SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
ข้อมูลสานสนเทศ

ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงหรือเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่าง ๆ เช่น คน
สัตว์ สิ่งของสถานที่
      ฯลฯ โดยอยู่ในรูปแบบที่ เหมาะสมต่อการสื่อสาร การแปลความหมายและการ
ประมวลผล ซึงข้อมูลอาจจะ
                ่
      ได้มาจากการสังเกต การรวบรวม การวัด ข้อมูลเป็นได้ทั้งข้อมูลตัวเลขหรือสัญญ
ลักษณ์ใด ๆ ที่สำาคัญจะ
      ต้องมีความเป็นจริงและต่อเนื่องตัวอย่างของข้อมูล เช่น คะแนนสอบ ชือนักเรียน
เพศ อายุ เป็นต้น

   สารสนเทศ (Information) หมายถึง ข้อมูลที่ได้ผ่านกระบวนการประมวลผลแล้ว
อาจใช้วิธีง่าย ๆ
      เช่น หาค่าเฉลี่ยหรือใช้เทคนิคขั้นสูง เช่น การวิจัยดำาเนินงาน เป็นต้น เพื่อ
เปลียนแปลงสภาพข้อมูลทั่วไป
    ่
    ให้อยู่ในรูปแบบที่มความสัมพันธ์หรือมีความเกี่ยวข้องกัน เพื่อนำาไปใช้ประโยชน์ใน
                        ี
การตัดสินใจหตือตอบ
    ปัญหาต่าง ๆ ได้ สารสนเทศประกอบด้วยข้อมูลเอกสาร เสียง หรือรูปภาพต่าง ๆ แต่
จัดเนื้อเรื่องให้อยู่ใน
    รูปที่มีความหมาย สารสนเทศไม่ใช่จำากัดเฉพาะเพียงตัวเลขเพียงอย่างเดียว
เท่านั้น


        คุณสมบัตของข้อมูลที่ดี
                  ิ
     1. ความถูกต้อง หากมีการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้วข้อมูลเหล่านั้นเชื่อถือไม่ได้จะ
ทำาให้เกิดผลเสีย
          อย่างมาก ผู้ใช้ไม่กล้าอ้างอิงหรือนำาเอาไปใช้ประโยชน์ ซึงเป็นเหตุให้การ
                                                                 ่
ตัดสินใจของผูบริหาร
               ้
          ขาดความแม่นยำา และอาจมีโอกาสผิดพลาดได้ โครงสร้างข้อมูล ที่ออก แบบ
ต้องคำานึงถึงกรรมวิธี
          การดำาเนินงานเพื่อให้ได้ความถูกต้องแม่นยำามากที่สุด โดยปกติความผิด
พลาดของสารสนเทศ
          ส่วนใหญ่มาจากข้อมูลที่ไม่มีความถูกต้องซึ่งอาจมีสาเหตุมาจากคนหรือ
เครื่องจักร การออกแบบ
          ระบบจึงต้องคำานึงถึงในเรื่องนี้
     2. ความรวดเร็ว และเป็นปัจจุบัน การได้มาของข้อมูลจำาเป็นต้องให้ทันต่อความ
ต้องการของผู้ใช้
          มีการตอบสนองต่อผู้ใช้ได้ตีความหมายสารสนเทศได้ทันต่อเหตุการณ์หรือ
ความต้องการ
          มีการออกแบบระบบการเรียนค้น และรายงานตามผู้ใช้
3. ความสมบูรณ์์ ความสมบูรณ์ของสารสนเทศขึ้นกับการรวบรวมข้อมูลและวิธี
การทางปฏิบัติด้วย
         ในการดำาเนินการจัดทำาสารสนเทศต้องสำารวจและสอบถามความต้องการใช้
ข้อมูลเพื่อให้ได้
         ข้อมูลที่สมบูรณ์ในระดับหนึ่งที่เหมาะสม
   4. ความชัดเจนและกะทัดรัด การจัดเก็บข้อมูลจำานวนมากจะต้องใช้พื้นที่ในการ
จัดเก็บข้อมูลมาก
         จึงจำาเป็นต้องออกแบบโครงสร้างข้อมูลให้กะทัดรัดสื่อความหมายได้ มีการใช้
รกัสหรือย่นย่อข้อมูล
         ให้เหมาะสมเพื่อที่จะจัดเก็บเข้าไว้ในระบบคอมพิวเตอร์
    5. ความสอดคล้อง ความต้องการเป็นเรื่องที่สำาคัญ ดังนั้นจึงต้องมีการสำารวจเพื่อ
หาความต้องการ
        ของหน่วยงานและองค์การดูสภาพการใช้ข้อมูลความลึกหรือความกว้างของ
ขอบเขตของข้อมูล
        ที่สอดคล้องกับความต้องการ

