SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
ข้อมูล (Data) หมายถึง ข่าวสาร เอกสาร ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับบุคคล สิ่งของหรือเหตุการณ์ในรูปแบบของ
ตัวเลข ภาพ ตัวอักษร และสัญลักษณ์ต่างๆ เช่นคะแนนสอบวิชาภาษาไทย ราคาสินค้า จานวนนักเรียนใน
โรงเรียน
    สารสนเทศ (Information) หมายถึง ข้อมูลต่างๆ ที่ได้ผ่านการเปลี่ยนแปลงหรือมีการประมวลผลหรือ
วิเคราะห์สรุปผล
ด้วยวิธีการต่าง ๆแล้วเก็บรวบรวมไว้ เพื่อนามาใช้ประโยชน์ตามต้องการการประมวล (Data Processing)เป็น
การนาข้อมูลจาก
แหล่งต่างๆที่เก็บรวบรวมไว้มาผ่านกระบวนการต่างๆเพื่อแปรสภาพ
ข้อมูลให้เป็นระบบและอยู่ในรูปแบบที่ต้องการ

                                          ข้อมูลและสารสนเทศ

ในปัจจุบันการแข่งขันทางธุรกิจต้องอาศัยข้อมูลเป็นหลักจึงมีการนาเอาเทคโนโลยีมาช่วยจัดการข้อมูลอย่าง
มาก ดังจะเห็นได้จากการแข่งขันการให้บริการของธนาคารพาณิชย์การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ
ประกอบการตัดสินใจลงทุนซื้อขาย หลักทรัพย์ ข้อมูลเป็นหัวใจของการดาเนินงานเป็นแหล่งความรู้ที่ใช้
ประกอบการตัดสินใจ บริษัทหรือองค์การ จึงดาเนินการ อย่างจริงจังให้ได้มาซึ่งข้อมูล และปกป้องดูแล
ข้อมูลของตนเป็นอย่างดี เพราะข้อมูลเป็นสิ่งมีค่ามีราคา การโจรกรรม ข้อมูลโดยใช้เทคโนโลยีใหม่ ๆจึงเป็น
ปัญหาสาคัญที่เกิดขึ้น ดังที่ปรากฏเป็นข่าวทั้งในประเทศและต่างประเทศ
   ข้อมูล (DATA) คือ ข้อเท็จจริง หรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่าง ๆ เช่น คน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ ฯลฯ
ข้อมูล จึงเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับเหตุการณ์ของสิ่งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง มีการ รวบรวม ข้อมูลอย่างเป็น
ระบบ และต่อเนื่อง ดังจะเห็นจาก กระบวนการเลือกตั้ง หลายพรรค การเมือง มีการใช้เทคโนโลยีรวบรวม
ข้อมูล หาวิธีการที่จะให้ได้ข้อมูลอย่างรวดเร็ว และเมื่อ สถานการณ์หรือเหตุการณ์บางอย่างเกิดผันแปรขึ้น
การเตรียมการหรือการแก้สถานการณ์ จะดาเนินการได้อย่างทันท่วงที
จากที่กล่าวมาแล้ว ข้อมูลคือ ข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ เช่น คน สถานที่ สิ่งของต่าง ๆ
ซึ่งมีการเก็บรวบรวมเอาไว้ และสามารถเรียกมาใช้ประโยชน์ได้ในภายหลัง ข้อมูลจึงจาเป็น ต้องเป็นข้อมูลที่
ดีมี ความถูกต้องแม่นยา
       สาหรับสารสนเทศ หมายถึง สิ่งที่ได้จากการนาเอาข้อมูลที่เก็บรวบรวมไว้มาประมวลผล เพื่อนามาใช้
   ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ สารสนเทศจึงหมายถึงข้อมูลที่ผ่านการเลือกสรรให้เหมาะกับการใช้งานได้
ทันเวลาและอยู่ในรูปแบบ
ที่ใช้ได้ สารสนเทศที่ดีต้องมาจากข้อมูลที่ดี การจัดเก็บข้อมูลและสารสนเทศ จะต้องมีการควบคุม ดูแลเป็น
อย่างดี เช่น อาจจะมีการกาหนด ให้ผู้ใดบ้างเป็นผู้มีสิทธิ์ใช้ข้อมูลได้ ข้อมูลที่เป็นความลับ จะต้องมีระบบ
ขั้นตอนการควบคุมกาหนดสิทธิ์ในการแก้ไขหรือการกระทากับข้อมูลว่าจะกระทาได้โดยใครบ้าง
นอกจากนี้ข้อมูลที่เก็บไว้แล้วต้องไม่เกิดการสูญหายหรือถูกทาลายโดยไม่ได้ตั้งใจ
           ข้อมูล (Data) คือ ข้อเท็จจริงหรือสาระต่าง ๆที่เกี่ยวข้องกับงานที่ปฏิบัติ อาจเป็นตัวเลขหรือข้อความ
ที่เกิดขึ้นจาก การ ดาเนินงาน หรือที่ได้จากหน่วยงานอื่น ๆ ข้อมูลเหล่านี้ ยังไม่สามารถนาไปใช้ประโยชน์
ในการตัดสินใจได้ทันที จะนาไปใช้ได้ก็ต่อเมื่อผ่านกระบวนการประมวลผลแล้ว
       สารสนเทศ (Information) นั้นคือ ข้อมูลที่ได้ผ่านกระบวนการประมวลผลแล้ว อาจใช้วิธีง่าย ๆ เช่น หา
ค่าเฉลี่ย หรือใช้ เทคนิคขั้นสูง เช่นการวิจัยดาเนินงาน เป็นต้น เพื่อเปลี่ยนแปลงสภาพข้อมูลทั่วไปให้อยู่ใน
รูปแบบที่มีความสัมพันธ์ หรือ มีความเกี่ยว ข้องกัน เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจหรือตอบปัญหา
ต่าง ๆ ได้ สารสนเทศ ประกอบด้วยข้อมูล เอกสาร เสียง หรือรูปภาพต่าง ๆ แต่จัดเนื้อเรื่องให้อยู่ในรูปที่มี
ความหมาย สารสนเทศไม่ใช่จากัดเฉพาะเพียงตัวเลขเพียงอย่างเดียวเท่านั้น
                                          คุณสมบัติของข้อมูล

การจัดเก็บข้อมูลจาเป็นต้องมีความพยายามและตั้งใจดาเนินการ หรือกล่าวได้ว่าการได้มาซึ่งข้อมูลที่จะ
นามาใช้
ประโยชน์ องค์การจาเป็นต้องลงทุน ทั้งในด้านตัวข้อมูล เครื่องจักร และอุปกรณ์ ตลอดจนการพัฒนา
บุคลากรขึ้นมารองรับ เพื่อให้ใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพ การจัดการระบบข้อมูลจึงต้องคานึงถึงปัญหา
เหล่านี้ และพยายามมองปัญหาแบบที่เป็น
จริง สามารถดาเนินการได้ ให้ประสิทธิผลคุ้มค่ากับการลงทุน ดังนั้นการดาเนินงานเพื่อให้ได้มาซึ่ง
สารสนเทศที่ดี ข้อมูลจะต้องมีคุณสมบัติขั้นพื้นฐาน ดังนี้

