกคาม(Stressor) จะทาให้เกิดความเครียด ซึ่งอาจเป็นสิ่งที่ดีและ ไม่ดี จะทาให้ความสมดุลของร่างกายเปลี่ยนแปลงไป และจะเกิดการตอบสนองของบุคคลต่อตัวกระตุ้น (Stressor) ซึ่งการตอบสนองนั้นจะแสดงออกไปในลักษณะของกลุ่มอาการที่ไม่เฉพาะเจาะจง (Nonspecific) ที่เรียกว่า กลุ่ม อาการปรับตัวโดยทั่วไป (GAS : General Adaptation Syndrome) ซึ่งกลุ่มอาการนี้เกิดขึ้นเป็น 3 ระยะ คือ 1. ระยะเตือน (Alarm Reaction) เป็นปฏิกิริยาตอบสนองของบุคคลต่อสิ่งเร้าหรือตัวกระตุ้นที่ก่อให้เกิด ภาวะเครียดในระยะแรก ปฏิกิริยาในระยะนี้จะเกิดขึ้นเพียงระยะสั้นๆ ตั้งแต่เพียงไม่กี่นาที ถึง 48 ชั่วโมง ขึ้นอยู่กับ ความรุนแรงของตัวกระตุ้น อาการแสดงนั้นเป็นผลเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงของระบบประสาทอัตโนมัติซิมพา เททิคและต่อมพิทูอิทารี่ส่วนหน้า ระยะเตือนนี้สามารถแบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ 1.1. ระยะช็อค (Shock Phase) เป็นระยะของการตอบสนองต่อสิ่งเร้า ซึ่งบุคคลที่ถูกรบกวน จะเริ่มมี การเปลี่ยนแปลงความสมดุลของร่างกาย ปฏิกิริยาจะเกิดขึ้นเป็นอันดับแรกที่ สมองส่วนคอร์เทกซ์ แล้วจึงส่งคลื่น ประสาทมากระตุ้นต่อมพิทูอิทารี่ส่วนหน้า ประสาทอัตโนมัติซิมพาเททิค และต่อมหมวกไตตามลาดับ ทาให้มีการ ผลิตฮอร์โมนแคทีโคลมีนคอร์ติคอยด์ โคโทรฟิค และโกนาโดรโทรฟิคเข้าสู่กระแสเลือดเพิ่มขึ้น ในระยะนี้จะพบว่ามี การสลายโปรตีนของกล้ามเนื้อ ตัวที่ก่อให้เกิดความเครียด การตอบสนอง โรคที่เกี่ยวกับความผิดปกติของร่างกาย (Stressor) (Stress Response) (Stress – Related Dysfuction Diseas) มีการหลั่งน้ําย่อยในกระเพาะอาหาร เพิ่มขึ้น และเซลล์ตับมีการหลั่งฮีสตามีนเพิ่มขึ้น มีน้ําและเกลือโซเดียมคั่งระหว่างเซลล์ ระดับโปตัสเซียมในเลือด สูงขึ้น ซึ่งโปตัสเซียมที่สูงขึ้นนี้ จะมีผลกดสมองส่วนกลาง ทาให้การดึงตัวของกล้ามเนื้อหัวใจลดลง หลอดเลือดไปเลี้ยง กล้ามเนื้อขยายตัว ในขณะที่หลอดเลือดฝอยส่วนปลายตามผิวหนัง และช่องท้องหดตัว ถ้าปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นรุนแรง มาก ความดันโลหิตจะลดต่าลงอาจมีอาการช็อคหรือหัวใจหยุดเต้นได้ การเปลี่ยนแปลงในระยะนี้ร่างกายไม่พร้อมที่ จะปรับตัว และถ้ายังดาเนินต่อไป ร่างกาย จะถูกใช้พลังงาน จนหมดภายใน 24-48 ชั่วโมง นอกจากนี้จะมีกลไกการ ป้องกันตัวเอง ซึ่งจะเข้าสู่ระยะต้านช็อค 1.2 ระยะต้านช็อค (Countershock Phase) เป็นระยะถัดจากระยะช็อค ซึ่งร่างกายเริ่มปรับตัวกลับ เข้าสูํํภาวะสมดุล โดยจะมีการดึงเอากลไกการต่อสู้ของร่างกายออกมาช่วยเหลือระบบต่างๆ ของร่างกาย เริ่ม ประสานกันอย่างมีระเบียบ ต่อมพิทูอิทารี่จะขับฮอร์โมนคอร์ติโคโทฟิคเพิ่มขึ้น ส่วนต่อมหมวกไตจะหลั่งฮอร์โมนกลูโค คอร์ติคอยด์เพิ่มขึ้น ทาให้อัตราการเผาผลาญของร่างกายสูงขึ้นร่วมกับการเร่งขอประสาทอัตโนมัติซิมพาเททิค อาการ แสดงที่ตรวจพบ คือ อัตราการเต้นของหัวใจจะแรงและเร็ว ความดันโลหิตสูงขึ้น หายใจเร็ว มีอาการคลื่นไส้หรือ อาเจียน ม่านตาขยาย และเหงื่อออกมากผิดปกติ 2. ระยะต่อต้าน (Stage of Resistance) สิ่งมีชีวิตจะปรับตัวอย่างเต็มที่ต่อตัวกระตุ้นให้เกิดความเครียดและ ผลที่ตามมา คือ อาการจะดีขึ้นหรือหายไป ลักษณะที่ปรากฏในระยะนี้จะแตกต่าง หรือมีลักษณะตรงกันข้ามกับระยะ เตือน เช่น ในระยะเตือนเซลคอร์เทกซ์ของต่อมหมวกไต ปล่อยฮอร์โมนเข้าสู๋กระแสเลือก เพราะฉะนั้น จะไม่มีฮอรG โมนคอรGติคอยดGเก็บสะสมไว' แต่ในระยะต่อต้านคอร์เทกซ์จะมีฮอร์โมนเก็บไว้มาก ในระยะเตือนเลือดจะเข้มข้น และคลอไรด์ต่า จะมีการทาลายของเนื้อเยื่อมาก แต/ในระยะต/อต'านเลือดจะเจือจาง คลอไรด์สูงและเซลล์มีการ ซ่อมแซมทาให้น้ําหนักกลับเข้าสู่ปกติ แต่ถ้าสิ่งมีชีวิตนั้นยังได้รับการกระตุ้นจากสิ่งที่ก่อให้เกิดความเครียดอยู่ สิ่งมีชีวิตนั้นจะสูญเสียการปรับตัวอีกและจะเข้าสู่ระยะที่ 3 คือ ระยะหมดกาลัง
  • 4. 4 3. ระยะหมดกาลัง (Stage of Exhausion) เนื่องจากความสามารถในการปรับตัวของสิ่งมีชิวิตต้องมีจุดจบ ถ้าตัวกระตุ้นก่อให้เกิดความเครียดรุนแรงและไม่สามารถจะขจัดออกไปได้สิ่งมีชีวิตจะเกิดการหมดกาลัง อาการต่างๆ ที่เกิดขึ้นในระยะเตือนก็จะกลับมาอีก และถ้าหากไม่ได้รับความช่วยเหลือหรือประคับประคองจากภายนอกอย่าง เพียงพอ กลไกในการปรับตัวจะล้มเหลว เกิดโรคและเสียชีวิตได้ในที่สุดทฤษฎีเกี่ยวกับความเครียดมี 3 กลุ่ม ดังนี้ (อ' างถึงใน พรพรรณ ศรีเทพ, 2550:17X18) ทฤษฎีการตอบสนอง (Response Theory) ของลาซารัส (Lazarus) ทฤษฎีนี้เชื่อว่า การตอบสนองต่อสิ่ง เร้าใดๆ นั้น ขึ้นอยู่กับกับสร้างจินตภาพต่อสิ่งเร้านั้นๆ ทฤษฎีนี้จะอธิบายความแตกต่างของแต่ละบุคคลในการ ตอบสนองต่อสิ่งเร้าชนิดเดียว เช่น ภาวะของโรค การรักษาของแพทย์ การนอนอยู่ในตึกผู้ป่วยหนัก เป็นต้น การตอบสนองต่อสิ่งเร้าใดๆ นั้น จะขึ้นอยู่กับสถานการณ์ในอดีตที่จะเป็นตัวเสริม หรือกาหนดให้มีการ ตอบสนองต่อสิ่งเร้าในปัจจุบันว่าควรเป็นเช่นไร ทฤษฎีความเครียดของฮันส์-เซลยี เซลยี (อ้างถึงใน จาลอง ดิษยวณิช และพริ้มเพรา ดิษยวนิช, 2545, หน้า 5- 15) Selye พบว่าเมื่อมีความเครียด (Stress) เกิดขึ้นจะกอให้เกิดกลุ่มอาการปรับตัวทั่ว ๆ ไป (General Adaptation Syndrome: GAS) (รูปที่ 1-2) ซึ่งมี 3 ระยะดวยกันคือ 1. ระยะตกใจ (Alarm