SlideShare a Scribd company logo
1 of 33
เพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศ
ความหมายเกี่ยวกับสารสนเทศ
ความหมายเกี่ยวกับสารสนเทศ
 ข้อมูล คือ ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเหตุการณ์ หรือข่าวสาร
ที่ยังไม่ผ่านการประมวลผล
 สารสนเทศ คือ ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผล หรือ
การวิเคราะห์
ความหมายเกี่ยวกับสารสนเทศ
 เทคโนโลยีสารสนเทศ คือ เทคโนโลยีประกอบด้วย
ระบบจัดเก็บ และประมวลข้อมูล
 ระบบสารสนเทศ คือ กระบวนการประมวลผลข้อมูลให้
อยู่เป็นประโยชน์มากที่สุด
ขั้นตอนการทาข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ
 รวบรวมและตรวจสอบข้อมูล
 ดาเนินการประมวลผลข้อมูลให้กลายเป็นสารสนเทศ
 ดูแลรักษาสารสนเทศเพื่อการใช้งาน
ลักษณะสารสนเทศที่ดี
 ความเที่ยงตรง
 ทันต่อความต้องการใช้
 ความสมบูรณ์
 สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้
 ตรวจสอบได้
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประกอบด้วยระบบที่ทางานร่วมกัน โดยมีองค์ประกอบสาคัญ 3 ประการ
1.ระบบประมวลผล
ความซับซ้อนในการปฏิบัติงานและความต้องการสารสนเทศที่หลากหลายจึงยุ่งยากในการประมวลผข้อมูล
ปัจจุบันจึงใช้การจัดการด้วยระบบคอมพิวเตอร์
2.ระบบสื่อสารโทรคมนาคม
เป็นการสื่อสารซึ่งสาคัญต่อการเผยแพร่ข้อมูล ซึ่งระบบที่ดีจะต้องมีความครอบคลุม
3.การจัดการข้อมูล
เป็นการใช้ความรู้ทักษะการใช้อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศจัดการข้อมูลให้สื่อสารได้ตรงกัน
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ หรือ เอ็มไอเอส
ระบบที่รวมผู้ใช้และอุปกรณ์ต่างๆเข้าไว้ด้วยกัน หรือกล่าวง่ายๆคือระบบนี้จะใช้วิเคราะห์ระบบอื่นๆเพื่อมาประยุกต์
ใช้จาแนกเครื่องมือไว้3 ส่วนได้แก่
1.เครื่องมือในการสร้างระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ หมายถึง ส่วนประกอบหรือโครงสร้างพื้นฐานที่รวมกัน
เข้าเป็นระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
1.1 ฐานข้อมูล หัวใจสาคัญของระบบสารสนเทศ รวบรวมข้อมูลที่ดีเพื่อให้
ได้ระบบสารสนเทศที่ดี
1.2 เครื่องมือ จัดเก็บและประมวลผลข้อมูลรวมทั้งอุปกรณ์ และ ชุดคาสั่ง
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
2. วิธีการหรือขั้นตอนการประมวลผล
งานที่ดีต้องมีการวางแผนและวิธีการประมวลผลที่ถูกต้อง
3. การแสดงผลลัพธ์
เป็นการนาเสนอในรูปแบบต่างๆ
คุณสมบัติของระบบสารสนเทศ
1.ความสามารถในการจัดการข้อมูล
2.ความปลอดภัยของข้อมูล
3.ความยืดหยุ่น
4.ความพอใจของผู้ใช้
ระบบของสารสนเทศในการตัดสินใจ
แบ่งเป็น 4 ระดับ
1.ระดับการวางแผนยุทธศาสตร์ระยะยาว
2.ระดับวางแผนการบริหาร
3.ระดับวางแผนปฏิบัติการ
4.ระดับผู้ปฏิบัติการ
ระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูล
• กลุ่มของข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน
• นามาจัดเก็บในที่เดียวกัน
• เพื่อประสิทธิภาพในการจัดการข้อมูล
ข้อดีของระบบฐานข้อมูล
 การใช้ข้อมูลร่วมกัน
 ลดความซ้าซ้อนของข้อมูล
 ข้อมูลมีความถูกต้องมากขึ้น
 เพิ่มความปลอดภัยให้กับข้อมูล
 มีความเป็นอิสระของข้อมูล
โครงสร้างในการจัดเก็บข้อมูลในระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูล คือ ระบบที่แฟ้มข้อมูลหลายๆข้อมูล
โดยการจัดการความซ้าซ้อนของข้อมูลออก ต้องอาศัย
โปรแกรมประยุกต์ซึ่งคอมพิวเตอร์จะเก็บข้อมูลใน
รูปแบบบิตเลข 0 กับ 1 เท่านั้น ซึ่ง 1 ไบต์หรือ 1 อักขระ
จะเท่ากับ 8 บิต
องค์ประกอบ
 เขตข้อมูลหรือฟิลด์ (Field)
คือ หน่วยข้อมูลที่ประกอบด้วยหลายอักขระ แบ่งเป็น
1) ฟิลด์ตัวเลข ได้แก่ อักขระที่เป็นตัวเลข
2) ฟิลด์ตัวอักษร ได้แก่ อักขระที่เป็นตัวอักษร
3) ฟิลด์อักขระ ได้แก่ อักขระที่เป็นตัวเลขหรือตัวอักษร
องค์ประกอบ
 ระเบียนหรือเรคอร์ด (Record)
คือ กลุ่มของฟิลด์ที่สัมพันธ์กัน ซึ่งระเบียนแต่ละระเบียนจะมีฟิลด์ที่ใช้
อ้างอิงข้อมูล เรียกว่า คีย์ฟิลด์
ภาพแสดงระเบียนหรือเรคอร์ด (Record)
องค์ประกอบ
 แฟ้ มข้อมูล คือ ตารางที่เก็บข้อมูลในด้านต่างๆ
ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 จะมีการจัดเก็บข้อมูลในลักษณะที่เป็นกลุ่มของข้อมูลที่มีความสัมพันธ์
กัน ในฐานข้อมูลหนึ่งๆ สามารถที่จะมีตารางตั้งแต่ 1 ตารางเป็นต้นไป
และในแต่ละตารางนั้นก็สามารถมีได้หลายคอลัมน์(Column) หลาย
แถว (Row) การรวบรวมตารางที่มีความสัมพันธ์กันเข้าไว้ด้วยกัน
ซึ่งสามารถแบ่งชนิดความสัมพันธ์ได้ดังนี้
1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง
 เป็นความสัมพันธ์ที่ทาความเข้าใจง่ายที่สุด เนื่องจากเรคอร์ด 1 เรคอร์ด ในตาราง
หนึ่งจะมีความสัมพันธ์กับเรคอร์ด 1 เรคอร์ด ในอีกตารางหนึ่งเท่านั้น ความสัมพันธ์
แบบนี้ สามารถรวมเป็นตารางเดียวได้
2. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม
 เป็นความสัมพันธ์แบบที่พบได้บ่อยที่สุดในระบบฐานข้อมูลทั่วไป ความสัมพันธ์
แบบนี้เป็นความสัมพันธ์ที่เรคอร์ด 1 เรคอร์ดในตารางหนึ่ง จะสัมพันธ์กับจานวน
เรคอร์ด 2 เรคอร์ด หรือมากกว่าในอีกตารางหนึ่ง
ชนิดความสัมพันธ์
3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม
 เป็นความสัมพันธ์แบบที่ไม่สามารถแสดงให้เห็นได้ง่าย โดยสร้างตารางใหม่ที่มี
ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อหนึ่ง สองตาราง แทนตารางที่มีความสัมพันธ์แบบ
กลุ่มต่อกลุ่มได้
 ในระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ จะต้องกาหนดชนิดของคีย์ต่างๆ เพื่อเป็นฟิลด์
พิเศษที่ทาหน้าที่บางอย่าง เช่น เป็นตัวแทนของตาราง ซึ่งถูกกาหนดเพื่อความ
สะดวกในการอ้างถึง ในการออกแบบฐานข้อมูลสามารถแบ่งชนิดของคีย์ใน
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ได้ดังนี้
