SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
บทที่ ١ ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
       ในปัจจุบันการแข่งขันทางธุรกิจต้องอาศัยข้อมูลเป็นหลัก จึง
มีการนำาเทคโนโลยีมาช่วยจัดการข้อมูลอย่างมาก การใช้ข้อมูลใน
การตัดสินใจลงทุนซื้อขายหลักทรัพย์ ข้อมูลเป็นหัวใจของการ
ดำาเนินงานเป็นแหล่งความรูที่ใช้ประกอบการตัดสินใจ บริษัทหรือ
                            ้
องค์การจึงดำาเนินการอย่างจริงจังให้ได้มาซึ่งข้อมูล และปกป้อง
ดูแลข้อมูลของตนเป็นอย่างดี เพราะข้อมูลเป็นสิ่งมีค่ามีราคา การ
โจรกรรมข้อมูลโดยใช้เทคโนโลยีใหม่ ๆ จึงเป็นปัญหาสำาคัญที่
เกิดขึ้น ดังที่ปรากฏเป็นข่าวทั้งในประเทศและต่างประเทศ




     รูปที่ 2.1 กระดานอิเล็กทรอนิกส์แสดงราคาหลักทรัพย์

ข้อมูล (Data)
             หมายถึง ข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสิ่ง
ต่างๆ เช่น คน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ ฯลฯ ข้อมูลจึงเป็นเรื่องที่เกี่ยว
กับเหตุการณ์ของสิ่งต่าง ๆ ทีเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง มีการรวบรวม
                              ่
ข้อมูลอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ดังจะเห็นจากกระบวนการการ
เลือกตั้งที่ผ่านมา หลายพรรคการเมืองมีการเทคโนโลยีรวบรวม
ข้อมูล หาวิธีการที่จะให้ได้ข้อมูลอย่างรวดเร็ว และเมื่อสถานการณ์
หรือเหตุการณ์บางอย่างผันแปรขึ้น การเตรียมการหรือการแก้
สถานการณ์จะดำาเนินการได้อย่างทันท่วงที
                        กรรมวิธีการรวบรวมข้อมูล เป็นจุดเริ่มต้น
ของการดำาเนินงาน การรวบรวมข้อมูลที่ดีจะได้ข้อมูลรวดเร็ว ถูก
ต้องแม่นยำา ครบถ้วน ดังนั้นผู้ดำาเนินการจะต้องให้ความสำาคัญที่
จุดนี้โดยเฉพาะความรวดเร็ว ความรวดเร็วของการเก็บข้อมูลจึง
ผูกพันกับเทคโนโลยีซงมีหลายวิธี เช่น การใช้ไปรษณีย์
                        ึ่
อิเล็กทรอนิกส์ การเชื่อมต่อกับระบบปลายทางเพื่อรับข้อมูล การ
ใช้โทรสาร การใช้ระบบอ่านข้อมูลอัตโนมัติ เช่น เครื่องกราดตรวจ
(scaner) อ่านข้อมูลที่เป็นรหัสแท่ง (barcode)



             จากที่กล่าวมาแล้วว่า ข้อมูล คือ ข้อเท็จจริงหรือ
     เหตุการณ์เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ เช่น คน สถานที่ สิ่งของต่างๆ
     ซึ่งมีการเก็บรวบรวมเอาไว้ และสามารถเรียกเอามาใช้
     ประโยชน์ได้ในภายหลัง ข้อมูลจึงจำาเป็นต้องเป็นข้อมูลที่ดีมี
     ความถูกต้องแม่นยำาสำาหรับ                   สารสนเทศ หมาย
     ถึง สิ่งที่ได้จากการนำาข้อมูลที่เก็บรวบรวมไว้มาประมวลผล
     เพื่อนำามาใช้ประโยชน์ตามจุดประสงค์ สารสนเทศ จึงหมาย
     ถึง ข้อมูลที่ผ่านการเลือกสรรให้เหมาะสมกับการใช้งานให้
     ทันเวลา และอยูในรูปที่ใช้ได้ สารสนเทศที่ดีต้องมาจาก
                         ่
     ข้อมูลที่ดี การจัดเก็บข้อมูลและสารสนเทศจะต้องมีการ
     ควบคุมดูแลเป็นอย่างดี เช่น อาจจะมีการกำาหนดให้ผู้ใดบ้าง
     เป็นผู้มีสิทธิ์ใช้ข้อมูลได้ ข้อมูลที่เป็นความลับจะต้องมีระบบ
     ขั้นตอนการควบคุม กำาหนดสิทธิ์ในการแก้ไขหรือการกระทำา
     กับข้อมูลว่าจะกระทำาได้โดยใครบ้าง นอกจากนี้ข้อมูลที่เก็บ
     ไว้แล้วต้องไม่เกิดการสูญหายหรือถูกทำาลายโดยไม่ได้ตั้งใจ
                   การจัดเก็บข้อมูลที่ดี จะต้องมีการกำาหนดรูปแบบ
     ของข้อมูลให้มลักษณะง่ายต่อการจัดเก็บ และมีรูปแบบ
                       ี
     เดียวกัน ข้อมูลแต่ละชุดควรมีความหมายและมีความเป็น
     อิสระในตัวเอง นอกจากนี้ไม่ควรมีการเก็บข้อมูลซำ้าซ้อน
     เพราะจะเป็นการสิ้นเปลืองเนื้อที่เก็บข้อมูล




     รูปที่ 2.2 แสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลและสารสนเทศ

ตัวอย่างข้อมูลและสารสนเทศ
รูปที่ 2.3 ตัวอย่างระเบียนประวัติของนักเรียน

     ข้อความบนระเบียนประวัติของนักเรียนจากรูปที่ 2.3 ทำาให้
ทราบว่า เพชร แข็งขัน เป็นนักเรียนชาย เกิดวันที่ 12 เดือน
มกราคม ปีพทธศักราช 2525 ดังนั้นข้อความ เพชร แข็งขัน ขาย
           ุ
และ 12 ม.ค. 2525 ทีอยู่บนระเบียนประวัตินักเรียนจึงเป็นข้อมูล
                    ่

      ถ้ามีการนำาข้อมูลเกี่ยวกับปีเกิดของนักเรียนทั้งโรงเรียนจาก
ระเบียนประวัติไปแจกแจงตามปีเกิด ตามรูปที่ 2.4




   รูปที่ 2.4 การแจกแจงข้อมูลปีเกิดของนักเรียนทังโรงเรียน
                                                ้

      จำานวนนักเรียนที่ได้จากการแจกแจงข้อมูลตามปีเกิดจะเป็น
สารสนเทศที่เกิดจากการนำาข้อมูลไปทำาการประมวลผล
      ในบางครั้งผลสรุปจากการประมวลผลข้อมูลแบบหนึ่ง อาจ
นำาไปใช้เป็นข้อมูลในการประมวลผลอีกแบบหนึงก็ได้ เช่น ในการ
                                            ่
หาระดับคะแนนเฉลี่ยวิชาต่าง ๆ ของนักเรียนจะต้องเริ่มจากการหา
ระดับคะแนนของแต่ละวิชาของนักเรียน จากข้อมูลคะแนนของ
นักเรียนแล้วหาระดับคะแนนเฉลียของนักเรียน จากข้อมูลข้อมูลที่
                               ่
เป็นระดับคะแนนระดับวิชาซึ่งเป็นสารสนเทศจากการหาระดับ
คะแนน
คุณสมบัติของข้อมูล
                  การจัดเก็บข้อมูลจำาเป็นต้องมีความพยายามและ
ตั้งใจดำาเนินการ หรือกล่าวได้วาการได้มาซึ่งข้อมูลที่จะนำามาใช้
                               ่
ประโยชน์ องค์การจำาเป็นต้องลงทุน ทังในด้านตัวข้อมูล
                                       ้
เครื่องจักร และอุปกรณ์ ตลอดจนการพัฒนาบุคลากรขึ้นมารองรับ
ระบบ เพื่อให้ใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพ การจัดการระบบข้อมูลจึง
ต้องคำานึงถึงปัญหาเหล่านี้ และพยายามมองปัญหาแบบที่เป็นจริง
สามารถดำาเนินการได้ ให้ประสิทธิผลคุ้มค่ากับการลงทุน ดังนั้น
การดำาเนินการเพื่อให้ได้มาซึ่งสารสนเทศที่ดี ข้อมูลจะต้องมี
คุณสมบัติขั้นพื้นฐาน ดังนี้
1) ความถูกต้อง หากมีการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้วข้อมูลเหล่านั้น
เชื่อถือไม่ได้จะทำาให้เกิดผลเสียอย่างมาก ผู้ใช้จะไม่กล้าอ้างอิง
หรือนำาเอาไปใช้ประโยชน์ ซึ่งเป็นเหตุให้การตัดสินใจของผู้
บริหารขาดความแม่นยำา และอาจมีโอกาสผิดพลาดได้ โครงสร้าง
ข้อมูลที่ออกแบบต้องคำานึงถึงกรรมวิธีการดำาเนินงานเพื่อให้ได้
ความถูกต้องแม่นยำามากที่สุด โดยปกติความผิดพลาดของ
สารสนเทศส่วนใหญ่ มาจากข้อมูลที่ไม่มีความถูกต้องซึ่งอาจมี
สาเหตุมาจาก คนหรือเครื่องจักร การออกแบบระบบจึงต้องคำานึง
ถึงในเรื่องนี้
2) ความรวดเร็วและเป็นปัจจุบน การได้มาของข้อมูลจำาเป็น
                                 ั
ต้องให้ทันต่อความต้องการของผู้ใช้ มีการตอบสนองต่อผู้ใช้ได้
เร็ว ตีความหมายสารสนเทศได้ทันต่อเหตุการณ์หรือความต้องการ
มีการออกแบบระบบการเรียกค้น และรายงานตามความต้องการ
ของผู้ใช้
3) ความสมบูรณ์ ความสมบูรณ์ของสารสนเทศขึ้นกับการ
รวบรวมข้อมูลและวิธีการทางปฏิบัติด้วย ในการดำาเนินการจัดทำา
สารสนเทศต้องสำารวจและสอบถามความต้องการใช้ข้อมูลเพื่อให้
ได้ข้อมูลที่มีความสมบูรณ์ในระดับหนึ่งที่เหมาะสม
4) ความชัดเจนและกะทัดรัด การจัดเก็บข้อมูลจำานวนมากจะ
ต้องใช้พื้นที่ในการจัดเก็บข้อมูลมากจึงจำาเป็นต้องออกแบบ
โครงสร้างข้อมูลให้กะทัดรัดสื่อความหมายได้ มีการใช้รหัสหรือ
ย่นย่อข้อมูลให้เหมาะสมเพื่อที่จะจัดเก็บเข้าไว้ในระบบ
คอมพิวเตอร์
5) ความสอดคล้อง ความต้องการเป็นเรื่องที่สำาคัญ ดังนั้นจึง
ต้องมีการสำารวจเพื่อหาความต้องการของหน่วยงานและองค์การ
ดูสภาพการใช้ข้อมูล ความลึกหรือความกว้างของขอบเขตของ
ข้อมูลที่สอดคล้องกับความต้องการ