Reaction) แสดงลักษณะที่ร่างกายมีปฏิกิริยาเมื่อเผชิญกับสิ่งเร้าจะมีการกระตุ้นหรือยั่ว ยุให้ตนตื่นตัว ระยะตกใจ แบ่งออกเป็น 1.1 ระยะช็อก (Shock Phase) เป็นระยะแรก และเป็นปฏิกิริยาโต้ตอบทันทีทันใดต่อสิ่งที่เป็นภัย ปฏิกิริยา ของร่างกายในระยะนี้มีอยู่สองแบบ คือ “สู้ (Fight) หรือหนี (Flight)”ระยะนี้มีการเปลี่ยนแปลงหลายอย่างเกิดขึ้นซึ่ง เป็นผลจากการกระตุ้นของระบบประสาท Sympathetic เช่น หัวใจเต้นเร็ว กล้ามเนื้ออ่อนตัว อุณหภมูํลดลง และ ความดันโลหิตต่า 1.2 ระยะต้านช๊อก (Counter Shock Phase) จะเกิดปฏิกิริยาสะท้อนกลับ (Rebound Reaction) เช่น Adrenal Cortex จะโตขึ้น น้าตาลถูกปล่อยออกมาจากตับ มีการเคลื่อนไหว ของกล้ามเนื้อเพิ่มขึ้น ส่วนใหญ่แล้ว ปฏิกิริยาต่อความเครียดแบบเฉียบพลัน (Acute Stress Reaction) จะสัมพันธ์กันทั้งสองระยะนี้ 2. ระยะต้านทาน (Stage of Resistance) หรือระยะปรับตัว (Adaptaion Stage) ระยะนี้ร่างกายจะพยายาม ปรับตัวต่อสิ่งที่ทาให้เกิดความเครียด (Stressor) และทาให้สภาพทั่วไปดีขึ้น อาการต่าง ๆ จะหายไป ความพยายาม ของร่างกายในการปรับตัวมีส่วนช่วยให้พลังงานที่สูญหายไปกลับคืนมา และยังช่วยซ่อมแซมส่วนที่ถูกทาลายไปให้ดี ขึ้น 3. ระยะหมดแรง (Stage of Exhaustion) ถ้าสิ่งที่ทาให้เกิดความเครียดยังไม้ได้รับการแก้ไขอย่างพอเพียง ร่างกายจะผ่านเข้าสู่ระยะที่สามคือระยะหมดแรงเนื่องจากความเครียดยังคงมีอยู่ ไม่รู้จักหมดสิ้น พอร่างกายโดน ความเครียดเล่นงานซ้าแล้วซ้าอีก ร่างกายจะเสื่อมโทรม จนกระทั่งเกิดเป็นโรคต่าง ๆ เช่น ภูมิแพ้ ลมพิษ แผลใน กระเพาะอาหาร โรคหัวใจ ความดันโลหิตสูง และอาจถึงแก่ความตายได้ในที่สุด สิ่งมีชีวิตทั้งหลายมีความสามารถในการปรับตัวหรือการคงสภาพไว้ ซึ่งสิ่งแวดล้อมภายในร่างกายให้อยู่ในภาวะ สมดุล ถึงแม้ว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมภายนอก Cannon จึงได้นาคาว่าภาวะธารงดุล (Homeostasis) มาใช้เมื่อกล่าวถึงภาวะสมดุล (Equilibrium) หรือดุลยภาพ (Balance) ซึ่งได้แก่ กลไก (Defenses) ต่าง ๆ ที่มนุษย์ นามาใช้ในการจัดการ (Coping) กับความเครียดหากวิธีจัดการล้มเหลวก็จะเกิดโรคที่เรียกว่าโรคแห่งการปรับตัว (Diseases of Adaptation) หรือ Stress Diseases เช่นการเกิดเป็นโรคทางร่างกายที่มีสาเหตุจากจิต (Psychosomatic Disorders) Selye ยังได้จาแนก Stress Eustress และ Distress คาว่า Eustress หมายถึง ความกระตือรือร้น และขยันในการศึกษาเล่าเรียน การปรับปรุงนิสัย การขยายธุรกิจหรือการมีตาแหน่ง และหน้าที่ การงานที่สูงขึ้นส่วน Distress เป็นความเครียดที่ไม่ดี เช่นการหย่าร้างการถูกออกจากงาน ความเจ็บป่วย การถูกจาคุก ซึ่งเป็นสิ่งที่มนุษย์พยายามหลีกเลี่ยง