ชนิดความสัมพันธ์
3.1 คีย์หลัก(primary key)
• เป็นฟิลด์ที่มีค่าไม่ซ้ากันในแต่ละเรคอร์ดในตารางนั้น สามารถใช้ฟิลด์ที่เป็นคีย์หลัก เป็น
ตัวแทนของตารางนั้นได้ทันที
3.2 คีย์คู่แข่ง(candidate key)
• เป็นฟิลด์หนึ่งหรือหลายฟิลด์ที่นามารวมกันแล้วมีคุณสมบัติเป็นคีย์หลัก ไม่ซ้า และ
ไม่ได้ถูกใช้เป็นคีย์หลัก
3.3 คีย์ผสม(composite key)
• บางตารางหาฟิลด์ที่ไม่ซ้าไม่ได้ จึงต้องใช้หลายๆ ฟิลด์ มารวมกันเป็นคีย์หลัก ฟิลด์
ที่ใช้รวมกันเรียกว่า คีย์ผสม
คีย์ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
การออกแบบระบบฐานข้อมูล
 เป็นขั้นตอนแรกในการสร้างแอปพลิเคชันฐานข้อมูล โดยกาหนดฟิลด์ของระบบ
คีย์หลัก ความสัมพันธ์ของข้อมูลและตารางข้อมูลที่สัมพันธ์กัน
ขั้นตอนในการออกแบบฐานข้อมูล
 1. กาหนดระเบียนทุกตัวในระบบฐานข้อมูล เช่น ในระบบฐานข้อมูลของนักเรียน
ประกอบด้วยฟิลด์รหัสประจาตัวนักเรียน ชื่อ-นามสกุลของนักเรียน ผลการเรียน
 2. กาหนดคีย์หลัก และฟิลด์ต่างๆ ของระเบียบ เช่น คีย์หลักของฟิลด์ คือ รหัส
ประจาตัวนักเรียนและฟิลด์ที่ไม่ใช่คีย์หลัก เช่น ชื่อ-นามสกุล อายุ
 3. กาหนดความสัมพันธ์ระหว่างระเบียนต่างๆ เช่น ชื่อ-นามสกุล และผลการเรียน
เป็นความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม
 4. เปลี่ยนระเบียนที่ได้ไปอยู่ในรูปตาราง โดยใช้โปรแกรมจัดการฐานข้อมูล
ซอฟแวร์การจัดการฐานข้อมูลที่สามารถออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์สาหรับ
ใช้งานมีหลายซอฟแวร์ เช่น Microsoft Access ที่อยู่ในชุด Microsoft Office
ซอฟแวร์ Base ที่อยู่ในชุด Open Office.org ซึ่งซอฟแวร์ที่จะนาเสนอให้ฝึกใช้
คือ ซอฟต์แวร์ Baseโดยมีขั้นตอนการใช้งาน ดังนี้
1. เปิดใช้งานซอฟต์แวร์ OpenOffice.org Base มีขั้นตอนดังนี้
 1. การเรียกซอฟแวร์ Base ขึ้นมา เลือกเมนู
Start>Programs>OpenOffice.org3.3>OpenOffice.org Base
 2. เลือกสร้างไฟล์ฐานข้อมูลใหม่ Create a new database จากนั้นคลิกปุ่มคาสั่ง
 3. ตั้งชื่อให้กับไฟล์ฐานข้อมูลจากนั้นคลิกปุ่มคาสั่ง Save
 เมื่อทาการ Save เรียบร้อย จะปรากฏหน้าต่างการทางานเริ่มต้นของ Base
2. การสร้างตาราง (Table) มีขั้นตอนดังนี้
 1. เลือกวัตถุที่ต้องการสร้าง คือ ตาราง(Tables)
 2. คลิกที่คาสั่ง Create Table In Design View
 3. กาหนดรายละเอียดลงในคอลัมน์ ชื่อเขตข้อมูล (Fieeld Name) ชนิดของข้อมูลที่
จัดเก็บ(Field Type) และการบันทึกช่วยจาหรือคาอธิบายต่างๆ(Description)
 4. ใส่ชื่อลงในคอลัมน์ Field Name
 5. ใส่ชนิดข้อมูลของฟิลด์ลงในคอลัมน์ Field Type
 6. ใส่คาอธิบายเพิ่มเติมในคอลัมน์ Description แล้วเพิ่มฟิลด์ในตารางให้ครบ
 7. คลิกเมาส์ขวาเลือก Primary Key เพื่อกาหนดฟิลด์ที่เป็นคีย์หลักในตาราง
 8. คลิกปุ่มคาสั่ง(Icon)แล้วตั้งชื่อตารางเพื่อบันทึก เมื่อตั้งชื่อตารางเรียบร้อย คลิกOK