    1. ความถูกต้อง หากมีการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้วข้อมูลเหล่านั้นเชื่อถือไม่ได้จะทาให้เกิดผลเสียอย่าง
มาก ผู้ใช้ไม่กล้าอ้างอิง
หรือนาเอาไปใช้ประโยชน์ ซึ่งเป็นเหตุให้การตัดสินใจของผู้บริหารขาดความแม่นยา และอาจมีโอกาส
ผิดพลาดได้ โครงสร้าง ข้อมูล ที่ออก แบบต้องคานึงถึงกรรมวิธีการดาเนินงานเพื่อให้ได้ความถูกต้องแม่นยา
มากที่สุด โดยปกติความผิดพลาดของสารสนเทศ ส่วนใหญ่ มา
จากข้อมูลที่ไม่มีความถูกต้องซึ่งอาจมีสาเหตุมาจากคนหรือเครื่องจักร การออกแบบระบบจึงต้องคานึงถึงใน
เรื่องนี้

    2. ความรวดเร็วและเป็นปัจจุบัน การได้มาของข้อมูลจาเป็นต้องให้ทันต่อความต้องการของผู้ใช้ มีการ
ตอบสนองต่อผู้ใช้ได้ตี ความหมายสารสนเทศได้ทันต่อเหตุการณ์หรือความต้องการ มีการออกแบบระบบ
การเรียนค้น และรายงานตามผู้ใช้

    3. ความสมบูรณ์ ความสมบูรณ์ของสารสนเทศขึ้นกับการรวบรวมข้อมูลและวิธีการทางปฏิบัติด้วย ใน
การดาเนินการจัดทา
สารสนเทศต้องสารวจและสอบถามความต้องการใช้ข้อมูลเพื่อให้ได้ข้อมูลที่สมบูรณ์ในระดับหนึ่งที่
เหมาะสม

      4. ความชัดเจนและกะทัดรัด การจัดเก็บข้อมูลจานวนมากจะต้องใช้พื้นที่ในการจัดเก็บข้อมูลมากจึง
จาเป็นต้องออกแบบโครงสร้างข้อมูลให้กะทัดรัดสื่อความหมายได้ มีการใช้รกัสหรือย่นย่อข้อมูลให้
เหมาะสมเพื่อที่จะจัดเก็บเข้าไว้ในระบบคอมพิว
เตอร์

    5. ความสอดคล้อง ความต้องการเป็นเรื่องที่สาคัญ ดังนั้นจึงต้องมีการสารวจเพื่อหาความต้องการของ
หน่วยงานและองค์
การ ดูสภาพการใช้ข้อมูล ความลึกหรือความกว้างของขอบเขตของข้อมูลที่สอดคล้องกับความต้องการ


    การทาข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ

    การทาข้อมูลให้เป็นสารสนเทศที่จะเป็นประโยชน์ต่อการใช้งาน จาเป็นต้องอาศัยเทคโนโลยีเข้ามาช่วย
ในการดาเนินการ เริ่มตั้งแต่การรวบรวมและตรวจสอบข้อมูล การดาเนินการประมวลผลข้อมูลให้กลายเป็น
สารสนเทศ และการดูแลรักษาสารสนเทศ เพื่อการใช้งาน


1. การรวบรวมและตรวจสอบข้อมูล ควรประกอบด้วย

     1.1 การเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นเรื่องของการเก็บรวบรวมข้อมูลซึ่งมีจานวนมาก และต้องเก็บให้ได้อย่าง
ทันเวลา เช่น ข้อมูลการลงทะเบียนเรียนของนักเรียน ข้อมูลประวัติบุคลากร ปัจจุบันมีเทคโนโลยีช่วยในการ
จัดเก็บอยู่เป็นจานวนมาก เช่น การป้อนข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ การอ่านข้อมูลจากรหัสแท่ง การตรวจ
ใบลงทะเบียนที่มีการฝนดินสอดาในตาแหน่งต่าง ๆ เป็นวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลเช่นกัน

     1.2 การตรวจสอบข้อมูล เมื่อมีการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้วจาเป็นต้องมีการตรวจสอบข้อมูล เพื่อ
ตรวจสอบความถูกต้อง ข้อมูลที่เก็บเข้าในระบบจะต้องมีความเชื่อถือได้ หากพบที่ผิดพลาดต้องแก้ไข การ
ตรวจสอบข้อมูลมีหลายวิธี เช่น การใช้ผู้ป้อนข้อมูลสองคนป้อนข้อมูลชุดเดียวกันเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์แล้ว
เปรียบเทียบกัน

2. การดาเนินการประมวลผลข้อมูลให้กลายเป็นสารสนเทศ อาจประกอบด้วยกิจกรรมดังต่อไปนี้

    2.1 การจัดแบ่งข้อมูล ข้อมูลที่จัดเก็บจะต้องมีการแบ่งแยกกลุ่ม เพื่อเตรียมไว้สาหรับการใช้งาน การ
แบ่งแยกกลุ่มมีวิธีการที่ชัดเจน เช่น ข้อมูลในโรงเรียนมีการแบ่งเป็นแฟ้มประวัตินักเรียน และแฟ้ม
ลงทะเบียน สมุดโทรศัพท์หน้าเหลืองมีกรแบ่งหมวดหมู่สินค้า และบริการ เพื่อความสะดวกในการค้นหา

     2.2 การจัดเรียงข้อมูล เมื่อจัดแบ่งกลุ่มเป็นแฟ้มแล้ว ควรมีการจัดเรียงข้อมูลตามลาดับ ตัวเลข หรือ
ตัวอักษร หรือเพื่อให้เรียกใช้งานได้ง่ายประหยัดเวลา ตัวอย่างการจัดเรียงข้อมูล เช่น การจัดเรียงบัตรข้อมูลผู้
แต่งหนังสือในตู้บัตรรายการของห้องสมุดตามลาดับตัวอักษร การจัดเรียงชื่อคนในสมุดรายนามผู้ใช้
โทรศัพท์ ทาให้ค้นหาได้ง่าย

     2.3 การสรุปผล บางครั้งข้อมูลที่จัดเก็บมีเป็นจานวนมาก จาเป็นต้องมีการสรุปผลหรือสร้างรายงานย่อ
เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ ข้อมูลที่สรุปได้นี้อาจสื่อความหมายได้ดีกว่า เช่นสถิติจานวนนักเรียนแยกตามชั้น
เรียนแต่ละชั้น

     2.4 การคานวณ ข้อมูลที่เก็บมีเป็นจานวนมาก ข้อมูลบางส่วนเป็นข้อมูลตัวเลขที่สามารถนาไปคานวณ
เพื่อหาผลลัพธ์บางอย่างได้ ดังนั้นการสร้างสารสนเทศจากข้อมูลจึงอาศัยการคานวณข้อมูลที่เก็บไว้ด้วย

3. การดูแลรักษาสารสนเทศเพื่อการใช้งาน ประกอบด้วย

   3.1 การเก็บรักษาข้อมูล การเก็บรักษาข้อมูลหมายถึงการนาข้อมูลมาบันทึกเก็บไว้ในสื่อบันทึกต่างๆ เช่น
แผ่นบันทึกข้อมูล
นอกจากนี้ยังรวมถึงการดูแล และทาสาเนาข้อมูล เพื่อให้ใช้งานต่อไปในอนาคตได้