  • 5. 5 ทฤษฎีความเครียดของเซกตตัน และไฮแลนด์ เซกต์ตัน และไฮแลนด์ (Sexton & Hyland,1979 อ้างถึงใน จันทร์จิรา ภู่ทองเกษ , 2537, หน้า 40-41) ได้สร้างโมเดลซึ่งแสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างความเครียดกับการ ปรับตัว เรียกว่า Stress Adaptation Cycle หรือ S-A Cycle โดยอาศัยแนวคิดพื้นฐานมาจากแนวคิดของเซลยี (Selye) ซึ่งเซกต์ตัน และไฮแลนด์ เห็นว่ามนุษย์มีชีวิตอยู่ในโลก ซึ่งล้อมรอบด้วยความเครียดทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเป็น อาหาร อากาศ น้า แสงและระดับอารมณ์ของคน ความคงทนของมนุษย์ต่อความเครียดขึ้นอยู่กับธรรมชาติของมนุษย์ เช่น ประสบการณ์ ที่เกี่ยวกับความเครียด การปรับตัว ระดับพัฒนาการการตอบสนองต่อการเรียนรู้ เป็นต้น เมื่อมี ความเครียดเกิดขึ้นมนุษย์จะต้องมีการปรับตัว อาจเป็นไปในทางตรงหรือทางอ้อม ขึ้นกับความเครียดครั้งแรกที่ มนุษย์ประสบ เมื่อมีการปรับตัวโดยตรงจะทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงหน้าที่ของร่างกาย และทาให้เกิดความเครียดอัน ใหม่เกิดขึ้นร่างกายก็ปรับตัวอีกครั้ง และจะเป็นลักษณะเช่นนี้เรื่อยไป ตามทฤษฎีได้แบ่งระดับการปรับตัวต่อความเครียดออกเป็น 3 ระดับ คือ 1. การปรับตัวเฉพาะที่ (Local Level) เป็นการปรับตัวเฉพาะต่อสิ่งที่มารบกวน ถ้าไม่ประสบผลสาเร็จก็จะ นาไปสู่สภาวะการปรับตัวในระยะต่อไป 2. การปรับตัวในระดับอวัยวะ (Organ Level) เนื่องจากการปรับตัวในทางตรง (Direct Adaptation) ครั้ง แรกไม่สามารถกาจัดสิ่งที่มารบกวนได้ กระตุ้นให้เกิดความเครียดใหม่ขึ้นมาร่างกายก็พยายามปรับตัวใหม่ เพื่อกาจัด ความเครียดนี้ เรียกว่าเป็นการปรับตัวทางอ้อม (Indirect Adaptation) ต่อความเครียดอันแรก จากจุดนี้จึงเริ่มต้น S-A Cycle 3. การปรับตัวของร่างกายทั้งตัว (Systemic Level) จะเกิดขึ้นเมื่อการปรับตัวทางตรงในระดับอวัยวะไม่ ประสบผลสาเร็จ ทาให้เกิดความเครียดอันใหม่ขึ้น จึงต้องมีการปรับตัวอีก และเป็นการปรับตัวทางอ้อม (Indirect Adaptation) ที่สัมพันธ์กับความเครียดครั้งแรก ดังนั้น S-A Cycle จะดาเนินต่อไป ทฤษฎีความเครียดของดูแกน และคณะ (Dougan et al., 1986, pp. 191-198 อ้างถึงในวิลาวัณย์ วรศรีหิรัญ, 2536, หน้า 26) กล่าวถึงอาการต่าง ๆ ของความเครียด โดยแบ่งออกเป็น 4 ด้าน ดังนี้ 3.1 ด้านอารมณ์ (Mood) เช่น รู้สึกหงุดหงิด ฉุนเฉียวง่าย กังวลใจ รู้สึกสับสน หลงลืมง่าย รู้สึกเศร้า เบื่อ หน่าย เป็นต้น 3.2 ด้านอวัยวะ (Organs) เช่น หัวใจเต้นแรง หายใจถี่ กระเพาะอาหารปั่นป่วน วิงเวียนศีรษะ ปากคอแห้ง เป็นต้น 3.3 