 9. เมื่อทาการบันทึกเรียบร้อยจะปรากฏมุมมองแสดงตารางที่ออกแบบขึ้นมา
3. การใส่ข้อมูลในตาราง มีขั้นตอนดังนี้
 1. ดับเบิลคลิกตารางที่จะใส่ข้อมูล
 2. ปรากฏมุมมอง Table Data
 3. เมื่อกรอกข้อมูลในตารางสาหรับบันทึกข้อมูลนักเรียนแล้ว สามารถเพิ่มเรคอร์ด
ด้วยการดับเบิลคลิกที่ตาราง เพื่อกรอกข้อมูล
 4. เลือกวัตถุที่ต้องการ คือ ตาราง (Tables)
 5. คลิกเลือกที่คาสั่ง Create Table in Design View
 6. กาหนดรายละเอียดลงในคอลัมน์ ชื่อเขตข้อมูล (Fieid Name) ชนิดของข้อมูลที่
จัดเก็บ (Field Type) และการบันทึกช่วยจาหรืออธิบายต่างๆ (Description)
 7. คลิกเมาส์ขวาเลือก Primary Key เพื่อกาหนดฟิลด์ที่เป็นคีย์หลักในตาราง
 8. คลิกปุ่มคาสั่ง (Icon) แล้วตั้งชื่อตารางเพื่อบันทึกเมื่อตั้งชื่อตารางเรียบร้อย คลิกOK
4. การสร้างแบบสอบถาม (Queries)
 9. เมื่อทาการบันทึกเรียบร้อย จะปรากฏมุมมอง แสดงตารางที่ออกแบบขึ้นมา
 10. กรอกข้อมูลในตาราง แล้วบันทึกข้อมูล
 1. เลือกวัตถุที่ต้องการสร้าง คือ แบบสอบถาม (Queries)
 2. คลิกที่คาสั่ง Create Query in Design View
 3. โปรแกรมจะแสดงตารางหรือแฟ้มข้อมูลที่อยู่ในฐานข้อมูลมาแสดงเพื่อให้ผู้ใช้
เลือก Add ลงบนแบบสอบถาม (Queries) ด้วยการเลือกตารางแล้วคลิกที่ปุ่มคาสั่ง
Add
 4. สร้างความสัมพันธ์ของตาราง โดยลากข้อมูล Gender จากตาราง Table-student
มาวางทับที่เขตข้อมูล Gender ของตาราง Table_Gender
5. การสร้างฟอร์ม (Forms)
 5. เลือกเขตข้อมูลที่ต้องการ ในเขตข้อมูลที่ได้กาหนดไว้โดยลากตาราง
Tablestudent คือ prefix FristName LastName และเขตข้อมูล Explan จากตาราง
Table_Gender ด้วยการดับเบิลคลิกที่เขตข้อมูลหรือลากมาวางได้
 6. จากนั้นให้คลิกปุ่มคาสั่ง (Icon) และตั้งชื่อแบบสอบถาม คลิกปุ่ม คาสั่งOK
 1. เลือกวัตถุที่ต้องการสร้าง คือ ฟอร์ม (Forms)
 2. คลิกที่คาสั่ง Use Wizard to Create Form
 3. คลิกเลือก Field selection เพื่อกาหนด Available fields ไปที่ Fields in the from
แล้วคลิกปุ่มคาสั่ง Finish
 4. คลิกเลือก Arrange controls เพื่อกาหนดรูปแบบฟอร์มที่ต้องการ แล้วคลิกปุ่ม
คาสั่ง Finish
6. การสร้างรายงาน (Reports)
 1. เลือกวัตถุที่ต้องการสร้าง คือ รายงาน (Reports)
 2. คลิกเลือกคาสั่ง Use Wizard to Create Report
 3. คลิกเลือก Field selection เพื่อกาหนด Available fields ไปที่ Fields in report คลิก
ปุ่มคาสั่ง Finish
 4. คลิกเลือก Sort option เพื่อกาหนดฐานข้อมูลที่ต้องการรายงาน แล้วคลิกปุ่มคาสั่ง
Finish
ขอบคุณสาหรับการรับชม
จัดทาโดย
นางสาวตระการตา สมัชชัย เลขที่ 21
นายไชยวัฒน์ สุวรรณภูมิ เลขที่ 22
นายธนทัต ดีมารยาตร์ เลขที่ 25
นางสาวอนัญญา ภู่โทสนธิ์ เลขที่ 26
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/4
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า