    3.2 การค้นหาข้อมูล ข้อมูลที่จัดเก็บไว้มีจุดประสงค์ที่จะเรียกใช้งานได้ต่อไปการค้นหาข้อมูลจะต้องค้น
ได้ถูกต้องแม่นยา
รวดเร็ว จึงมีการนาคอมพิวเตอร์เข้ามามีส่วนช่วยในการทางาน ทาให้การเรียกค้นกระทาได้ทันเวลา
3.3 การทาสาเนาข้อมูล การทาสาเนาเพื่อที่จะนาข้อมูลเก็บรักษาไว้ หรือนาไปแจกจ่ายในภายหลัง จึงควร
จัดเก็บข้อมูลให้
ง่ายต่อการทาสาเนา หรือนาไปใช้อีกครั้งไดโดยง่าย

     3.4 การสื่อสาร ข้อมูลต้องกระจายหรือส่งต่อไปยังผู้ใช้งานที่ห่างไกลได้ง่าย การสื่อสารข้อมูลจึงเป็น
เรื่องสาคัญและมี
บทบาทที่สาคัญยิ่งท่จะทาให้การส่งข่าวสารไปยังผู้ใช้ทาได้รวดเร็วและทันเวลา
ตัวอย่าง 1




   ข้อความบนระเบียนประวัตินักเรียนด้านบน ทาให้ทราบว่า เพชร แข็งขัน เป็นนักเรียนชาย เกิดวันที่ 12
ม.ค. 2525 ที่อยู่บนระเบียนประวัตินักเรียนจึงเป็นข้อมูล

ถ้ามีการนาข้อมูลเกี่ยวกับปีเกิด ของนักเรียนทั้งโรงเรียนจากระเบียนประวัติไปแจกแจงตามปีเกิดดังนี้
จานวนนักเรียนที่ได้จากการแจกแจงข้อมูลตามปีเกิดจะเป็นสารสนเทศที่เกิดจากการนาข้อมูลไปทาการ
ประมวลผล

ตัวอย่างที่ 2

     ในการหาระดับคะแนนเฉลี่ยวิชาต่าง ๆ ของนักเรียนจะต้องเริ่มจากการหาระดับคะแนนของแต่ละวิชา
ของนักเรียน จากข้อมูลคะแนนของนักเรียนแล้วหาระดับคะแนนเฉลี่ยของนักเรียน จากข้อมูลที่เป็นระดับ
คะแนนแต่ละวิชา ซึ่งเป็นสารสนเทศจากการหาระดับคะแนน ดังแผนภูมิด้านล่าง




จะเห็นได้ว่า นาผลสรุปจากการประมวลผลข้อมูลแบบหนึ่ง นาไปใช้เป็นข้อมูลในการประมวลผลอีกแบบ
หนึ่ง ดังนี้
ชนิดและลักษณะของข้อมูล

ข้อมูลที่ใช้ในการประมวลผลแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ
       1) ข้อมูลที่เป็นตัวเลข (Numeric Data) หมายถึง ข้อมูลที่ใช้แทนจานวนที่สามารถนา ไป
คานวณได้ ข้อมูลแบบนี้เขียนได้หลายรูปแบบ คือ
          ก. เลขจานวนเต็ม หมายถึง ตัวเลขที่ไม่มีจุดทศนิยม เช่น 12, 9, 137 , 8319 , -46
          ข. เลขทศนิยม หมายถึง ตัวเลขที่มีจุดทศนิยม ซึ่งอาจมีค่าเป็นจานวนเต็ม เช่น 12 หรือเป็นจานวน
ที่มีเศษทศนิยมก็ได้ เช่น 12.763
       เลขทศนิยมแบบนี้สามารถเขียนได้ 2 รูปแบบคือ
          ก. แบบที่ใช้กันทั่วไป เช่น 12., 9.0 ,17.63, 119.3267 , -17.34
          ข. แบบที่ใช้งานทางวิทยาศาสตร์ เช่น
                    123. x 104           หมายถึง 1230000.0
                    13.76 x 10-3 หมายถึง 0.01376
                    - 1764.0 x 102 หมายถึง -176400.0
                    - 1764.10-2          หมายถึง -17.64

      2) ข้อมูลที่เป็นตัวอักขระ (Character Data) หมายถึง ข้อมูลที่ ไม่สามารถนา ไปคานวณได้
แต่อาจนาไปเรียงลาดับได้ เช่น การเรียงลาดับตัวอักษร ข้อมูลอาจเป็นตัวหนังสือ ตัวเลข หรือเครื่องหมายใด
ๆ เช่น COMPUTER, ON-LINE, 1711101,&76
ประเภทของข้อมูล
ถ้าจาแนกข้อมูลออกเป็นประเภท จะแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
     1. ข้อมูลปฐมภฺมิ (Primary Data) หมายถึง ข้อมูลที่ได้จากการรวบรวม หรือบันทึกจาก
แหล่งข้อมูลโดยตรง ซึ่งอาจจะได้จากการสอบถาม การสัมภาษณ์ การสารวจ และการจดบันทึก ตลอดจน
การจัดหามาด้วยเครื่องจักรอัตโนมัติ เช่น เครื่องอ่านรหัสแท่ง เครื่องอ่านแถบแม่เหล็ก
     2. ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) หมายถึง ข้อมูลที่มีผู้อื่นรวบรวมไว้ให้แล้ว บางครั้ง
อาจมีการประมวลผลเพื่อเป็นสารสนเทศ เช่น สถิติจานวนประชากรแต่ละจังหวัด สถิติการนาสินค้าเข้า และ
การส่งสินค้าออก เป็นต้น

                           กระบวนการจัดเก็บข้อมูลและสารสนเทศ

           1. การรวบรวมและตรวจสอบข้อมูล ควรประกอบด้วย
                   1) การเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นเรื่องของการเก็บรวบรวมข้อมูลซึ่งมี
           จานวนมาก และต้องเก็บให้ได้อย่างทันเวลา เช่น ข้อมูลการลงทะเบียนเรียนของ
           นักเรียน ข้อมูลประวัติบุคลากร ปัจจุบันมีเทคโนโลยีช่วยในการจัดเก็บอยู่เป็น
           จานวนมาก เช่น การป้อนข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ การอ่านข้อมูลจากรหัส
           แท่ง การตรวจใบลงทะเบียนที่มีการฝนดินสอดาในตาแหน่งต่าง ๆ เป็นวิธีการ
           เก็บรวบรวมข้อมูลเช่นกัน
                   2) การตรวจสอบข้อมูล เมื่อมีการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้วจาเป็นต้องมี
           การตรวจสอบข้อมูล เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง ข้อมูลที่เก็บเข้าในระบบต้องมี
           ความเชื่อถือได้ หากพบที่ผิดพลาดต้องแก้ไข การตรวจสอบข้อมูลมีหลายวิธี เช่น
           การใช้ผู้ป้อนข้อมูลสองคนป้อนข้อมูลชุดเดียวกันเข้าคอมพิวเตอร์แล้ว
           เปรียบเทียบกัน