ความสำาคัญของข้อมูล
       ข้อมูลมีความสำาคัญเพราะหากขาดข้อมูล จะกระทำาการบาง
สิ่งอาจทำาไม่ได้หรือเกิดการผิดพลาดเสียหายได้ เช่น ผู้รับเหมา
สร้างบ้านแต่ไม่มีข้อมูลความต้องการของผู้ว่าจ้างในการสร้างบ้าน
ก็ไม่สามารถสร้างบ้านได้ หรือ การส่งเนื้อสัตว์ไปขายในบริเวณที่
ประชาชนเป็นคนมังสวิรัติไม่กินเนื้อสัตว์ อาจเขียนแผนภาพแสดง
ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลกับการตัดสินใจกระทำาการสิ่งต่าง ๆ
ดังนี้

                       เสาะหา
                       ข
                       ข้
                       ข อมูล


                         บันทึก
                         ข
                         ข้
                         ข อมูล



                      มีข้อมูลสำาหรับ   ไม่เพียง
                         ต
                         ตั
                         ต ดสินใจ         พ
                                          พอ
                                          พ

                             เพียง
                              พ
                              พอ
                              พ
                        ต
                        ตัดสินใจ
                        ต

ประเภทของข้อมูล
      การแบ่งประเภทของข้อมูลแบ่งได้หลายแบบ ขึ้นอยู่กับ
เกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่งซึ่งอาจแตกต่างกันไปขึ้นกับจุดประสงค์หรือ
ความต้องการในการใช้ข้อมูล ในทีนี้จะแสดงการแบ่งประเภทของ
                                 ่
ข้อมูลเพื่อเป็นตัวอย่าง ดังเช่น
      1. ประเภทของข้อมูลเมื่อจำาแนกตามรูปลักษณะของข้อมูล
      2. ประเภทของข้อมูลเมื่อจำาแนกตามลักษณะแหล่งเกิด
ข้อมูล
      3. ประเภทของข้อมูลเมื่อจำาแนกตามแหล่งทีมาของข้อมูล
                                               ่
ประเภทของข้อมูลเมื่อจำาแนกตามรูปลักษณะของข้อมูล
1. ข้อมูลตัวเลข คือ ข้อมูลที่ใช้แทนจำานวน เช่น ราคานำ้ามัน
ปริมาณนำ้าในเขื่อน อุณหภูมิ
2. ข้อมูลอักขระ คือ ข้อมูลที่เป็นตัวอักษร ตัวเลข และ
สัญลักษณ์ ต่าง ๆ เช่น ที่อยู่ ประกอบ ด้วยตัวเลข คือ เลขที่บ้าน
และอาจมีเครื่องหมายประกอบ เช่น / และตัวอักษร คือ ชื่อถนน
ตำาบล ฯลฯ
3.ข้อมูลภาพ คือ ข้อมูลภาพถ่าย หรือ ภาพวาด ภาพลายเส้น
เช่น ภาพคน แบบก่อสร้างอาคาร ลายนิ้วมือภาพวาดทิวทัศน์
ฯลฯ
4.ข้อมูลเสียง ได้แก่เสียงต่าง ๆ ที่บันทึกไว้ เช่น เสียงคน เสียง
ดนตรี ฯลฯ
ประเภทของข้อมูลเมื่อจำาแนกตามลักษณะแหล่งเกิดข้อมูล
 1.ข้อมูลสิ่งแวดล้อม ได้แก่ข้อมูลของสิ่งที่เกิดขึ้นในสังคมและ
ในโลก ทำาให้ทราบว่ามีอะไรเกิดขึ้นบ้าง เช่น ราคานำ้ามัน สภาพ
ภูมิอากาศ การประท้วงของประชาชนในประเทศต่าง ๆ ฯลฯ
2.ข้อมูลหน่วยงาน คือ ข้อมูลทีแสดงความเป็นไปหรือสภาพใน
                                  ่
หน่วยงาน เช่น ประวัติพนักงาน รายงานต่าง ๆ เกี่ยวกับหน่วยงาน
ฯลฯ
3.ข้อมูลส่วนตัว คือ ข้อมูลส่วนตัวของบุคคลต่าง ๆ เช่น นำ้า
หนักตัว ส่วนสูง วันเดือนปีเกิด กลุ่มเลือด
4.ข้อมูลวิทยาศาสตร์ คือ ข้อมูลเกี่ยวกับทางวิทยาศาสตร์ อาจ
เป็นข้อมูลที่พิสูจน์แล้ว หรือกฎเกณฑ์และทฤษฎีต่าง ๆ เช่น
ความเร็วของแสง หรือข้อมูลที่ได้จากการวัดหรือการสังเกตต่าง ๆ
เช่น ปริมาณธาตุต่าง ๆในดิน ณ ที่ดินแห่งหนึ่ง ลักษณะทาง
พันธุกรรมของพืชที่ได้จากการผสมขึ้นมาใหม่ ฯลฯ
5.ข้อมูลข่าวและเอกสาร ได้แก่ข้อมูลต่าง ๆ เกี่ยวกับเอกสารที่มี
ผู้จัดพิมพ์ขึ้น ข้อมูลประเภทนี้มีมากในห้องสมุดต่าง ๆ เช่น ชื่อผู้
แต่ง ชื่อหนังสือ เนื้อหาสาระในหนังสือ




ประเภทของข้อมูลเมื่อจำาแนกตามแหล่งที่มาของข้อมูล อาจ
แบ่งประเภทของข้อมูลเป็น 2 ประเภท คือ ข้อมูลปฐมภูมิ กับ
ข้อมูลทุติยภูมิ
     ข้อมูลปฐมภูมิ คือ ข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวมหรือ
บันทึกจากแหล่งข้อมูลโดยตรง อาจได้จากการสอบถาม การ
สัมภาษณ์ การสำารวจ การจดบันทึก ตลอดจนได้มาจากเครื่องมือ
วัดต่าง ๆ ข้อมูลปฐมภูมิจึงเป็นข้อมูลพื้นฐานที่ได้มาจากจุดกำาเนิด
ของข้อมูล
      ข้อมูลทุติยภูมิ หมายถึงข้อมูลที่มีผู้อื่นรวบรวมไว้แล้วบาง
ครั้งอาจมีการประมวลผลเป็นสารสนเทศไปแล้ว ผู้ใช้ข้อมูลไม่ได้
ไปสำารวจเอง ตัวอย่างเช่นข้อมูลสถิติต่าง ๆ ที่มีผทำาไว้อาจเป็น
                                                  ู้
หน่วยราชการ หรือหน่วยงานอื่น ๆ




     เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT)

      เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับข่าวสารข้อมูลและการสื่อสาร นับ
ตั้งแต่การสร้าง การนำามาวิเคราะห์หรือประมวลผล การรับและส่ง
ข้อมูล การจัดเก็บและการนำาไปใช้งานใหม่ เทคโนโลยีเหล่านี้มัก
จะหมายถึง คอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบด้วยส่วนอุปกรณ์
(hardware) ส่วนคำาสั่ง (software) และส่วนข้อมูล (data) และ
ระบบการสื่อสารต่าง ๆ ไม่วาจะเป็นโทรศัพท์ ระบบสื่อสารข้อมูล
                             ่
ดาวเทียมหรือเครื่องมือสื่อสารใด ๆ ทั้งมีสายและไร้สาย (ความ
หมายตามที่ให้ไว้ในแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2545-2549) เทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสารมีความจำาเป็นต่อชีวิตประจำาวันทุกวันนี้
อย่างยิ่ง จึงตั้งหน่วยงานขึ้นรองรับและบริการ เกิดเป็นกระทรวง
ใหม่ชื่อ "กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร-Ministry
of Information and Communication Technology" หรือ
กระทรวงไอซีท-ICT   ี
        เทคโนโลยีสารสนเทศ (information technology) , ไอที
(IT) หรือ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (information
and communications technology) , ไอซีที (ICT) หมายถึง
เทคโนโลยีสำาหรับการประมวลผลสารสนเทศ ซึงครอบคลุมถึงการ
                                               ่
รับ-ส่ง, แปลง, จัดเก็บ, ประมวลผล, และค้นคืนสารสนเทศ
        เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หมายถึง เทคโนโลยี
ที่เกี่ยวข้องกับข่าวสารข้อมูลและการสื่อสาร นับตั้งแต่การสร้าง
การนำามาวิเคราะห์หรือประมวลผล การรับและส่งข้อมูล การจัดเก็บ
และการนำาไปใช้งานใหม่ เทคโนโลยีเหล่านี้มักจะหมายถึง
คอมพิวเตอร์ซึ่งประกอบด้วยส่วนอุปกรณ์ (hardware) ส่วนคำาสั่ง
(software) และส่วนข้อมูล (data) และระบบการสื่อสารต่าง ๆ ไม่
ว่าจะเป็นโทรศัพท์ ระบบสื่อสารข้อมูล ดาวเทียมหรือเครื่องมือ
สื่อสารใด ๆ ทังมีสายและไร้สาย (ครูนายูลา : 2008)
                 ้
        จากความหมายข้างต้น สรุปได้ว่า เทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสาร หมายถึง ข้อมูลทีได้ถูกผ่านกระบวนการต่างๆกลั่น
                                  ่
กรองมาเป็นข้อมูลสารสนเทศ ซึ่งเป็นทั้งเทคโนโลยีและการ
สื่อสาร อาจเรียกได้วาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารนับ
                      ่
ตั้งแต่การสร้าง การนำามาวิเคราะห์หรือประมวลผล การรับและส่ง
ข้อมูล การจัดเก็บและการนำาไปใช้งานใหม่




ความสำาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
มี 5 ประการ ได้แก่
      ประการแรก การสื่อสารถือเป็นสิ่งจำาเป็นในการดำาเนิน
กิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ สิ่งสำาคัญที่มี ส่วนในการพัฒนากิจกรรม
ต่าง ๆ ของมนุษย์ประกอบด้วย Communications media, การสื่อ
สารโทรคมนาคม (Telecoms), และเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT)
      ประการที่สอง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ประกอบด้วยผลิตภัณฑ์หลักที่มากไปกว่าโทรศัพท์และ
คอมพิวเตอร์ เช่น แฟกซ์, อินเทอร์เน็ต, อีเมล์ ทำาให้สารสนเทศ
เผยแพร่หรือ
กระจายออกไปในที่ต่าง ๆ ได้สะดวก
      ประการที่สาม เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีผล
ให้การใช้งานด้านต่าง ๆ มีราคาถูกลง
      ประการที่สี่ เครือข่ายสื่อสาร (Communication networks)
ได้รับประโยชน์จากเครือข่ายภายนอก เนื่องจากจำานวนการใช้
เครือข่าย จำานวนผู้เชื่อมต่อ และจำานวนผู้ที่มีศักยภาพในการเข้า
เชื่อมต่อกับเครือข่ายนับวันจะเพิ่มสูงขึ้น
      ประการที่ห้า เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทำาให้
ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ และต้นทุนการใช้ ICT มีราคาถูกลงมาก




วิวัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
มนุษย์มีการใช้เครื่องมือหรือเทคโนโลยีต่างๆเพื่อการสื่อสาร
มาเป็นเวลานานนับพันปี จากภาพที่ 1 จะเห็นว่า ในระยะแรกนั้น
มนุษย์ใช้เทคโนโลยีที่ประดิษฐ์ขึ้นจากธรรมชาติ เช่น แผ่นปาปีรัส
การตีกลอง การเป่าเขาสัตว์ จนกระทั่งมีการประดิษฐ์หนังสือพิมพ์
ขึ้นประมาณ 59 ปีก่อนคริสตกาล การสื่อสารด้วยเทคโนโลยี
อิเล็กทรอนิกส์เริ่มต้นขึ้นเมื่อมีการส่งสัญญาณโทรเลขในปี ค.ศ.
1838 และการเกิดขึ้นของวิทยุกระจายเสียงใน ค.ศ. 1848 ใน
ขณะเดียวกันนักประดิษฐ์ส่วนหนึ่งก็กำาลังพัฒนาเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์ขึ้นมา แต่ยังไม่สามารถนำามาใช้งานได้ทั่วไป สื่อ
โทรทัศน์เกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1927 และช่วงทศวรรษที่ 1960s (ระห
ว่าง ค.ศ. 1960 – 1969) คอมพิวเตอร์ก็ถูกนำามาใช้แพร่หลายมาก
ขึ้น และมีการเชื่อมต่อเป็นเครือข่ายในเวลาต่อมา เทคโนโลยีที่
เรียกกันว่าเป็นสื่อสมัยใหม่อย่างอินเทอร์เน็ตเกิดขึ้นในปี ค.ศ.
1983 และกลายเป็นเทคโนโลยีที่ปฏิวัติโลกการสื่อสารเลยทีเดียว
       ในส่วนของเทคโนโลยีโทรศัพท์ไร้สายนั้น ยุคแรกของ
โทรศัพท์ไร้สายอยู่ในช่วงต้นทศวรรษที่ 1980s (ระหว่าง ค.ศ.
1980 – 1989) เทคโนโลยีโทรศัพท์มีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว
พร้อมศักยภาพที่สูงขึ้น ก้าวไปสู่โทรศัพท์ยุคที่ 2 และ 3 และ 4
ซึ่งทำาให้คนสามารถติดต่อสื่อสารกันได้รวดเร็วทันใจ ด้วย
เทคโนโลยีทมีคุณสมบัติในการเคลื่อนที่ได้ (mobility) ตลอด
              ี่
เวลา สามารถรับส่งข้อมูลได้ทุกประเภท ไม่ว่าจะเป็นตัวอักษร
ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว ภาพยนตร์ หรือรับฟังรายการวิทยุและรับ
ชมรายการโทรทัศน์ได้จากโทรศัพท์ที่อยู่ในมือเราเท่านั้น
ภาพที่ 1: วิวัฒนาการของเทคโนโลยีการสื่อสาร




   การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
       การจัดเก็บข้อมูลทีมีปริมาณมากๆ ในระบบคอมพิวเตอร์โดย
                          ่
การเก็บไว้ในแฟ้มข้อมูลแต่ละแฟ้ม อาจเกิดปัญหาข้อมูลซำ้าซ้อน
กัน เมื่อมีการแก้ไขข้อมูลที่มีอยู่หลายแฟ้มข้อมูล จนทำาให้ข้อมูลมี
ความขัดแย้งกันเอง จึงได้มีการเปลี่ยนการจัดเก็บข้อมูลให้อยูใน   ่
รูปของฐานข้อมูลแทนเพื่อความสะดวกในการบันทึกข้อมูล แก้ไข
ข้อมูล และค้นหาข้อมูล                                   1. ความ
หมายของฐานข้อมูลและระบบการจัดการฐานข้อมูล
                        “ ฐานข้อมูล ” (database) หมายถึง การ
จัดรวบรวมข้อนิเทศหรือข้อมูลของเรื่องต่างๆ ไว้ในรูปแบบที่จะ
เรียกมาใช้ได้ทันทีเมื่อต้องการ ในการเรียกนั้น อาจเรียกเพียงส่วน
ใดส่วนหนึ่งมาใช้ประโยชน์เป็นครั้งเป็นคราวก็ได้ ฐานข้อมูลที่ดี
ควรจะได้รบการปรับให้ทันสมัยอยู่เสมอ
            ั                                 นอกจากนี้ กิตติ
ภักดีวัฒนะกุล (2547, หน้า 226) ยังได้สรุปความหมายของฐาน
ข้อมูล ว่าคือ กลุ่มของแฟ้มข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กันและถูกนำามา
รวมกัน เช่น ฐานข้อมูลในบริษัทแห่งหนึ่งอาจประกอบไปด้วยแฟ้ม
ข้อมูลหลายแฟ้มข้อมูล ซึ่งแต่ละแฟ้มต่างก็มีความสัมพันธ์กัน
ได้แก่ แฟ้มข้อมูลพนักงาน แฟ้มข้อมูลแผนกในบริษัท แฟ้มข้อมูล
ขายสินค้า และแฟ้มข้อมูลสินค้า เป็นต้น         สรุปได้วา “ฐาน
                                                      ่
ข้อมูล” คือ การรวบรวมข้อมูลที่เราต้องการจะจัดเก็บ ซึ่งต้องมี
ความสัมพันธ์กันหรือเป็นเรื่องเดียวกันไว้ด้วยกัน เพื่อสะดวกในใช้
งาน                “ระบบการจัดการฐานข้อมูล” (Data Base
Management System: DBMS) หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่สร้างขึ้น
เพื่อรวบรวมข้อมูลให้เป็นระบบ เพื่อจะได้นำาไปเก็บรักษา เรียกใช้
หรือนำามาปรับปรุงให้ทันสมัยได้ง่าย ทังนี้จำาเป็นต้องคำานึงถึงการ
                                       ้
รักษาความปลอดภัยของข้อมูลเป็นเรื่องสำาคัญด้วย สรุปความ
หมายของระบบการจัดการฐานข้อมูล ว่าคือ โปรแกรมที่ใช้เป็น
เครื่องมือในการจัดการฐานข้อมูล ซึ่งประกอบด้วยหน้าที่ต่างๆ ใน
การจัดการกับข้อมูล รวมทั้งภาษาที่ใช้ทำางานกับข้อมูล โดยมักจะ
ใช้ภาษา SQL ในการโต้ตอบระหว่างกันกับผู้ใช้ เพื่อให้สามารถ
กำาหนดการสร้าง การเรียกดู การบำารุงรักษาฐานข้อมูล รวมทังการ  ้
จัดการควบคุมการเข้าถึงฐานข้อมูล ซึ่งถือเป็นการป้องกันความ
ปลอดภัยในฐานข้อมูล เพื่อป้องกันมิให้ผู้ที่ไม่มีสทธิการใช้งานเข้า
                                                ิ
มาละเมิดข้อมูลในฐานข้อมูลที่เป็นศูนย์กลางได้ นอกจากนี้ DBMS
ยังมีหน้าทีในการรักษาความมั่นคงและความปลอดภัยของข้อมูล
           ่
การสำารองข้อมูล และการเรียกคืนข้อมูลในกรณีที่ข้อมูลเกิดความ
เสียหาย