More Related Content

What's hot

Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007Wee Jay
 
Lesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูล
Lesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูลLesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูล
Lesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูลErrorrrrr
 
Lesson 3 ตาราง
Lesson 3 ตารางLesson 3 ตาราง
Lesson 3 ตารางErrorrrrr
 
งานคอมนางสาว มลทิรา เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสารงานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสารmiwmilk
 
Lesson 5 การสร้าง form
Lesson 5 การสร้าง formLesson 5 การสร้าง form
Lesson 5 การสร้าง formErrorrrrr
 
Lesson 6 การสร้างรายงาน
Lesson 6 การสร้างรายงานLesson 6 การสร้างรายงาน
Lesson 6 การสร้างรายงานErrorrrrr
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2Orapan Chamnan
 
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์Kochakorn Noiket
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลssuseraa96d2
 
ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2Orapan Chamnan
 
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้นระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้นTophuto Piyapan
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2Ja Phenpitcha
 

What's hot (17)

Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007
 
Slide Chapter1
Slide Chapter1Slide Chapter1
Slide Chapter1
 
Lesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูล
Lesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูลLesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูล
Lesson 2 ไฟล์ฐานข้อมูล
 
Microsoft excel
Microsoft excelMicrosoft excel
Microsoft excel
 
แนวการสอบ ม.4
แนวการสอบ ม.4แนวการสอบ ม.4
แนวการสอบ ม.4
 
Lesson 3 ตาราง
Lesson 3 ตารางLesson 3 ตาราง
Lesson 3 ตาราง
 
งานคอมนางสาว มลทิรา เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสารงานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
 
MS Access 2010 - Query
MS Access 2010 - QueryMS Access 2010 - Query
MS Access 2010 - Query
 
Lesson 5 การสร้าง form
Lesson 5 การสร้าง formLesson 5 การสร้าง form
Lesson 5 การสร้าง form
 
Pivot
PivotPivot
Pivot
 
Lesson 6 การสร้างรายงาน
Lesson 6 การสร้างรายงานLesson 6 การสร้างรายงาน
Lesson 6 การสร้างรายงาน
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2
 
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
 
ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2
 
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้นระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
 

Similar to สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ

งานคอมกลุ่ม6
งานคอมกลุ่ม6งานคอมกลุ่ม6
งานคอมกลุ่ม6Aum Forfang
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศchushi1991
 
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2Hitsuji12
 
บทที่ 1
บทที่  1บทที่  1
บทที่ 1leoleaun
 
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจTrakarnta Samatchai
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลchaiwat vichianchai
 
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลบทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลRungnapa Rungnapa
 
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจTiger Tanatat
 
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศPraphaphun Kaewmuan
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลIsareeya Keatwuttikan
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลniwat50
 
บทที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศ
บทที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศบทที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศ
บทที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศnawapornsattasan
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22MyunDao
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22MyunDao
 
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลปิยะดนัย วิเคียน
 

Similar to สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ (20)

Database analysis & pivot table
Database analysis & pivot tableDatabase analysis & pivot table
Database analysis & pivot table
 
งานคอมกลุ่ม6
งานคอมกลุ่ม6งานคอมกลุ่ม6
งานคอมกลุ่ม6
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
 
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
 
Mis 1
Mis 1Mis 1
Mis 1
 
บทที่ 1
บทที่  1บทที่  1
บทที่ 1
 
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
 
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลบทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
 
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
บทที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศ
บทที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศบทที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศ
บทที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศ
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
 

สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