           2. การดาเนินการประมวลผลข้อมูลให้กลายเป็นสารสนเทศ อาจประกอบด้วย
           กิจกรรมดังต่อไปนี้
                     1) การจัดแบ่งกลุ่มข้อมูล ข้อมูลที่เก็บจะต้องมีการแบ่งแยกกลุ่ม เพื่อ
           เตรียมไว้สาหรับ การ ใช้งาน การแบ่งแยกกลุ่มมีวิธีการที่ชัดเจน เช่น ข้อมูลใน
           โรงเรียนมีการแบ่งเป็น แฟ้มประวัติ นักเรียน และแฟ้มลงทะเบียน สมุด
           โทรศัพท์หน้าเหลืองมีการแบ่งหมวดสินค้าและบริการ เพื่อความสะดวกในการ
           ค้นหา
2) การจัดเรียงข้อมูล เมื่อจัดแบ่งกลุ่มเป็นแฟ้มแล้ว ควรมีการจัดเรียง
ข้อมูลตามลาดับ ตัวเลข หรือตัวอักษร เพื่อให้เรียกใช้งานได้ง่ายประหยัดเวลา
ตัวอย่างการจัดเรียงข้อมูล เช่น การจัด เรียงบัตรข้อมูลผู้แต่งหนนังสือในตู้
บัตรรายการของห้องสมุดตามลาดังตัวอักษร การจัดเรียงชื่อ คน ในสมุดรายนาม
ผู้ใช้โทรศัพท์ ทาให้ค้นหาได้ง่าย
           3) การสรุปผล บางครั้งข้อมูลที่จัดเก็บมีเป็นจานวนมาก จาเป็นต้อง
มีการสรุปผลหรือสร้างรายงานย่อ เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ ข้อมูลที่สรุปได้นี้อาจ
สื่อความหมายได้ดีกว่า เช่น สถิติจานวนนักเรียนแยกตามชั้นเรียนแต่ละชั้น
           4) การคานวณ ข้อมูลที่เก็บมีเป็นจานวนมาก ข้อมูลบางส่วนเป็น
ข้อมูลตัวเลข ที่สามารถ นาไปคานวณเพื่อหาผลลัพธ์บางอย่างได้ ดังนั้น การ
สร้างสารสนเทศจากข้อมูล จึงอาศัย การคานวณ ข้อมูลที่เก็บไว้ด้วย
การจัดการข้อมูลและสานสนเทศ

             การเก็บรวบรวมข้อมูลสมมตินักเรียนต้องการ
             รวบรวมข้อมูลพื้นฐาน
             เรื่องอาชีพของคนไทยในหมู่บ้านนักเรียนอาจเริ่มต้น
             ด้วยการออกแบบ
             สอบถามสาหรับการไปสารวจข้อมูล เพื่อให้
             ครอบครัวต่าง ๆ ในหมู่บ้าน
             กรอกข้อมูล มีการส่งแบบสอบถามไปยังผู้กรอก
             ข้อมูลเพื่อทาการกรอก
             รายละเอียด มีการเก็บรวบรวมข้อมูล การเก็บรวม
             รวมข้อมูลมีเทคนิค และวิธีการหลายอย่าง เช่น การ
             ใช้เครื่องจักรช่วยเก็บรวบรวมข้อมูล
             โดยการตรวจกราดระหัสแท่ง หรืออ่านข้อมูลที่ใช้
             ดินสอดาฝนตาแหน่ง
             ที่กรอกข้อมูล
             การตรวจสอบข้อมูลเมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้ว
             จาเป็นต้องตรวจสอบ
             ข้อมูล ดูแลเรื่องความถูกต้องของข้อมูล มีการ
             ตรวจทานหรือแก้ไขข้อมูล
             ให้ถูกต้อง ข้อมูลที่จัดเก็บต้องมีความถูกต้อง
             น่าเชื่อถือเพราะหากข้อมูล
             ไม่น่าเชื่อถือแล้ว สารสนเทศที่ได้จากข้อมูลก็ไม่
             น่าเชื่อถือด้วย
             การรวบรวมข้อมูลเป็นแฟ้มข้อมูล การรวบรวม
             ข้อมูลที่เก็บไว้ให้เป็น
             แฟ้มข้อมูล เป็นขั้นตอนที่สาคัญขั้นตอนหนึ่ง การไป
             สารวจข้อมูลไม่ว่า
             เรื่องอะไร ส่วนใหญ่จะเก็บข้อมูลมาหลายเรื่อง
             จาเป็นต้องแบ่งแยก
             ข้อมูลออกเป็นกลุ่มเป็นเรื่องไว้เป็นแฟ้มข้อมูล
เพื่อให้การดาเนินการ
ในขั้นตอนต่อไปจะได้สะดวกและรวดเร็วขึ้น



การจัดเรียงข้อมูล ข้อมูลที่เก็บไว้เป็นแฟ้มควรมีการ
จัดเรียงลาดับ
ข้อมูล เพื่อสะดวกต่อการค้นหา หรืออ้างอิงใน
ภายหลัง การจัดเรียงข้อมูลเป็นวิธีการประมวลผลให้
เป็นสารสนเทศวิธีหนึ่ง

การคานวณ ข้อมูลที่จัดเก็บมีทั้งข้อมูลที่เป็นตัวอักษร
ข้อความ
และตัวเลข ดังนั้นอาจมีความจาเป็นในการคานวณ
ตัวเลขที่ได้
มาจากข้อมูล เช่น หาค่าเฉลี่ย หาผลรวม
การทารายงาน การสรุปทารายงานให้ตรงกับความ
ต้องการของ
การใช้งาน จะทาให้การใช้สารสนเทศมี
ประสิทธิภาพ และ
รวดเร็วขึ้น เพราะการทารายงานเป็นวิธีการที่จะ
จัดรูปแบบข้อมูล
ให้เป็นสารสนเทศตามความต้องการ
ข้อมูลและสารสนเทศ

More Related Content

What's hot

ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18
ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18
ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18Wirot Chantharoek
 
ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2Orapan Chamnan
 
Data processing1
Data processing1Data processing1
Data processing1chukiat008
 
เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1
เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1
เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1Nut Yuthapong
 
ความหมายของข้อมูลและสารสนเทศ
ความหมายของข้อมูลและสารสนเทศความหมายของข้อมูลและสารสนเทศ
ความหมายของข้อมูลและสารสนเทศเทวัญ ภูพานทอง
 
6 1-ความรู้เกี่ยวกับข้อมูล
6 1-ความรู้เกี่ยวกับข้อมูล6 1-ความรู้เกี่ยวกับข้อมูล
6 1-ความรู้เกี่ยวกับข้อมูลpatmalya
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศchushi1991
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1nattarikaii
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1nattarikaii
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1nattarikaii
 
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายSassygirl Sassyboy
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศnprave
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Sakonwan947
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศkachornchit_maprang
 

What's hot (18)

ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18
ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18
ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18
 
Original it 3
Original it 3Original it 3
Original it 3
 
การประมวลผลข้อมูล
การประมวลผลข้อมูลการประมวลผลข้อมูล
การประมวลผลข้อมูล
 
ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2
 
Data processing1
Data processing1Data processing1
Data processing1
 
เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1
เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1
เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1
 
ทบทวนความรู้เดิม
ทบทวนความรู้เดิมทบทวนความรู้เดิม
ทบทวนความรู้เดิม
 
งานอ.รัฐพล
งานอ.รัฐพลงานอ.รัฐพล
งานอ.รัฐพล
 
ความหมายของข้อมูลและสารสนเทศ
ความหมายของข้อมูลและสารสนเทศความหมายของข้อมูลและสารสนเทศ
ความหมายของข้อมูลและสารสนเทศ
 
6 1-ความรู้เกี่ยวกับข้อมูล
6 1-ความรู้เกี่ยวกับข้อมูล6 1-ความรู้เกี่ยวกับข้อมูล
6 1-ความรู้เกี่ยวกับข้อมูล
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 