2. ประวัติความเป็นมาของระบบการจัดการฐานข้อมูล

       การจัดการฐานข้อมูลเริ่มต้นจากการที่องค์การบริหารการบิน
และอวกาศสหรัฐอเมริกา หรือนาซาได้ว่าจ้างบริษทไอบีเอ็ม
                                                  ั
(IBM) ประเทศสหรัฐอเมริกา ให้ออกแบบระบบเก็บรวบรวมข้อมูล
ที่ได้จากการสำารวจดวงจันทร์ในโครงการอะพอลโล (โครงการอะ
พอลโลเป็นโครงการสำารวจอวกาศอย่างจริงจัง และมีการส่งมนุษย์
ขึ้นบนดวงจันทร์ได้สำาเร็จด้วยยานอะพอลโล 11) ได้พัฒนาระบบ
การดูแลข้อมูลเรียกว่า ระบบ GUAM ( Generalized Upgrade
Access Method) ซึ่งถือเป็นต้นกำาเนิดของระบบการจัดการฐาน
ข้อมูล ต่อมาบริษท ไอบีเอ็ม ได้พัฒนาระบบการจัดการฐานข้อมูล
                   ั
ขึ้นมาใหม่เพื่อให้ใช้งานกับธุรกิจทั่วๆ ไปได้ เรียกว่า DL/I (Data
Language/I ) จนในที่สุดก็ได้กลายมาเป็นระบบ IMS
( Information Management System) ในช่วงปี พ.ศ. 2525 มี
การนำาระบบฐานข้อมูลเข้ามาใช้กับคอมพิวเตอร์อย่างเต็มที่ ได้มี
การคิดค้นและผลิตซอฟต์แวร์เกี่ยวกับฐานข้อมูลออกมามากมาย
การเจริญเติบโตของการจัดการฐานข้อมูลรุดหน้าไปอย่างรวดเร็ว
พร้อมกับระบบคอมพิวเตอร์และมีการพัฒนามาจนถึงทุกวันนี้
       ปัจจุบันได้มีการนำาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการเก็บข้อมูล โดย
ใช้โปรแกรมสำาเร็จรูปทั่วไปโดยที่ผู้ใช้ไม่ต้องเขียนโปรแกรมเอง
เพียงแต่เรียนรู้คำาสั่งการเรียกใช้ข้อมูลหรือการจัดการข้อมูล เช่น
การป้อนข้อมูล การบันทึกข้อมูล การแก้ไขและเปลี่ยนแปลงข้อมูล
เป็นต้น ในอดีตยุคที่มีไมโครคอมพิวเตอร์เกิดขึ้นแรกๆ โปรแกรม
สำาเร็จรูปทางด้านการจัดการฐานข้อมูลที่นิยมใช้กันอย่างแพร่
หลาย คือ Personal Filling System) ต่อมาได้มีโปรแกรมฐาน
ข้อมูลเพิ่มขึ้นหลายโปรแกรม เช่น Datastar DB Master และ
dBASE II เป็นต้นโดยเฉพาะโปรแกรม dBASE II ได้รบความนิยม
                                                  ั
มาก จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2528 ผู้ผลิตได้สร้าง dBASE III Plus
ออกมาซึ่งสามารถจัดการฐานข้อมูลแบบสัมพันธ์ (relational)
เชื่อมโยงแฟ้มข้อมูลต่างๆ เข้าด้วยกัน ค้นหา และนำามาสร้างเป็น
รายงานตามความต้องการได้สะดวก รวดเร็ว ต่อมาได้มีการสร้าง
โปรแกรมสำาเร็จรูปเกี่ยวกับฐานข้อมูลออกมา เช่น FoxBASE,
FoxPro, Microsoft Access และ Oracle เป็นต้น




3. องค์ประกอบของระบบการจัดการฐานข้อมูล
       ระบบการจัดการฐานข้อมูลประกอบด้วยส่วนสำาคัญหลักๆ 5
ส่วน คือ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ข้อมูล กระบวนการทำางาน และ
บุคลากร ดังรายละเอียดต่อไปนี้
3.1 ฮาร์ดแวร์ (hardware) หมายถึง คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
ต่างๆ เพื่อเก็บข้อมูลและประมวลผลข้อมูล ซึ่งอาจประกอบด้วย
เครื่องคอมพิวเตอร์ตั้งแต่หนึ่งเครื่องขึ้นไป หน่วยเก็บข้อมูลสำารอง
หน่วยนำาเข้าข้อมูล และหน่วยแสดงผลข้อมูล นอกจากนียังต้องมี
                                                        ้
อุปกรณ์การสื่อสารเพื่อเชื่อมโยงอุปกรณ์ทางคอมพิวเตอร์หลายๆ
เครื่องให้สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้ เป็นต้น โดยเครื่อง
คอมพิวเตอร์ที่จะใช้เป็นอุปกรณ์สำาหรับประมวลผลข้อมูลในฐาน
ข้อมูลนั้น สามารถเป็นได้ตั้งแต่เครื่องเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ มินิ
คอมพิวเตอร์ หรือไมโครคอมพิวเตอร์ ซึงถ้าเป็นเครื่องเมนเฟรม
                                          ่
คอมพิวเตอร์หรือมินิคอมพิวเตอร์ จะสามารถใช้ต่อกับเทอร์มินัล
หลายเครื่อง เพื่อให้ผู้ใช้งานฐานข้อมูลหลายคน สามารถดึงข้อมูล
หรือปรับปรุงข้อมูลภายในฐานข้อมูลเดียวกันพร้อมกันได้ ซึ่งเป็น
ลักษณะของการทำางานแบบมัลติยูสเซอร์ (multi user) ส่วนการ
ประมวลผลฐานข้อมูลในเครื่องระดับไมโครคอมพิวเตอร์ สามารถ
ทำาการประมวลผลได้ 2 แบบ แบบแรกเป็นการประมวลผลฐาน
ข้อมูลในเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์เพียงเครื่องเดียว โดยมีผู้ใช้
งานได้เพียงคนเดียวเท่านั้น (single user) ที่สามารถดึงข้อมูล
หรือปรับปรุงข้อมูลภายในฐานข้อมูลได้ สำาหรับแบบที่สองจะ
เป็นการนำาไมโครคอมพิวเตอร์หลายตัวมาเชื่อมต่อกันในลักษณะ
ของเครือข่ายระยะใกล้ (Local Area Network : LAN) ซึ่งเป็นรูป
แบบของระบบเครือข่ายแบบลูกข่าย / แม่ข่าย (client / server
network) โดยจะมีการเก็บฐานข้อมูลอยู่ที่เครื่องแม่ข่าย (server)
การประมวลผลต่างๆ จะกระทำาที่เครื่องแม่ข่าย สำาหรับเครื่องลูก
ข่าย (client) จะมีหน้าที่ดึงข้อมูลหรือส่งข้อมูลเข้ามาปรับปรุงใน
เครื่องแม่ข่าย หรือคอยรับผลลัพธ์จากการประมวลผลของเครื่อง
แม่ขาย ดังนั้นการประมวลผลแบบนี้จงเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้ใช้
      ่                               ึ
งานหลายคนสามารถใช้งานฐานข้อมูลร่วมกันได้ ระบบฐานข้อมูล
ที่มประสิทธิภาพดีต้องอาศัยเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพ
    ี
สูง คือสามารถเก็บข้อมูลได้จำานวนมากและประมวลผลได้อย่าง
รวดเร็ว เพื่อรองรับการทำางานจากผู้ใช้หลายคน ที่อาจมีการอ่าน
ข้อมูลหรือปรับปรุงข้อมูลพร้อมกันในเวลาเดียวกันได้
3.2 ซอฟต์แวร์ (software) หมายถึง โปรแกรมที่ใช้ในระบบ
การจัดการฐานข้อมูล ซึ่งมีการพัฒนาเพื่อใช้งานได้กับเครื่อง
ไมโครคอมพิวเตอร์จนถึงเครื่องเมนเฟรม ซึ่งโปรแกรมแต่ละตัวจะ
มีคุณสมบัติการทำางานทีแตกต่างกัน ดังนั้นในการพิจารณาเลือก
                         ่
ใช้โปรแกรม จะต้องพิจารณาจากคุณสมบัติของโปรแกรมแต่ละตัว
ว่ามีความสามารถทำางานในสิ่งที่เราต้องการได้หรือไม่ อีกทั้งเรื่อง
ราคาก็เป็นเรื่องสำาคัญ เนื่องจากราคาของโปรแกรมแต่ละตัวจะไม่
เท่ากัน โปรแกรมที่มีความสามารถสูงก็จะมีราคาแพงมากขึ้น
นอกจากนี้ยังต้องพิจารณาว่าสามารถใช้ร่วมกับฮาร์ดแวร์ และ
ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการที่เรามีอยู่ได้หรือไม่ ซึ่งโปรแกรมที่ใช้
ในการจัดการฐานข้อมูล ได้แก่ Microsoft Access, Oracle,
Informix, dBase, FoxPro, และ Paradox เป็นต้น

More Related Content

What's hot

ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายSassygirl Sassyboy
 
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2Hitsuji12
 
ข้อมูลและสารสนเทศ ppt
ข้อมูลและสารสนเทศ pptข้อมูลและสารสนเทศ ppt
ข้อมูลและสารสนเทศ pptLatae Chutipas
 
กลุ่ม4สารสนเทศ 5.2
กลุ่ม4สารสนเทศ 5.2กลุ่ม4สารสนเทศ 5.2
กลุ่ม4สารสนเทศ 5.2BoOm mm
 
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfบทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfNattapon
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศKat Nattawan
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศManas Panjai
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศkachornchit_maprang
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศkachornchit_maprang
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศWirot Chantharoek
 
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...Srion Janeprapapong
 

What's hot (18)

การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ
การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ
การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
 
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
 
Mis 1
Mis 1Mis 1
Mis 1
 
ข้อมูลและสารสนเทศ ppt
ข้อมูลและสารสนเทศ pptข้อมูลและสารสนเทศ ppt
ข้อมูลและสารสนเทศ ppt
 
กลุ่ม4สารสนเทศ 5.2
กลุ่ม4สารสนเทศ 5.2กลุ่ม4สารสนเทศ 5.2
กลุ่ม4สารสนเทศ 5.2
 
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfบทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
ทบทวนความรู้เดิม
ทบทวนความรู้เดิมทบทวนความรู้เดิม
ทบทวนความรู้เดิม
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
 
Dataandit
DataanditDataandit
Dataandit
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
 

Similar to บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ

ข้อมูลสานสนเทศ
ข้อมูลสานสนเทศข้อมูลสานสนเทศ
ข้อมูลสานสนเทศnattapas33130
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22MyunDao
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22MyunDao
 