ด้านกล้ามเนื้อ (Muscles) เช่น มือ นิ้วสั่น เส้นกระตุก กล้ามเนื้อยึด พูดตระกุกตระกัก ตามวัย ปวดหลัง เป็นต้น 3.4 ด้านพฤติกรรม (Behavior) เช่น ลุกลี้ลุกลน นอนไม่หลับ ความต้องการทางเพศ ลดลง เดินตัวเกร็ง เป็น ต้น ลักษณะและรูปแบบทฤษฎีความเครียด 1. ทฤษฎีความเครียดที่เน้นทางด้านจิตวิทยา (Psychology) ประกอบด้วยรูปแบบดังนี้ 1.1 รูปแบบพื้นฐานของการตอบสนอง ( ResponseXBased Model) เป็นรูปแบบที่อธิบายว่า ความเครียดเป็นกลุ่มของสิ่งรบกวนที่ขัดขวางการตอบสนองทางสรีระวิทยาและจิตวิทยาของบุคคลต่อภาวะคุกคาม ทฤษฎีกลุ่มนี้ได้แก่ ทฤษฎีพื้นฐานความเครียดของ Selye ที่อธิบายว่า ความเครียดเป็นการตอบสนองในกลุ่มอาการที่ ไม่เฉพาะเจาะจง (General Adaptation Syndrome) หรือ GAS เป็นต้น 1.2 รูปแบบพื้นฐานของสิ่งเร้า (Stimulation–based Model) เป็นรูปแบบที่ อธิบายว่า ความเครียดเป็น กลุ่มของสถานการณ์ของสิ่งแวดล้อมที่เป็นสิ่งเร้ามากระตุ้นให้เกิดการตอบสนอง และสิ่งเร้านี้เป็นบ่อเกิดของ ความเครียด เช่น ความมากเกินพอความขัดแย้ง และสิ่งที่นอกเหนือการควบคุม ทฤษฎีในกลุ่มนี้ เช่น ทฤษฎีความ เปลี่ยนแปลงในชีวิตกับการเจ็บป่วยของ Holmes และ Rahe (1967 อ้างถึงใน วนิดา รัตนมงคล, 2542: 35) ทฤษฎีนี้ เชื่อว่าเหตุการณ์ต่างๆ ที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในชีวิตถือว่าเป็นภาวะเครียดที่ทาให้มนุษย์ต้องปรับตัว
  • 6. 6 1.3 รูปแบบปฏิสัมพันธ์ของความเครียด (Interaction Model of Stress) เป็นรูปแบบที่มีพื้นฐานแนวคิด จาก 2 รูปแบบแรกรวมกัน และศึกษาในมิติที่ว่าความเครียดเป็นความไม่สมดุลระหว่างความต้องการ และ ความสามารถในการตอบสนองของบุคคล ความเครียดจะเกิดขึ้นเมื่อบุคคลได้รับความคุกคาม และไม่สามารถจัดการ กับความเครียดได้ ถ้าบุคคลมีแรงจูงใจสูง มีความสมดุลระหว่างความต้องการ และการตอบสนองบุคคลนั้นจะ ปลอดภัยจากความเครียด นักทฤษฎีความเครียดในกลุ่มนี้ ได้แก่ Lasarus และคณะ (1987 อ้างถึงใน วนิดา รัตนมง คล, 2542: 32) 2. ทฤษฎีความเครียดเกี่ยวกับการปฏิบัติงาน (Job Stress) ทฤษฎีในกลุ่มนี้ได้นามาใช้อธิบายความเครียดใน การทางานอย่างกว้างขวาง ได้แก่ ทฤษฎีความสอดคล้องระหว่างบุคคลกับสิ่งแวดล้อม (PersonX Environment Fit Theory) ซึ่งเป็นแนวคิดของ French และคณะ ทฤษฎีนี้ตั้งบนแนวคิดสาคัญ 2 ประการ คือ ความบีบคั้นขององค์การ และความเครียดของบุคคล ปฏิสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบทั้งสองนี้ มีผลต่อสุขภาพและศักยภาพในการทางานของ บุคคล นั้นคือ ความเครียดจะเกิดขึ้นเมื่อการตอบสนอง (Supply) หรือความต้องการ (Demands) ของสิ่งแวดล้อม