Similar to ข้อมูลและสารสนเทศ

คอม
คอมคอม
คอม0win0
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศKewalin Kaewwijit
 
ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18
ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18
ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18Wirot Chantharoek
 
"บทที่6 1 17_36_ห้อง62
"บทที่6 1 17_36_ห้อง62"บทที่6 1 17_36_ห้อง62
"บทที่6 1 17_36_ห้อง62Min Jidapa
 
บทที่6
บทที่6 บทที่6
บทที่6 Jaohjaaee
 
บทที่6 1 17_36_ห้อง62
บทที่6 1 17_36_ห้อง62บทที่6 1 17_36_ห้อง62
บทที่6 1 17_36_ห้อง62galswen
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6ninjung
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22MyunDao
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22MyunDao
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Sakonwan947
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Sakonwan947
 
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศPresentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศnutoon
 
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศPresentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศkartoon7
 
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศPresentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศnutoon
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศkachornchit_maprang
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศkachornchit_maprang
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศkachornchit_maprang
 
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2Hitsuji12
 
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศKo Kung
 

Similar to ข้อมูลและสารสนเทศ (20)

it-06-50
it-06-50it-06-50
it-06-50
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18
ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18
ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18
 
"บทที่6 1 17_36_ห้อง62
"บทที่6 1 17_36_ห้อง62"บทที่6 1 17_36_ห้อง62
"บทที่6 1 17_36_ห้อง62
 
บทที่6
บทที่6 บทที่6
บทที่6
 
บทที่6 1 17_36_ห้อง62
บทที่6 1 17_36_ห้อง62บทที่6 1 17_36_ห้อง62
บทที่6 1 17_36_ห้อง62
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศPresentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
 
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศPresentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
 
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศPresentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
 
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
 

More from เกวลิน แก้ววิจิตร

More from เกวลิน แก้ววิจิตร (6)

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
คอมพิวเตอร์กับการประมวลผลข้อมูล
คอมพิวเตอร์กับการประมวลผลข้อมูลคอมพิวเตอร์กับการประมวลผลข้อมูล
คอมพิวเตอร์กับการประมวลผลข้อมูล
 
การแต่งภาพด้วยPhoto scap
การแต่งภาพด้วยPhoto scapการแต่งภาพด้วยPhoto scap
การแต่งภาพด้วยPhoto scap
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การแต่งภาพด้วยPhoto scape
การแต่งภาพด้วยPhoto scapeการแต่งภาพด้วยPhoto scape
การแต่งภาพด้วยPhoto scape
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
 