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ และการประมวลผล
ใบความรู้ที่  5 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ และการประมวลผลใบความรู้ที่  5 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ และการประมวลผล
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ และการประมวลผลเทวัญ ภูพานทอง
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศKewalin Kaewwijit
 
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศกระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศsupimon1956
 
01 introduction to data mining
01 introduction to data mining01 introduction to data mining
01 introduction to data miningphakhwan22
 
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลปิยะดนัย วิเคียน
 
ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18
ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18
ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18Wirot Chantharoek
 
ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18
ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18
ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18Wirot Chantharoek
 
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศPraphaphun Kaewmuan
 
บทที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศ
บทที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศบทที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศ
บทที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศnawapornsattasan
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศkachornchit_maprang
 

Similar to บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ (20)

ข้อมูลสานสนเทศ
ข้อมูลสานสนเทศข้อมูลสานสนเทศ
ข้อมูลสานสนเทศ
 
Data
DataData
Data
 
แนวการสอบ ม.4
แนวการสอบ ม.4แนวการสอบ ม.4
แนวการสอบ ม.4
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
Mis 1
Mis 1Mis 1
Mis 1
 
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ และการประมวลผล
ใบความรู้ที่  5 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ และการประมวลผลใบความรู้ที่  5 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ และการประมวลผล
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ และการประมวลผล
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศกระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
01 introduction to data mining
01 introduction to data mining01 introduction to data mining
01 introduction to data mining
 
it-06-50
it-06-50it-06-50
it-06-50
 
เทอม 1 คาบ 4
เทอม 1 คาบ 4เทอม 1 คาบ 4
เทอม 1 คาบ 4
 
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
 
ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18
ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18
ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18
 
ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18
ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18
ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18
 
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
 
บทที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศ
บทที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศบทที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศ
บทที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศ
 
ข้อมูล สารสนเทศและความรู้
ข้อมูล สารสนเทศและความรู้ข้อมูล สารสนเทศและความรู้
ข้อมูล สารสนเทศและความรู้
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 

More from chushi1991

บทที่5.1
บทที่5.1บทที่5.1
บทที่5.1chushi1991
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3chushi1991
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1chushi1991
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1chushi1991
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2chushi1991
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2chushi1991
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2chushi1991
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2chushi1991
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2chushi1991
 
บทที่2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
บทที่2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีบทที่2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
บทที่2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีchushi1991
 
บทที่2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
บทที่2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีบทที่2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
บทที่2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีchushi1991
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2chushi1991
 

More from chushi1991 (13)

บทที่5.1
บทที่5.1บทที่5.1
บทที่5.1
 
4
44
4
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
บทที่2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
บทที่2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีบทที่2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
บทที่2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
 
บทที่2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
บทที่2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีบทที่2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
บทที่2 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 

บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ

  • 1. บทที่ ١ ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ ในปัจจุบันการแข่งขันทางธุรกิจต้องอาศัยข้อมูลเป็นหลัก จึง มีการนำาเทคโนโลยีมาช่วยจัดการข้อมูลอย่างมาก การใช้ข้อมูลใน การตัดสินใจลงทุนซื้อขายหลักทรัพย์ ข้อมูลเป็นหัวใจของการ ดำาเนินงานเป็นแหล่งความรูที่ใช้ประกอบการตัดสินใจ บริษัทหรือ ้ องค์การจึงดำาเนินการอย่างจริงจังให้ได้มาซึ่งข้อมูล และปกป้อง ดูแลข้อมูลของตนเป็นอย่างดี เพราะข้อมูลเป็นสิ่งมีค่ามีราคา การ โจรกรรมข้อมูลโดยใช้เทคโนโลยีใหม่ ๆ จึงเป็นปัญหาสำาคัญที่ เกิดขึ้น ดังที่ปรากฏเป็นข่าวทั้งในประเทศและต่างประเทศ รูปที่ 2.1 กระดานอิเล็กทรอนิกส์แสดงราคาหลักทรัพย์ ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสิ่ง ต่างๆ เช่น คน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ ฯลฯ ข้อมูลจึงเป็นเรื่องที่เกี่ยว กับเหตุการณ์ของสิ่งต่าง ๆ ทีเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง มีการรวบรวม ่ ข้อมูลอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ดังจะเห็นจากกระบวนการการ เลือกตั้งที่ผ่านมา หลายพรรคการเมืองมีการเทคโนโลยีรวบรวม ข้อมูล หาวิธีการที่จะให้ได้ข้อมูลอย่างรวดเร็ว และเมื่อสถานการณ์ หรือเหตุการณ์บางอย่างผันแปรขึ้น การเตรียมการหรือการแก้ สถานการณ์จะดำาเนินการได้อย่างทันท่วงที กรรมวิธีการรวบรวมข้อมูล เป็นจุดเริ่มต้น ของการดำาเนินงาน การรวบรวมข้อมูลที่ดีจะได้ข้อมูลรวดเร็ว ถูก ต้องแม่นยำา ครบถ้วน ดังนั้นผู้ดำาเนินการจะต้องให้ความสำาคัญที่ จุดนี้โดยเฉพาะความรวดเร็ว ความรวดเร็วของการเก็บข้อมูลจึง ผูกพันกับเทคโนโลยีซงมีหลายวิธี เช่น การใช้ไปรษณีย์ ึ่ อิเล็กทรอนิกส์ การเชื่อมต่อกับระบบปลายทางเพื่อรับข้อมูล การ
  • 2. ใช้โทรสาร การใช้ระบบอ่านข้อมูลอัตโนมัติ เช่น เครื่องกราดตรวจ (scaner) อ่านข้อมูลที่เป็นรหัสแท่ง (barcode) จากที่กล่าวมาแล้วว่า ข้อมูล คือ ข้อเท็จจริงหรือ เหตุการณ์เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ เช่น คน สถานที่ สิ่งของต่างๆ ซึ่งมีการเก็บรวบรวมเอาไว้ และสามารถเรียกเอามาใช้ ประโยชน์ได้ในภายหลัง ข้อมูลจึงจำาเป็นต้องเป็นข้อมูลที่ดีมี ความถูกต้องแม่นยำาสำาหรับ สารสนเทศ หมาย ถึง สิ่งที่ได้จากการนำาข้อมูลที่เก็บรวบรวมไว้มาประมวลผล เพื่อนำามาใช้ประโยชน์ตามจุดประสงค์ สารสนเทศ จึงหมาย ถึง ข้อมูลที่ผ่านการเลือกสรรให้เหมาะสมกับการใช้งานให้ ทันเวลา และอยูในรูปที่ใช้ได้ สารสนเทศที่ดีต้องมาจาก ่ ข้อมูลที่ดี การจัดเก็บข้อมูลและสารสนเทศจะต้องมีการ ควบคุมดูแลเป็นอย่างดี เช่น อาจจะมีการกำาหนดให้ผู้ใดบ้าง เป็นผู้มีสิทธิ์ใช้ข้อมูลได้ ข้อมูลที่เป็นความลับจะต้องมีระบบ ขั้นตอนการควบคุม กำาหนดสิทธิ์ในการแก้ไขหรือการกระทำา กับข้อมูลว่าจะกระทำาได้โดยใครบ้าง นอกจากนี้ข้อมูลที่เก็บ ไว้แล้วต้องไม่เกิดการสูญหายหรือถูกทำาลายโดยไม่ได้ตั้งใจ การจัดเก็บข้อมูลที่ดี จะต้องมีการกำาหนดรูปแบบ ของข้อมูลให้มลักษณะง่ายต่อการจัดเก็บ และมีรูปแบบ ี เดียวกัน ข้อมูลแต่ละชุดควรมีความหมายและมีความเป็น อิสระในตัวเอง นอกจากนี้ไม่ควรมีการเก็บข้อมูลซำ้าซ้อน เพราะจะเป็นการสิ้นเปลืองเนื้อที่เก็บข้อมูล รูปที่ 2.2 แสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลและสารสนเทศ ตัวอย่างข้อมูลและสารสนเทศ
  • 3. รูปที่ 2.3 ตัวอย่างระเบียนประวัติของนักเรียน ข้อความบนระเบียนประวัติของนักเรียนจากรูปที่ 2.3 ทำาให้ ทราบว่า เพชร แข็งขัน เป็นนักเรียนชาย เกิดวันที่ 12 เดือน มกราคม ปีพทธศักราช 2525 ดังนั้นข้อความ เพชร แข็งขัน ขาย ุ และ 12 ม.ค. 2525 ทีอยู่บนระเบียนประวัตินักเรียนจึงเป็นข้อมูล ่ ถ้ามีการนำาข้อมูลเกี่ยวกับปีเกิดของนักเรียนทั้งโรงเรียนจาก ระเบียนประวัติไปแจกแจงตามปีเกิด ตามรูปที่ 2.4 รูปที่ 2.4 การแจกแจงข้อมูลปีเกิดของนักเรียนทังโรงเรียน ้ จำานวนนักเรียนที่ได้จากการแจกแจงข้อมูลตามปีเกิดจะเป็น สารสนเทศที่เกิดจากการนำาข้อมูลไปทำาการประมวลผล ในบางครั้งผลสรุปจากการประมวลผลข้อมูลแบบหนึ่ง อาจ นำาไปใช้เป็นข้อมูลในการประมวลผลอีกแบบหนึงก็ได้ เช่น ในการ ่ หาระดับคะแนนเฉลี่ยวิชาต่าง ๆ ของนักเรียนจะต้องเริ่มจากการหา ระดับคะแนนของแต่ละวิชาของนักเรียน จากข้อมูลคะแนนของ นักเรียนแล้วหาระดับคะแนนเฉลียของนักเรียน จากข้อมูลข้อมูลที่ ่ เป็นระดับคะแนนระดับวิชาซึ่งเป็นสารสนเทศจากการหาระดับ คะแนน
  • 4. คุณสมบัติของข้อมูล การจัดเก็บข้อมูลจำาเป็นต้องมีความพยายามและ ตั้งใจดำาเนินการ หรือกล่าวได้วาการได้มาซึ่งข้อมูลที่จะนำามาใช้ ่ ประโยชน์ องค์การจำาเป็นต้องลงทุน ทังในด้านตัวข้อมูล ้ เครื่องจักร และอุปกรณ์ ตลอดจนการพัฒนาบุคลากรขึ้นมารองรับ ระบบ เพื่อให้ใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพ การจัดการระบบข้อมูลจึง ต้องคำานึงถึงปัญหาเหล่านี้ และพยายามมองปัญหาแบบที่เป็นจริง สามารถดำาเนินการได้ ให้ประสิทธิผลคุ้มค่ากับการลงทุน ดังนั้น การดำาเนินการเพื่อให้ได้มาซึ่งสารสนเทศที่ดี ข้อมูลจะต้องมี คุณสมบัติขั้นพื้นฐาน ดังนี้ 1) ความถูกต้อง หากมีการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้วข้อมูลเหล่านั้น เชื่อถือไม่ได้จะทำาให้เกิดผลเสียอย่างมาก ผู้ใช้จะไม่กล้าอ้างอิง หรือนำาเอาไปใช้ประโยชน์ ซึ่งเป็นเหตุให้การตัดสินใจของผู้ บริหารขาดความแม่นยำา และอาจมีโอกาสผิดพลาดได้ โครงสร้าง ข้อมูลที่ออกแบบต้องคำานึงถึงกรรมวิธีการดำาเนินงานเพื่อให้ได้ ความถูกต้องแม่นยำามากที่สุด โดยปกติความผิดพลาดของ สารสนเทศส่วนใหญ่ มาจากข้อมูลที่ไม่มีความถูกต้องซึ่งอาจมี สาเหตุมาจาก คนหรือเครื่องจักร การออกแบบระบบจึงต้องคำานึง ถึงในเรื่องนี้ 2) ความรวดเร็วและเป็นปัจจุบน การได้มาของข้อมูลจำาเป็น ั ต้องให้ทันต่อความต้องการของผู้ใช้ มีการตอบสนองต่อผู้ใช้ได้ เร็ว ตีความหมายสารสนเทศได้ทันต่อเหตุการณ์หรือความต้องการ มีการออกแบบระบบการเรียกค้น และรายงานตามความต้องการ ของผู้ใช้ 3) ความสมบูรณ์ ความสมบูรณ์ของสารสนเทศขึ้นกับการ รวบรวมข้อมูลและวิธีการทางปฏิบัติด้วย ในการดำาเนินการจัดทำา สารสนเทศต้องสำารวจและสอบถามความต้องการใช้ข้อมูลเพื่อให้ ได้ข้อมูลที่มีความสมบูรณ์ในระดับหนึ่งที่เหมาะสม 4) ความชัดเจนและกะทัดรัด การจัดเก็บข้อมูลจำานวนมากจะ ต้องใช้พื้นที่ในการจัดเก็บข้อมูลมากจึงจำาเป็นต้องออกแบบ โครงสร้างข้อมูลให้กะทัดรัดสื่อความหมายได้ มีการใช้รหัสหรือ ย่นย่อข้อมูลให้เหมาะสมเพื่อที่จะจัดเก็บเข้าไว้ในระบบ คอมพิวเตอร์ 5) ความสอดคล้อง ความต้องการเป็นเรื่องที่สำาคัญ ดังนั้นจึง ต้องมีการสำารวจเพื่อหาความต้องการของหน่วยงานและองค์การ ดูสภาพการใช้ข้อมูล ความลึกหรือความกว้างของขอบเขตของ
  • 5. ข้อมูลที่สอดคล้องกับความต้องการ ความสำาคัญของข้อมูล ข้อมูลมีความสำาคัญเพราะหากขาดข้อมูล จะกระทำาการบาง สิ่งอาจทำาไม่ได้หรือเกิดการผิดพลาดเสียหายได้ เช่น ผู้รับเหมา สร้างบ้านแต่ไม่มีข้อมูลความต้องการของผู้ว่าจ้างในการสร้างบ้าน ก็ไม่สามารถสร้างบ้านได้ หรือ การส่งเนื้อสัตว์ไปขายในบริเวณที่ ประชาชนเป็นคนมังสวิรัติไม่กินเนื้อสัตว์ อาจเขียนแผนภาพแสดง ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลกับการตัดสินใจกระทำาการสิ่งต่าง ๆ ดังนี้ เสาะหา ข ข้ ข อมูล บันทึก ข ข้ ข อมูล มีข้อมูลสำาหรับ ไม่เพียง ต ตั ต ดสินใจ พ พอ พ เพียง พ พอ พ ต ตัดสินใจ ต ประเภทของข้อมูล การแบ่งประเภทของข้อมูลแบ่งได้หลายแบบ ขึ้นอยู่กับ เกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่งซึ่งอาจแตกต่างกันไปขึ้นกับจุดประสงค์หรือ ความต้องการในการใช้ข้อมูล ในทีนี้จะแสดงการแบ่งประเภทของ ่ ข้อมูลเพื่อเป็นตัวอย่าง ดังเช่น 1. ประเภทของข้อมูลเมื่อจำาแนกตามรูปลักษณะของข้อมูล 2. ประเภทของข้อมูลเมื่อจำาแนกตามลักษณะแหล่งเกิด ข้อมูล 3. ประเภทของข้อมูลเมื่อจำาแนกตามแหล่งทีมาของข้อมูล ่ ประเภทของข้อมูลเมื่อจำาแนกตามรูปลักษณะของข้อมูล 1. ข้อมูลตัวเลข คือ ข้อมูลที่ใช้แทนจำานวน เช่น ราคานำ้ามัน ปริมาณนำ้าในเขื่อน อุณหภูมิ