ไม่สมดุลกับความต้องการ (Needs) หรือความสามารถของบุคคล นั่นคือ ถ้าความต้องการ หรือความสามารถของ บุคคล และสิ่งแวดล้อมไม่สมดุล ผลที่ตามมาก็คือความเครียด ซึ่งจะมีผลสะท้อนกลับมาที่การปฏิบัติงานเกิดความรู้สึก ในทางที่ไม่ดีกับงาน นอกจากทฤษฎีนี้แล้ว ในกลุ่มนี้ยังมีแนวคิดว่าด้วย ความเครียดกับประสิทธิภาพในการทางาน ซึ่ง เป็นแนวคิดของ Worechel และ Wayne (1980 อ้างถึงใน วนิดา รัตนมงคล, 2542: 32 ) ที่กล่าวว่า ความเครียดเป็น ทั้งคุณและโทษ ระดับความเครียดมีความสัมพันธ์ทั้งทางบวกและทางลบกับสัมฤทธิผลของการทางาน คือระดับ ความเครียดที่เหมาะสม (Eustress) จะมีสัมฤทธิผลของการทางานสูงสุด ซึ่งจะอยู่จุดสูงสุดของตัวยูหัวกลับ ถ้า ความเครียดสูงกว่านี้ สัมฤทธิผลของการทางานจะลดลงอย่างรวดเร็ว และยังเสนอว่า ความเครียดน้อยก็ทาให้ผลงาน ต่ํา และผลของงานกับระดับความเครียดจะผันแปรอยู่ระหว่างคนกับองค์การ 3. ทฤษฎีความเครียดที่เน้นผลกระทบของความเครียดที่มีต่อบุคคล ทฤษฎีในกลุ่มนี้ ได้แก่ 3.1 สมมติฐานตัวยูหัวกลับ (Inverted –U Hypothesis) ซึ่งอธิบายว่า เมื่อความเครียดเพิ่มขึ้น ผลการ ทางาน (Job Performance) จะสูงขึ้นจนสูงสุดของโค้งตัวยูหัวกลับและความเครียดที่มากหรือน้อยเกินไปมีผลทา ให้ผลการทางานต่ากว่าด้วย ดังที่ selye (อ้างถึงใน ประณิตา ประสงค์จรรยา, 2542) เรียกความเครียดที่มีผลใน ทางบวกวา Eustress และเรียกความเครียดในทางลบว่า Disress ซึ่งสามารถแสดงความสัมพันธ์กันได้ 3.2 ทฤษฎีการตรวจจับสัญญาน (Signal Detection Theory) เป็นทฤษฎีที่ว่าด้วยการตอบสนองเมื่อ ร่างกาย ได้รับสัญญาณกระตุ้นจากสิ่งที่คุกคาม จะตอบสนองทั้งร่างกายและจิตใจ วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน -ปรึกษาเลือกหัวข้อ -นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน -ศึกษารวบรวมข้อมูล -จัดทารายงาน -นาเสนอครู -ปรับปรุงและแก้ไข เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ -อินเทอร์เน็ต -คอมพิวเตอร์ -โทรศัพท์ งบประมาณ 500 บาท
  • 7. 7 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1.คนในสังคมไทยทุกคนจะสามารถนาไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ที่สุด 2.คนในสังคมไทยไม่ตึงเครียด 3.ลดความเสี่ยงโรคที่เป็นผลมาจากความเครียด 4.คนในสังคมไทยโดยเฉพาะวัยรุ่นแก้ปัญหาได้ถูกจุด สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 2.กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา 3.กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) https://boonkit54.blogspot.com/2013/08/blog-post_6180.html