ข้อมูลและสารสนเทศ

  • 1. ข้อมูล (Data) หมายถึง ข่าวสาร เอกสาร ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับบุคคล สิ่งของหรือเหตุการณ์ในรูปแบบของ ตัวเลข ภาพ ตัวอักษร และสัญลักษณ์ต่างๆ เช่นคะแนนสอบวิชาภาษาไทย ราคาสินค้า จานวนนักเรียนใน โรงเรียน สารสนเทศ (Information) หมายถึง ข้อมูลต่างๆ ที่ได้ผ่านการเปลี่ยนแปลงหรือมีการประมวลผลหรือ วิเคราะห์สรุปผล ด้วยวิธีการต่าง ๆแล้วเก็บรวบรวมไว้ เพื่อนามาใช้ประโยชน์ตามต้องการการประมวล (Data Processing)เป็น การนาข้อมูลจาก แหล่งต่างๆที่เก็บรวบรวมไว้มาผ่านกระบวนการต่างๆเพื่อแปรสภาพ ข้อมูลให้เป็นระบบและอยู่ในรูปแบบที่ต้องการ ข้อมูลและสารสนเทศ ในปัจจุบันการแข่งขันทางธุรกิจต้องอาศัยข้อมูลเป็นหลักจึงมีการนาเอาเทคโนโลยีมาช่วยจัดการข้อมูลอย่าง มาก ดังจะเห็นได้จากการแข่งขันการให้บริการของธนาคารพาณิชย์การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ ประกอบการตัดสินใจลงทุนซื้อขาย หลักทรัพย์ ข้อมูลเป็นหัวใจของการดาเนินงานเป็นแหล่งความรู้ที่ใช้ ประกอบการตัดสินใจ บริษัทหรือองค์การ จึงดาเนินการ อย่างจริงจังให้ได้มาซึ่งข้อมูล และปกป้องดูแล ข้อมูลของตนเป็นอย่างดี เพราะข้อมูลเป็นสิ่งมีค่ามีราคา การโจรกรรม ข้อมูลโดยใช้เทคโนโลยีใหม่ ๆจึงเป็น ปัญหาสาคัญที่เกิดขึ้น ดังที่ปรากฏเป็นข่าวทั้งในประเทศและต่างประเทศ ข้อมูล (DATA) คือ ข้อเท็จจริง หรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่าง ๆ เช่น คน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ ฯลฯ ข้อมูล จึงเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับเหตุการณ์ของสิ่งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง มีการ รวบรวม ข้อมูลอย่างเป็น ระบบ และต่อเนื่อง ดังจะเห็นจาก กระบวนการเลือกตั้ง หลายพรรค การเมือง มีการใช้เทคโนโลยีรวบรวม ข้อมูล หาวิธีการที่จะให้ได้ข้อมูลอย่างรวดเร็ว และเมื่อ สถานการณ์หรือเหตุการณ์บางอย่างเกิดผันแปรขึ้น การเตรียมการหรือการแก้สถานการณ์ จะดาเนินการได้อย่างทันท่วงที
  • 2. จากที่กล่าวมาแล้ว ข้อมูลคือ ข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ เช่น คน สถานที่ สิ่งของต่าง ๆ ซึ่งมีการเก็บรวบรวมเอาไว้ และสามารถเรียกมาใช้ประโยชน์ได้ในภายหลัง ข้อมูลจึงจาเป็น ต้องเป็นข้อมูลที่ ดีมี ความถูกต้องแม่นยา สาหรับสารสนเทศ หมายถึง สิ่งที่ได้จากการนาเอาข้อมูลที่เก็บรวบรวมไว้มาประมวลผล เพื่อนามาใช้ ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ สารสนเทศจึงหมายถึงข้อมูลที่ผ่านการเลือกสรรให้เหมาะกับการใช้งานได้ ทันเวลาและอยู่ในรูปแบบ ที่ใช้ได้ สารสนเทศที่ดีต้องมาจากข้อมูลที่ดี การจัดเก็บข้อมูลและสารสนเทศ จะต้องมีการควบคุม ดูแลเป็น อย่างดี เช่น อาจจะมีการกาหนด ให้ผู้ใดบ้างเป็นผู้มีสิทธิ์ใช้ข้อมูลได้ ข้อมูลที่เป็นความลับ จะต้องมีระบบ ขั้นตอนการควบคุมกาหนดสิทธิ์ในการแก้ไขหรือการกระทากับข้อมูลว่าจะกระทาได้โดยใครบ้าง นอกจากนี้ข้อมูลที่เก็บไว้แล้วต้องไม่เกิดการสูญหายหรือถูกทาลายโดยไม่ได้ตั้งใจ ข้อมูล (Data) คือ ข้อเท็จจริงหรือสาระต่าง ๆที่เกี่ยวข้องกับงานที่ปฏิบัติ อาจเป็นตัวเลขหรือข้อความ ที่เกิดขึ้นจาก การ ดาเนินงาน หรือที่ได้จากหน่วยงานอื่น ๆ ข้อมูลเหล่านี้ ยังไม่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ ในการตัดสินใจได้ทันที จะนาไปใช้ได้ก็ต่อเมื่อผ่านกระบวนการประมวลผลแล้ว สารสนเทศ (Information) นั้นคือ ข้อมูลที่ได้ผ่านกระบวนการประมวลผลแล้ว อาจใช้วิธีง่าย ๆ เช่น หา ค่าเฉลี่ย หรือใช้ เทคนิคขั้นสูง เช่นการวิจัยดาเนินงาน เป็นต้น เพื่อเปลี่ยนแปลงสภาพข้อมูลทั่วไปให้อยู่ใน รูปแบบที่มีความสัมพันธ์ หรือ มีความเกี่ยว ข้องกัน เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจหรือตอบปัญหา ต่าง ๆ ได้ สารสนเทศ ประกอบด้วยข้อมูล เอกสาร เสียง หรือรูปภาพต่าง ๆ แต่จัดเนื้อเรื่องให้อยู่ในรูปที่มี ความหมาย สารสนเทศไม่ใช่จากัดเฉพาะเพียงตัวเลขเพียงอย่างเดียวเท่านั้น คุณสมบัติของข้อมูล การจัดเก็บข้อมูลจาเป็นต้องมีความพยายามและตั้งใจดาเนินการ หรือกล่าวได้ว่าการได้มาซึ่งข้อมูลที่จะ นามาใช้ ประโยชน์ องค์การจาเป็นต้องลงทุน ทั้งในด้านตัวข้อมูล เครื่องจักร และอุปกรณ์ ตลอดจนการพัฒนา บุคลากรขึ้นมารองรับ เพื่อให้ใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพ การจัดการระบบข้อมูลจึงต้องคานึงถึงปัญหา เหล่านี้ และพยายามมองปัญหาแบบที่เป็น จริง สามารถดาเนินการได้ ให้ประสิทธิผลคุ้มค่ากับการลงทุน ดังนั้นการดาเนินงานเพื่อให้ได้มาซึ่ง สารสนเทศที่ดี ข้อมูลจะต้องมีคุณสมบัติขั้นพื้นฐาน ดังนี้ 1. ความถูกต้อง หากมีการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้วข้อมูลเหล่านั้นเชื่อถือไม่ได้จะทาให้เกิดผลเสียอย่าง มาก ผู้ใช้ไม่กล้าอ้างอิง หรือนาเอาไปใช้ประโยชน์ ซึ่งเป็นเหตุให้การตัดสินใจของผู้บริหารขาดความแม่นยา และอาจมีโอกาส ผิดพลาดได้ โครงสร้าง ข้อมูล ที่ออก แบบต้องคานึงถึงกรรมวิธีการดาเนินงานเพื่อให้ได้ความถูกต้องแม่นยา