  • 6. 2. ข้อมูลอักขระ คือ ข้อมูลที่เป็นตัวอักษร ตัวเลข และ สัญลักษณ์ ต่าง ๆ เช่น ที่อยู่ ประกอบ ด้วยตัวเลข คือ เลขที่บ้าน และอาจมีเครื่องหมายประกอบ เช่น / และตัวอักษร คือ ชื่อถนน ตำาบล ฯลฯ 3.ข้อมูลภาพ คือ ข้อมูลภาพถ่าย หรือ ภาพวาด ภาพลายเส้น เช่น ภาพคน แบบก่อสร้างอาคาร ลายนิ้วมือภาพวาดทิวทัศน์ ฯลฯ 4.ข้อมูลเสียง ได้แก่เสียงต่าง ๆ ที่บันทึกไว้ เช่น เสียงคน เสียง ดนตรี ฯลฯ ประเภทของข้อมูลเมื่อจำาแนกตามลักษณะแหล่งเกิดข้อมูล 1.ข้อมูลสิ่งแวดล้อม ได้แก่ข้อมูลของสิ่งที่เกิดขึ้นในสังคมและ ในโลก ทำาให้ทราบว่ามีอะไรเกิดขึ้นบ้าง เช่น ราคานำ้ามัน สภาพ ภูมิอากาศ การประท้วงของประชาชนในประเทศต่าง ๆ ฯลฯ 2.ข้อมูลหน่วยงาน คือ ข้อมูลทีแสดงความเป็นไปหรือสภาพใน ่ หน่วยงาน เช่น ประวัติพนักงาน รายงานต่าง ๆ เกี่ยวกับหน่วยงาน ฯลฯ 3.ข้อมูลส่วนตัว คือ ข้อมูลส่วนตัวของบุคคลต่าง ๆ เช่น นำ้า หนักตัว ส่วนสูง วันเดือนปีเกิด กลุ่มเลือด 4.ข้อมูลวิทยาศาสตร์ คือ ข้อมูลเกี่ยวกับทางวิทยาศาสตร์ อาจ เป็นข้อมูลที่พิสูจน์แล้ว หรือกฎเกณฑ์และทฤษฎีต่าง ๆ เช่น ความเร็วของแสง หรือข้อมูลที่ได้จากการวัดหรือการสังเกตต่าง ๆ เช่น ปริมาณธาตุต่าง ๆในดิน ณ ที่ดินแห่งหนึ่ง ลักษณะทาง พันธุกรรมของพืชที่ได้จากการผสมขึ้นมาใหม่ ฯลฯ 5.ข้อมูลข่าวและเอกสาร ได้แก่ข้อมูลต่าง ๆ เกี่ยวกับเอกสารที่มี ผู้จัดพิมพ์ขึ้น ข้อมูลประเภทนี้มีมากในห้องสมุดต่าง ๆ เช่น ชื่อผู้ แต่ง ชื่อหนังสือ เนื้อหาสาระในหนังสือ ประเภทของข้อมูลเมื่อจำาแนกตามแหล่งที่มาของข้อมูล อาจ แบ่งประเภทของข้อมูลเป็น 2 ประเภท คือ ข้อมูลปฐมภูมิ กับ ข้อมูลทุติยภูมิ ข้อมูลปฐมภูมิ คือ ข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวมหรือ บันทึกจากแหล่งข้อมูลโดยตรง อาจได้จากการสอบถาม การ สัมภาษณ์ การสำารวจ การจดบันทึก ตลอดจนได้มาจากเครื่องมือ
  • 7. วัดต่าง ๆ ข้อมูลปฐมภูมิจึงเป็นข้อมูลพื้นฐานที่ได้มาจากจุดกำาเนิด ของข้อมูล ข้อมูลทุติยภูมิ หมายถึงข้อมูลที่มีผู้อื่นรวบรวมไว้แล้วบาง ครั้งอาจมีการประมวลผลเป็นสารสนเทศไปแล้ว ผู้ใช้ข้อมูลไม่ได้ ไปสำารวจเอง ตัวอย่างเช่นข้อมูลสถิติต่าง ๆ ที่มีผทำาไว้อาจเป็น ู้ หน่วยราชการ หรือหน่วยงานอื่น ๆ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับข่าวสารข้อมูลและการสื่อสาร นับ ตั้งแต่การสร้าง การนำามาวิเคราะห์หรือประมวลผล การรับและส่ง ข้อมูล การจัดเก็บและการนำาไปใช้งานใหม่ เทคโนโลยีเหล่านี้มัก จะหมายถึง คอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบด้วยส่วนอุปกรณ์ (hardware) ส่วนคำาสั่ง (software) และส่วนข้อมูล (data) และ
  • 8. ระบบการสื่อสารต่าง ๆ ไม่วาจะเป็นโทรศัพท์ ระบบสื่อสารข้อมูล ่ ดาวเทียมหรือเครื่องมือสื่อสารใด ๆ ทั้งมีสายและไร้สาย (ความ หมายตามที่ให้ไว้ในแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารของประเทศไทย พ.ศ. 2545-2549) เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารมีความจำาเป็นต่อชีวิตประจำาวันทุกวันนี้ อย่างยิ่ง จึงตั้งหน่วยงานขึ้นรองรับและบริการ เกิดเป็นกระทรวง ใหม่ชื่อ "กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร-Ministry of Information and Communication Technology" หรือ กระทรวงไอซีท-ICT ี เทคโนโลยีสารสนเทศ (information technology) , ไอที (IT) หรือ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (information and communications technology) , ไอซีที (ICT) หมายถึง เทคโนโลยีสำาหรับการประมวลผลสารสนเทศ ซึงครอบคลุมถึงการ ่ รับ-ส่ง, แปลง, จัดเก็บ, ประมวลผล, และค้นคืนสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หมายถึง เทคโนโลยี ที่เกี่ยวข้องกับข่าวสารข้อมูลและการสื่อสาร นับตั้งแต่การสร้าง การนำามาวิเคราะห์หรือประมวลผล การรับและส่งข้อมูล การจัดเก็บ และการนำาไปใช้งานใหม่ เทคโนโลยีเหล่านี้มักจะหมายถึง คอมพิวเตอร์ซึ่งประกอบด้วยส่วนอุปกรณ์ (hardware) ส่วนคำาสั่ง (software) และส่วนข้อมูล (data) และระบบการสื่อสารต่าง ๆ ไม่ ว่าจะเป็นโทรศัพท์ ระบบสื่อสารข้อมูล ดาวเทียมหรือเครื่องมือ สื่อสารใด ๆ ทังมีสายและไร้สาย (ครูนายูลา : 2008) ้ จากความหมายข้างต้น สรุปได้ว่า เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร หมายถึง ข้อมูลทีได้ถูกผ่านกระบวนการต่างๆกลั่น ่ กรองมาเป็นข้อมูลสารสนเทศ ซึ่งเป็นทั้งเทคโนโลยีและการ สื่อสาร อาจเรียกได้วาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารนับ ่ ตั้งแต่การสร้าง การนำามาวิเคราะห์หรือประมวลผล การรับและส่ง ข้อมูล การจัดเก็บและการนำาไปใช้งานใหม่ ความสำาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
  • 9. มี 5 ประการ ได้แก่ ประการแรก การสื่อสารถือเป็นสิ่งจำาเป็นในการดำาเนิน กิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ สิ่งสำาคัญที่มี ส่วนในการพัฒนากิจกรรม ต่าง ๆ ของมนุษย์ประกอบด้วย Communications media, การสื่อ สารโทรคมนาคม (Telecoms), และเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) ประการที่สอง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ประกอบด้วยผลิตภัณฑ์หลักที่มากไปกว่าโทรศัพท์และ คอมพิวเตอร์ เช่น แฟกซ์, อินเทอร์เน็ต, อีเมล์ ทำาให้สารสนเทศ เผยแพร่หรือ กระจายออกไปในที่ต่าง ๆ ได้สะดวก ประการที่สาม เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีผล ให้การใช้งานด้านต่าง ๆ มีราคาถูกลง ประการที่สี่ เครือข่ายสื่อสาร (Communication networks) ได้รับประโยชน์จากเครือข่ายภายนอก เนื่องจากจำานวนการใช้ เครือข่าย จำานวนผู้เชื่อมต่อ และจำานวนผู้ที่มีศักยภาพในการเข้า เชื่อมต่อกับเครือข่ายนับวันจะเพิ่มสูงขึ้น ประการที่ห้า เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทำาให้ ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ และต้นทุนการใช้ ICT มีราคาถูกลงมาก วิวัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
  • 10. มนุษย์มีการใช้เครื่องมือหรือเทคโนโลยีต่างๆเพื่อการสื่อสาร มาเป็นเวลานานนับพันปี จากภาพที่ 1 จะเห็นว่า ในระยะแรกนั้น มนุษย์ใช้เทคโนโลยีที่ประดิษฐ์ขึ้นจากธรรมชาติ เช่น แผ่นปาปีรัส การตีกลอง การเป่าเขาสัตว์ จนกระทั่งมีการประดิษฐ์หนังสือพิมพ์ ขึ้นประมาณ 59 ปีก่อนคริสตกาล การสื่อสารด้วยเทคโนโลยี อิเล็กทรอนิกส์เริ่มต้นขึ้นเมื่อมีการส่งสัญญาณโทรเลขในปี ค.ศ. 1838 และการเกิดขึ้นของวิทยุกระจายเสียงใน ค.ศ. 1848 ใน ขณะเดียวกันนักประดิษฐ์ส่วนหนึ่งก็กำาลังพัฒนาเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ขึ้นมา แต่ยังไม่สามารถนำามาใช้งานได้ทั่วไป สื่อ โทรทัศน์เกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1927 และช่วงทศวรรษที่ 1960s (ระห ว่าง ค.ศ. 1960 – 1969) คอมพิวเตอร์ก็ถูกนำามาใช้แพร่หลายมาก ขึ้น และมีการเชื่อมต่อเป็นเครือข่ายในเวลาต่อมา เทคโนโลยีที่ เรียกกันว่าเป็นสื่อสมัยใหม่อย่างอินเทอร์เน็ตเกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1983 และกลายเป็นเทคโนโลยีที่ปฏิวัติโลกการสื่อสารเลยทีเดียว ในส่วนของเทคโนโลยีโทรศัพท์ไร้สายนั้น ยุคแรกของ โทรศัพท์ไร้สายอยู่ในช่วงต้นทศวรรษที่ 1980s (ระหว่าง ค.ศ. 1980 – 1989) เทคโนโลยีโทรศัพท์มีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว พร้อมศักยภาพที่สูงขึ้น ก้าวไปสู่โทรศัพท์ยุคที่ 2 และ 3 และ 4 ซึ่งทำาให้คนสามารถติดต่อสื่อสารกันได้รวดเร็วทันใจ ด้วย เทคโนโลยีทมีคุณสมบัติในการเคลื่อนที่ได้ (mobility) ตลอด ี่ เวลา สามารถรับส่งข้อมูลได้ทุกประเภท ไม่ว่าจะเป็นตัวอักษร ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว ภาพยนตร์ หรือรับฟังรายการวิทยุและรับ ชมรายการโทรทัศน์ได้จากโทรศัพท์ที่อยู่ในมือเราเท่านั้น