  • 3. มากที่สุด โดยปกติความผิดพลาดของสารสนเทศ ส่วนใหญ่ มา จากข้อมูลที่ไม่มีความถูกต้องซึ่งอาจมีสาเหตุมาจากคนหรือเครื่องจักร การออกแบบระบบจึงต้องคานึงถึงใน เรื่องนี้ 2. ความรวดเร็วและเป็นปัจจุบัน การได้มาของข้อมูลจาเป็นต้องให้ทันต่อความต้องการของผู้ใช้ มีการ ตอบสนองต่อผู้ใช้ได้ตี ความหมายสารสนเทศได้ทันต่อเหตุการณ์หรือความต้องการ มีการออกแบบระบบ การเรียนค้น และรายงานตามผู้ใช้ 3. ความสมบูรณ์ ความสมบูรณ์ของสารสนเทศขึ้นกับการรวบรวมข้อมูลและวิธีการทางปฏิบัติด้วย ใน การดาเนินการจัดทา สารสนเทศต้องสารวจและสอบถามความต้องการใช้ข้อมูลเพื่อให้ได้ข้อมูลที่สมบูรณ์ในระดับหนึ่งที่ เหมาะสม 4. ความชัดเจนและกะทัดรัด การจัดเก็บข้อมูลจานวนมากจะต้องใช้พื้นที่ในการจัดเก็บข้อมูลมากจึง จาเป็นต้องออกแบบโครงสร้างข้อมูลให้กะทัดรัดสื่อความหมายได้ มีการใช้รกัสหรือย่นย่อข้อมูลให้ เหมาะสมเพื่อที่จะจัดเก็บเข้าไว้ในระบบคอมพิว เตอร์ 5. ความสอดคล้อง ความต้องการเป็นเรื่องที่สาคัญ ดังนั้นจึงต้องมีการสารวจเพื่อหาความต้องการของ หน่วยงานและองค์ การ ดูสภาพการใช้ข้อมูล ความลึกหรือความกว้างของขอบเขตของข้อมูลที่สอดคล้องกับความต้องการ การทาข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ การทาข้อมูลให้เป็นสารสนเทศที่จะเป็นประโยชน์ต่อการใช้งาน จาเป็นต้องอาศัยเทคโนโลยีเข้ามาช่วย ในการดาเนินการ เริ่มตั้งแต่การรวบรวมและตรวจสอบข้อมูล การดาเนินการประมวลผลข้อมูลให้กลายเป็น สารสนเทศ และการดูแลรักษาสารสนเทศ เพื่อการใช้งาน 1. การรวบรวมและตรวจสอบข้อมูล ควรประกอบด้วย 1.1 การเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นเรื่องของการเก็บรวบรวมข้อมูลซึ่งมีจานวนมาก และต้องเก็บให้ได้อย่าง ทันเวลา เช่น ข้อมูลการลงทะเบียนเรียนของนักเรียน ข้อมูลประวัติบุคลากร ปัจจุบันมีเทคโนโลยีช่วยในการ
  • 4. จัดเก็บอยู่เป็นจานวนมาก เช่น การป้อนข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ การอ่านข้อมูลจากรหัสแท่ง การตรวจ ใบลงทะเบียนที่มีการฝนดินสอดาในตาแหน่งต่าง ๆ เป็นวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลเช่นกัน 1.2 การตรวจสอบข้อมูล เมื่อมีการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้วจาเป็นต้องมีการตรวจสอบข้อมูล เพื่อ ตรวจสอบความถูกต้อง ข้อมูลที่เก็บเข้าในระบบจะต้องมีความเชื่อถือได้ หากพบที่ผิดพลาดต้องแก้ไข การ ตรวจสอบข้อมูลมีหลายวิธี เช่น การใช้ผู้ป้อนข้อมูลสองคนป้อนข้อมูลชุดเดียวกันเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์แล้ว เปรียบเทียบกัน 2. การดาเนินการประมวลผลข้อมูลให้กลายเป็นสารสนเทศ อาจประกอบด้วยกิจกรรมดังต่อไปนี้ 2.1 การจัดแบ่งข้อมูล ข้อมูลที่จัดเก็บจะต้องมีการแบ่งแยกกลุ่ม เพื่อเตรียมไว้สาหรับการใช้งาน การ แบ่งแยกกลุ่มมีวิธีการที่ชัดเจน เช่น ข้อมูลในโรงเรียนมีการแบ่งเป็นแฟ้มประวัตินักเรียน และแฟ้ม ลงทะเบียน สมุดโทรศัพท์หน้าเหลืองมีกรแบ่งหมวดหมู่สินค้า และบริการ เพื่อความสะดวกในการค้นหา 2.2 การจัดเรียงข้อมูล เมื่อจัดแบ่งกลุ่มเป็นแฟ้มแล้ว ควรมีการจัดเรียงข้อมูลตามลาดับ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือเพื่อให้เรียกใช้งานได้ง่ายประหยัดเวลา ตัวอย่างการจัดเรียงข้อมูล เช่น การจัดเรียงบัตรข้อมูลผู้ แต่งหนังสือในตู้บัตรรายการของห้องสมุดตามลาดับตัวอักษร การจัดเรียงชื่อคนในสมุดรายนามผู้ใช้ โทรศัพท์ ทาให้ค้นหาได้ง่าย 2.3 การสรุปผล บางครั้งข้อมูลที่จัดเก็บมีเป็นจานวนมาก จาเป็นต้องมีการสรุปผลหรือสร้างรายงานย่อ เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ ข้อมูลที่สรุปได้นี้อาจสื่อความหมายได้ดีกว่า เช่นสถิติจานวนนักเรียนแยกตามชั้น เรียนแต่ละชั้น 2.4 การคานวณ ข้อมูลที่เก็บมีเป็นจานวนมาก ข้อมูลบางส่วนเป็นข้อมูลตัวเลขที่สามารถนาไปคานวณ เพื่อหาผลลัพธ์บางอย่างได้ ดังนั้นการสร้างสารสนเทศจากข้อมูลจึงอาศัยการคานวณข้อมูลที่เก็บไว้ด้วย 3. การดูแลรักษาสารสนเทศเพื่อการใช้งาน ประกอบด้วย 3.1 การเก็บรักษาข้อมูล การเก็บรักษาข้อมูลหมายถึงการนาข้อมูลมาบันทึกเก็บไว้ในสื่อบันทึกต่างๆ เช่น แผ่นบันทึกข้อมูล นอกจากนี้ยังรวมถึงการดูแล และทาสาเนาข้อมูล เพื่อให้ใช้งานต่อไปในอนาคตได้ 3.2 การค้นหาข้อมูล ข้อมูลที่จัดเก็บไว้มีจุดประสงค์ที่จะเรียกใช้งานได้ต่อไปการค้นหาข้อมูลจะต้องค้น ได้ถูกต้องแม่นยา รวดเร็ว จึงมีการนาคอมพิวเตอร์เข้ามามีส่วนช่วยในการทางาน ทาให้การเรียกค้นกระทาได้ทันเวลา
  • 5. 3.3 การทาสาเนาข้อมูล การทาสาเนาเพื่อที่จะนาข้อมูลเก็บรักษาไว้ หรือนาไปแจกจ่ายในภายหลัง จึงควร จัดเก็บข้อมูลให้ ง่ายต่อการทาสาเนา หรือนาไปใช้อีกครั้งไดโดยง่าย 3.4 การสื่อสาร ข้อมูลต้องกระจายหรือส่งต่อไปยังผู้ใช้งานที่ห่างไกลได้ง่าย การสื่อสารข้อมูลจึงเป็น เรื่องสาคัญและมี บทบาทที่สาคัญยิ่งท่จะทาให้การส่งข่าวสารไปยังผู้ใช้ทาได้รวดเร็วและทันเวลา ตัวอย่าง 1 ข้อความบนระเบียนประวัตินักเรียนด้านบน ทาให้ทราบว่า เพชร แข็งขัน เป็นนักเรียนชาย เกิดวันที่ 12 ม.ค. 2525 ที่อยู่บนระเบียนประวัตินักเรียนจึงเป็นข้อมูล ถ้ามีการนาข้อมูลเกี่ยวกับปีเกิด ของนักเรียนทั้งโรงเรียนจากระเบียนประวัติไปแจกแจงตามปีเกิดดังนี้
  • 6. จานวนนักเรียนที่ได้จากการแจกแจงข้อมูลตามปีเกิดจะเป็นสารสนเทศที่เกิดจากการนาข้อมูลไปทาการ ประมวลผล ตัวอย่างที่ 2 ในการหาระดับคะแนนเฉลี่ยวิชาต่าง ๆ ของนักเรียนจะต้องเริ่มจากการหาระดับคะแนนของแต่ละวิชา ของนักเรียน จากข้อมูลคะแนนของนักเรียนแล้วหาระดับคะแนนเฉลี่ยของนักเรียน จากข้อมูลที่เป็นระดับ คะแนนแต่ละวิชา ซึ่งเป็นสารสนเทศจากการหาระดับคะแนน ดังแผนภูมิด้านล่าง จะเห็นได้ว่า นาผลสรุปจากการประมวลผลข้อมูลแบบหนึ่ง นาไปใช้เป็นข้อมูลในการประมวลผลอีกแบบ หนึ่ง ดังนี้
  • 7. ชนิดและลักษณะของข้อมูล ข้อมูลที่ใช้ในการประมวลผลแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ 1) ข้อมูลที่เป็นตัวเลข (Numeric Data) หมายถึง ข้อมูลที่ใช้แทนจานวนที่สามารถนา ไป คานวณได้ ข้อมูลแบบนี้เขียนได้หลายรูปแบบ คือ ก. เลขจานวนเต็ม หมายถึง ตัวเลขที่ไม่มีจุดทศนิยม เช่น 12, 9, 137 , 8319 , -46 ข. เลขทศนิยม หมายถึง ตัวเลขที่มีจุดทศนิยม ซึ่งอาจมีค่าเป็นจานวนเต็ม เช่น 12 หรือเป็นจานวน ที่มีเศษทศนิยมก็ได้ เช่น 12.763 เลขทศนิยมแบบนี้สามารถเขียนได้ 2 รูปแบบคือ ก. แบบที่ใช้กันทั่วไป เช่น 12., 9.0 ,17.63, 119.3267 , -17.34 ข. แบบที่ใช้งานทางวิทยาศาสตร์ เช่น 123. x 104 หมายถึง 1230000.0 13.76 x 10-3 หมายถึง 0.01376 - 1764.0 x 102 หมายถึง -176400.0 - 1764.10-2 หมายถึง -17.64 2) ข้อมูลที่เป็นตัวอักขระ (Character Data) หมายถึง ข้อมูลที่ ไม่สามารถนา ไปคานวณได้ แต่อาจนาไปเรียงลาดับได้ เช่น การเรียงลาดับตัวอักษร ข้อมูลอาจเป็นตัวหนังสือ ตัวเลข หรือเครื่องหมายใด ๆ เช่น COMPUTER, ON-LINE, 1711101,&76
  • 8. ประเภทของข้อมูล ถ้าจาแนกข้อมูลออกเป็นประเภท จะแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ 1. ข้อมูลปฐมภฺมิ (Primary Data) หมายถึง ข้อมูลที่ได้จากการรวบรวม หรือบันทึกจาก แหล่งข้อมูลโดยตรง ซึ่งอาจจะได้จากการสอบถาม การสัมภาษณ์ การสารวจ และการจดบันทึก ตลอดจน การจัดหามาด้วยเครื่องจักรอัตโนมัติ เช่น เครื่องอ่านรหัสแท่ง เครื่องอ่านแถบแม่เหล็ก 2. ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) หมายถึง ข้อมูลที่มีผู้อื่นรวบรวมไว้ให้แล้ว บางครั้ง อาจมีการประมวลผลเพื่อเป็นสารสนเทศ เช่น สถิติจานวนประชากรแต่ละจังหวัด สถิติการนาสินค้าเข้า และ การส่งสินค้าออก เป็นต้น กระบวนการจัดเก็บข้อมูลและสารสนเทศ 1. การรวบรวมและตรวจสอบข้อมูล ควรประกอบด้วย 1) การเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นเรื่องของการเก็บรวบรวมข้อมูลซึ่งมี จานวนมาก และต้องเก็บให้ได้อย่างทันเวลา เช่น ข้อมูลการลงทะเบียนเรียนของ นักเรียน ข้อมูลประวัติบุคลากร ปัจจุบันมีเทคโนโลยีช่วยในการจัดเก็บอยู่เป็น จานวนมาก เช่น การป้อนข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ การอ่านข้อมูลจากรหัส แท่ง การตรวจใบลงทะเบียนที่มีการฝนดินสอดาในตาแหน่งต่าง ๆ เป็นวิธีการ เก็บรวบรวมข้อมูลเช่นกัน 2) การตรวจสอบข้อมูล เมื่อมีการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้วจาเป็นต้องมี การตรวจสอบข้อมูล เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง ข้อมูลที่เก็บเข้าในระบบต้องมี ความเชื่อถือได้ หากพบที่ผิดพลาดต้องแก้ไข การตรวจสอบข้อมูลมีหลายวิธี เช่น การใช้ผู้ป้อนข้อมูลสองคนป้อนข้อมูลชุดเดียวกันเข้าคอมพิวเตอร์แล้ว เปรียบเทียบกัน 2. การดาเนินการประมวลผลข้อมูลให้กลายเป็นสารสนเทศ อาจประกอบด้วย กิจกรรมดังต่อไปนี้ 1) การจัดแบ่งกลุ่มข้อมูล ข้อมูลที่เก็บจะต้องมีการแบ่งแยกกลุ่ม เพื่อ เตรียมไว้สาหรับ การ ใช้งาน การแบ่งแยกกลุ่มมีวิธีการที่ชัดเจน เช่น ข้อมูลใน โรงเรียนมีการแบ่งเป็น แฟ้มประวัติ นักเรียน และแฟ้มลงทะเบียน สมุด โทรศัพท์หน้าเหลืองมีการแบ่งหมวดสินค้าและบริการ เพื่อความสะดวกในการ ค้นหา
  • 9. 2) การจัดเรียงข้อมูล เมื่อจัดแบ่งกลุ่มเป็นแฟ้มแล้ว ควรมีการจัดเรียง ข้อมูลตามลาดับ ตัวเลข หรือตัวอักษร เพื่อให้เรียกใช้งานได้ง่ายประหยัดเวลา ตัวอย่างการจัดเรียงข้อมูล เช่น การจัด เรียงบัตรข้อมูลผู้แต่งหนนังสือในตู้ บัตรรายการของห้องสมุดตามลาดังตัวอักษร การจัดเรียงชื่อ คน ในสมุดรายนาม ผู้ใช้โทรศัพท์ ทาให้ค้นหาได้ง่าย 3) การสรุปผล บางครั้งข้อมูลที่จัดเก็บมีเป็นจานวนมาก จาเป็นต้อง มีการสรุปผลหรือสร้างรายงานย่อ เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ ข้อมูลที่สรุปได้นี้อาจ สื่อความหมายได้ดีกว่า เช่น สถิติจานวนนักเรียนแยกตามชั้นเรียนแต่ละชั้น 4) การคานวณ ข้อมูลที่เก็บมีเป็นจานวนมาก ข้อมูลบางส่วนเป็น ข้อมูลตัวเลข ที่สามารถ นาไปคานวณเพื่อหาผลลัพธ์บางอย่างได้ ดังนั้น การ สร้างสารสนเทศจากข้อมูล จึงอาศัย การคานวณ ข้อมูลที่เก็บไว้ด้วย
  • 10. การจัดการข้อมูลและสานสนเทศ การเก็บรวบรวมข้อมูลสมมตินักเรียนต้องการ รวบรวมข้อมูลพื้นฐาน เรื่องอาชีพของคนไทยในหมู่บ้านนักเรียนอาจเริ่มต้น ด้วยการออกแบบ สอบถามสาหรับการไปสารวจข้อมูล เพื่อให้ ครอบครัวต่าง ๆ ในหมู่บ้าน กรอกข้อมูล มีการส่งแบบสอบถามไปยังผู้กรอก ข้อมูลเพื่อทาการกรอก รายละเอียด มีการเก็บรวบรวมข้อมูล การเก็บรวม รวมข้อมูลมีเทคนิค และวิธีการหลายอย่าง เช่น การ ใช้เครื่องจักรช่วยเก็บรวบรวมข้อมูล โดยการตรวจกราดระหัสแท่ง หรืออ่านข้อมูลที่ใช้ ดินสอดาฝนตาแหน่ง ที่กรอกข้อมูล การตรวจสอบข้อมูลเมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้ว จาเป็นต้องตรวจสอบ ข้อมูล ดูแลเรื่องความถูกต้องของข้อมูล มีการ ตรวจทานหรือแก้ไขข้อมูล ให้ถูกต้อง ข้อมูลที่จัดเก็บต้องมีความถูกต้อง น่าเชื่อถือเพราะหากข้อมูล ไม่น่าเชื่อถือแล้ว สารสนเทศที่ได้จากข้อมูลก็ไม่ น่าเชื่อถือด้วย การรวบรวมข้อมูลเป็นแฟ้มข้อมูล การรวบรวม ข้อมูลที่เก็บไว้ให้เป็น แฟ้มข้อมูล เป็นขั้นตอนที่สาคัญขั้นตอนหนึ่ง การไป สารวจข้อมูลไม่ว่า เรื่องอะไร ส่วนใหญ่จะเก็บข้อมูลมาหลายเรื่อง จาเป็นต้องแบ่งแยก ข้อมูลออกเป็นกลุ่มเป็นเรื่องไว้เป็นแฟ้มข้อมูล
  • 11. เพื่อให้การดาเนินการ ในขั้นตอนต่อไปจะได้สะดวกและรวดเร็วขึ้น การจัดเรียงข้อมูล ข้อมูลที่เก็บไว้เป็นแฟ้มควรมีการ จัดเรียงลาดับ ข้อมูล เพื่อสะดวกต่อการค้นหา หรืออ้างอิงใน ภายหลัง การจัดเรียงข้อมูลเป็นวิธีการประมวลผลให้ เป็นสารสนเทศวิธีหนึ่ง การคานวณ ข้อมูลที่จัดเก็บมีทั้งข้อมูลที่เป็นตัวอักษร ข้อความ และตัวเลข ดังนั้นอาจมีความจาเป็นในการคานวณ ตัวเลขที่ได้ มาจากข้อมูล เช่น หาค่าเฉลี่ย หาผลรวม การทารายงาน การสรุปทารายงานให้ตรงกับความ ต้องการของ การใช้งาน จะทาให้การใช้สารสนเทศมี ประสิทธิภาพ และ รวดเร็วขึ้น เพราะการทารายงานเป็นวิธีการที่จะ จัดรูปแบบข้อมูล ให้เป็นสารสนเทศตามความต้องการ