  • 11. ภาพที่ 1: วิวัฒนาการของเทคโนโลยีการสื่อสาร การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล การจัดเก็บข้อมูลทีมีปริมาณมากๆ ในระบบคอมพิวเตอร์โดย ่ การเก็บไว้ในแฟ้มข้อมูลแต่ละแฟ้ม อาจเกิดปัญหาข้อมูลซำ้าซ้อน กัน เมื่อมีการแก้ไขข้อมูลที่มีอยู่หลายแฟ้มข้อมูล จนทำาให้ข้อมูลมี ความขัดแย้งกันเอง จึงได้มีการเปลี่ยนการจัดเก็บข้อมูลให้อยูใน ่ รูปของฐานข้อมูลแทนเพื่อความสะดวกในการบันทึกข้อมูล แก้ไข ข้อมูล และค้นหาข้อมูล 1. ความ หมายของฐานข้อมูลและระบบการจัดการฐานข้อมูล “ ฐานข้อมูล ” (database) หมายถึง การ จัดรวบรวมข้อนิเทศหรือข้อมูลของเรื่องต่างๆ ไว้ในรูปแบบที่จะ เรียกมาใช้ได้ทันทีเมื่อต้องการ ในการเรียกนั้น อาจเรียกเพียงส่วน ใดส่วนหนึ่งมาใช้ประโยชน์เป็นครั้งเป็นคราวก็ได้ ฐานข้อมูลที่ดี ควรจะได้รบการปรับให้ทันสมัยอยู่เสมอ ั นอกจากนี้ กิตติ ภักดีวัฒนะกุล (2547, หน้า 226) ยังได้สรุปความหมายของฐาน ข้อมูล ว่าคือ กลุ่มของแฟ้มข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กันและถูกนำามา รวมกัน เช่น ฐานข้อมูลในบริษัทแห่งหนึ่งอาจประกอบไปด้วยแฟ้ม ข้อมูลหลายแฟ้มข้อมูล ซึ่งแต่ละแฟ้มต่างก็มีความสัมพันธ์กัน ได้แก่ แฟ้มข้อมูลพนักงาน แฟ้มข้อมูลแผนกในบริษัท แฟ้มข้อมูล ขายสินค้า และแฟ้มข้อมูลสินค้า เป็นต้น สรุปได้วา “ฐาน ่ ข้อมูล” คือ การรวบรวมข้อมูลที่เราต้องการจะจัดเก็บ ซึ่งต้องมี ความสัมพันธ์กันหรือเป็นเรื่องเดียวกันไว้ด้วยกัน เพื่อสะดวกในใช้ งาน “ระบบการจัดการฐานข้อมูล” (Data Base Management System: DBMS) หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่สร้างขึ้น เพื่อรวบรวมข้อมูลให้เป็นระบบ เพื่อจะได้นำาไปเก็บรักษา เรียกใช้ หรือนำามาปรับปรุงให้ทันสมัยได้ง่าย ทังนี้จำาเป็นต้องคำานึงถึงการ ้ รักษาความปลอดภัยของข้อมูลเป็นเรื่องสำาคัญด้วย สรุปความ หมายของระบบการจัดการฐานข้อมูล ว่าคือ โปรแกรมที่ใช้เป็น เครื่องมือในการจัดการฐานข้อมูล ซึ่งประกอบด้วยหน้าที่ต่างๆ ใน การจัดการกับข้อมูล รวมทั้งภาษาที่ใช้ทำางานกับข้อมูล โดยมักจะ ใช้ภาษา SQL ในการโต้ตอบระหว่างกันกับผู้ใช้ เพื่อให้สามารถ กำาหนดการสร้าง การเรียกดู การบำารุงรักษาฐานข้อมูล รวมทังการ ้
  • 12. จัดการควบคุมการเข้าถึงฐานข้อมูล ซึ่งถือเป็นการป้องกันความ ปลอดภัยในฐานข้อมูล เพื่อป้องกันมิให้ผู้ที่ไม่มีสทธิการใช้งานเข้า ิ มาละเมิดข้อมูลในฐานข้อมูลที่เป็นศูนย์กลางได้ นอกจากนี้ DBMS ยังมีหน้าทีในการรักษาความมั่นคงและความปลอดภัยของข้อมูล ่ การสำารองข้อมูล และการเรียกคืนข้อมูลในกรณีที่ข้อมูลเกิดความ เสียหาย 2. ประวัติความเป็นมาของระบบการจัดการฐานข้อมูล การจัดการฐานข้อมูลเริ่มต้นจากการที่องค์การบริหารการบิน และอวกาศสหรัฐอเมริกา หรือนาซาได้ว่าจ้างบริษทไอบีเอ็ม ั (IBM) ประเทศสหรัฐอเมริกา ให้ออกแบบระบบเก็บรวบรวมข้อมูล ที่ได้จากการสำารวจดวงจันทร์ในโครงการอะพอลโล (โครงการอะ พอลโลเป็นโครงการสำารวจอวกาศอย่างจริงจัง และมีการส่งมนุษย์ ขึ้นบนดวงจันทร์ได้สำาเร็จด้วยยานอะพอลโล 11) ได้พัฒนาระบบ การดูแลข้อมูลเรียกว่า ระบบ GUAM ( Generalized Upgrade Access Method) ซึ่งถือเป็นต้นกำาเนิดของระบบการจัดการฐาน ข้อมูล ต่อมาบริษท ไอบีเอ็ม ได้พัฒนาระบบการจัดการฐานข้อมูล ั ขึ้นมาใหม่เพื่อให้ใช้งานกับธุรกิจทั่วๆ ไปได้ เรียกว่า DL/I (Data Language/I ) จนในที่สุดก็ได้กลายมาเป็นระบบ IMS ( Information Management System) ในช่วงปี พ.ศ. 2525 มี การนำาระบบฐานข้อมูลเข้ามาใช้กับคอมพิวเตอร์อย่างเต็มที่ ได้มี การคิดค้นและผลิตซอฟต์แวร์เกี่ยวกับฐานข้อมูลออกมามากมาย การเจริญเติบโตของการจัดการฐานข้อมูลรุดหน้าไปอย่างรวดเร็ว พร้อมกับระบบคอมพิวเตอร์และมีการพัฒนามาจนถึงทุกวันนี้ ปัจจุบันได้มีการนำาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการเก็บข้อมูล โดย ใช้โปรแกรมสำาเร็จรูปทั่วไปโดยที่ผู้ใช้ไม่ต้องเขียนโปรแกรมเอง เพียงแต่เรียนรู้คำาสั่งการเรียกใช้ข้อมูลหรือการจัดการข้อมูล เช่น การป้อนข้อมูล การบันทึกข้อมูล การแก้ไขและเปลี่ยนแปลงข้อมูล เป็นต้น ในอดีตยุคที่มีไมโครคอมพิวเตอร์เกิดขึ้นแรกๆ โปรแกรม สำาเร็จรูปทางด้านการจัดการฐานข้อมูลที่นิยมใช้กันอย่างแพร่
  • 13. หลาย คือ Personal Filling System) ต่อมาได้มีโปรแกรมฐาน ข้อมูลเพิ่มขึ้นหลายโปรแกรม เช่น Datastar DB Master และ dBASE II เป็นต้นโดยเฉพาะโปรแกรม dBASE II ได้รบความนิยม ั มาก จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2528 ผู้ผลิตได้สร้าง dBASE III Plus ออกมาซึ่งสามารถจัดการฐานข้อมูลแบบสัมพันธ์ (relational) เชื่อมโยงแฟ้มข้อมูลต่างๆ เข้าด้วยกัน ค้นหา และนำามาสร้างเป็น รายงานตามความต้องการได้สะดวก รวดเร็ว ต่อมาได้มีการสร้าง โปรแกรมสำาเร็จรูปเกี่ยวกับฐานข้อมูลออกมา เช่น FoxBASE, FoxPro, Microsoft Access และ Oracle เป็นต้น 3. องค์ประกอบของระบบการจัดการฐานข้อมูล ระบบการจัดการฐานข้อมูลประกอบด้วยส่วนสำาคัญหลักๆ 5 ส่วน คือ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ข้อมูล กระบวนการทำางาน และ บุคลากร ดังรายละเอียดต่อไปนี้ 3.1 ฮาร์ดแวร์ (hardware) หมายถึง คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ ต่างๆ เพื่อเก็บข้อมูลและประมวลผลข้อมูล ซึ่งอาจประกอบด้วย เครื่องคอมพิวเตอร์ตั้งแต่หนึ่งเครื่องขึ้นไป หน่วยเก็บข้อมูลสำารอง หน่วยนำาเข้าข้อมูล และหน่วยแสดงผลข้อมูล นอกจากนียังต้องมี ้ อุปกรณ์การสื่อสารเพื่อเชื่อมโยงอุปกรณ์ทางคอมพิวเตอร์หลายๆ เครื่องให้สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้ เป็นต้น โดยเครื่อง คอมพิวเตอร์ที่จะใช้เป็นอุปกรณ์สำาหรับประมวลผลข้อมูลในฐาน ข้อมูลนั้น สามารถเป็นได้ตั้งแต่เครื่องเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ มินิ คอมพิวเตอร์ หรือไมโครคอมพิวเตอร์ ซึงถ้าเป็นเครื่องเมนเฟรม ่ คอมพิวเตอร์หรือมินิคอมพิวเตอร์ จะสามารถใช้ต่อกับเทอร์มินัล หลายเครื่อง เพื่อให้ผู้ใช้งานฐานข้อมูลหลายคน สามารถดึงข้อมูล หรือปรับปรุงข้อมูลภายในฐานข้อมูลเดียวกันพร้อมกันได้ ซึ่งเป็น ลักษณะของการทำางานแบบมัลติยูสเซอร์ (multi user) ส่วนการ
  • 14. ประมวลผลฐานข้อมูลในเครื่องระดับไมโครคอมพิวเตอร์ สามารถ ทำาการประมวลผลได้ 2 แบบ แบบแรกเป็นการประมวลผลฐาน ข้อมูลในเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์เพียงเครื่องเดียว โดยมีผู้ใช้ งานได้เพียงคนเดียวเท่านั้น (single user) ที่สามารถดึงข้อมูล หรือปรับปรุงข้อมูลภายในฐานข้อมูลได้ สำาหรับแบบที่สองจะ เป็นการนำาไมโครคอมพิวเตอร์หลายตัวมาเชื่อมต่อกันในลักษณะ ของเครือข่ายระยะใกล้ (Local Area Network : LAN) ซึ่งเป็นรูป แบบของระบบเครือข่ายแบบลูกข่าย / แม่ข่าย (client / server network) โดยจะมีการเก็บฐานข้อมูลอยู่ที่เครื่องแม่ข่าย (server) การประมวลผลต่างๆ จะกระทำาที่เครื่องแม่ข่าย สำาหรับเครื่องลูก ข่าย (client) จะมีหน้าที่ดึงข้อมูลหรือส่งข้อมูลเข้ามาปรับปรุงใน เครื่องแม่ข่าย หรือคอยรับผลลัพธ์จากการประมวลผลของเครื่อง แม่ขาย ดังนั้นการประมวลผลแบบนี้จงเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้ใช้ ่ ึ งานหลายคนสามารถใช้งานฐานข้อมูลร่วมกันได้ ระบบฐานข้อมูล ที่มประสิทธิภาพดีต้องอาศัยเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพ ี สูง คือสามารถเก็บข้อมูลได้จำานวนมากและประมวลผลได้อย่าง รวดเร็ว เพื่อรองรับการทำางานจากผู้ใช้หลายคน ที่อาจมีการอ่าน ข้อมูลหรือปรับปรุงข้อมูลพร้อมกันในเวลาเดียวกันได้ 3.2 ซอฟต์แวร์ (software) หมายถึง โปรแกรมที่ใช้ในระบบ การจัดการฐานข้อมูล ซึ่งมีการพัฒนาเพื่อใช้งานได้กับเครื่อง ไมโครคอมพิวเตอร์จนถึงเครื่องเมนเฟรม ซึ่งโปรแกรมแต่ละตัวจะ มีคุณสมบัติการทำางานทีแตกต่างกัน ดังนั้นในการพิจารณาเลือก ่ ใช้โปรแกรม จะต้องพิจารณาจากคุณสมบัติของโปรแกรมแต่ละตัว ว่ามีความสามารถทำางานในสิ่งที่เราต้องการได้หรือไม่ อีกทั้งเรื่อง ราคาก็เป็นเรื่องสำาคัญ เนื่องจากราคาของโปรแกรมแต่ละตัวจะไม่ เท่ากัน โปรแกรมที่มีความสามารถสูงก็จะมีราคาแพงมากขึ้น นอกจากนี้ยังต้องพิจารณาว่าสามารถใช้ร่วมกับฮาร์ดแวร์ และ ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการที่เรามีอยู่ได้หรือไม่ ซึ่งโปรแกรมที่ใช้ ในการจัดการฐานข้อมูล ได้แก่ Microsoft Access, Oracle, Informix, dBase, FoxPro, และ Paradox เป็นต้น