        การทำาข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ
     1. การรวบรวมและตรวจสอบข้อมูล ควรประกอบด้วย
          1.1 การเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นเรื่องของการเก็บรวบรวมข้อมูลซึ่งมีจำานวนมาก
และต้องเก็บให้
              ได้อย่างทันเวลา เช่น ข้อมูลการลงทะเบียนเรียนของนักเรียน ข้อมูล
ประวัติบุคลากร ปัจจุบัน
              มีเทคโนโลยีช่วยในการจัดเก็บอยูเป็นจำานวนมาก เช่น การป้อนข้อมูลเข้า
                                                ่
เครื่องคอมพิวเตอร์
              การอ่านข้อมูลจากรหัสแท่ง การตรวจใบลงทะเบียนที่มีการฝนดินสอดำาใน
ตำาแหน่งต่าง ๆ
              เป็นวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลเช่นกัน
         1.2 การตรวจสอบข้อมูล เมื่อมีการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้วจำาเป็นต้องมีการตรวจ
สอบข้อมูล
              เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง ข้อมูลที่เก็บเข้าในระบบจะต้องมีความเชื่อถือ
ได้ หากพบ
              ที่ผดพลาดต้องแก้ไข การตรวจสอบข้อมูลมีหลายวิธี เช่น การใช้ผู้ป้อน
                  ิ
ข้อมูลสองคน
              ป้อนข้อมูลชุดเดียวกันเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์แล้วเปรียบเทียบกัน

    2. การดำาเนินการประมวลผลข้อมูลให้กลายเป็นสารสนเทศ อาจประกอบด้วย
กิจกรรม
         ดังต่อไปนี้
2.1 การจัดแบ่งข้อมูล ข้อมูลที่จัดเก็บจะต้องมีการแบ่งแยกกลุ่ม เพื่อเตรียม
ไว้สำาหรับ
               การใช้งาน การแบ่งแยกกลุ่มมีวิธีการที่ชัดเจน เช่น ข้อมูลในโรงเรียนมี
การแบ่งเป็นแฟ้ม
               ประวัตินักเรียน และแฟ้มลงทะเบียน สมุดโทรศัพท์หน้าเหลืองมีกรแบ่ง
หมวดหมู่
               สินค้า และบริการ เพื่อความสะดวกในการค้นหา
         2.2 การจัดเรียงข้อมูล เมื่อจัดแบ่งกลุ่มเป็นแฟ้มแล้ว ควรมีการจัดเรียงข้อมูล
ตามลำาดับ
              ตัวเลข หรือตัวอักษร หรือเพื่อให้เรียกใช้งานได้ง่ายประหยัดเวลา
 ตัวอย่าง
              การจัดเรียงข้อมูล เช่น การจัดเรียงบัตรข้อมูลผู้แต่งหนังสือในตู้บัตร
รายการของ
              ห้องสมุดตามลำาดับตัวอักษร การจัดเรียงชื่อคนในสมุดรายนามผู้ใช้
โทรศัพท์
              ทำาให้ค้นหาได้ง่าย
         2.3 การสรุปผล บางครั้งข้อมูลที่จัดเก็บมีเป็นจำานวนมาก จำาเป็นต้องมีการสรุป
ผลหรือ
              สร้างรายงานย่อ เพื่อนำาไปใช้ประโยชน์ ข้อมูลที่สรุปได้นี้อาจสื่อความ
หมายได้ดีกว่า
              เช่นสถิติจำานวนนักเรียนแยกตามชั้นเรียนแต่ละชั้น
         2.4 การคำานวณ ข้อมูลที่เก็บมีเป็นจำานวนมาก ข้อมูลบางส่วนเป็นข้อมูล
ตัวเลขที่สามารถ
              นำาไปคำานวณเพื่อหาผลลัพธ์บางอย่างได้ ดังนั้นการสร้างสารสนเทศจาก
ข้อมูล
              จึงอาศัยการคำานวณข้อมูลที่เก็บไว้ด้วย

    3. การดูแลรักษาสารสนเทศเพื่อการใช้งาน ประกอบด้วย
         3.1 การเก็บรักษาข้อมูล การเก็บรักษาข้อมูลหมายถึงการนำาข้อมูลมาบันทึก
เก็บไว้ในสื่อบันทึก
               ต่างๆ เช่น แผ่นบันทึกข้อมูล นอกจากนี้ยังรวมถึงการดูแล และทำาสำาเนา
ข้อมูล
               เพื่อให้ใช้งานต่อไปในอนาคตได้
         3.2 การค้นหาข้อมูล ข้อมูลที่จัดเก็บไว้มีจุดประสงค์ที่จะเรียกใช้งานได้ต่อไป
การค้นหา
               ข้อมูลจะต้องค้นได้ถูกต้องแม่นยำา รวดเร็ว จึงมีการนำาคอมพิวเตอร์เข้ามามี
ส่วนช่วย
               ในการทำางาน ทำาให้การเรียกค้นกระทำาได้ทันเวลา
3.3 การทำาสำาเนาข้อมูล การทำาสำาเนาเพื่อที่จะนำาข้อมูลเก็บรักษาไว้ หรือนำาไป
แจกจ่าย
              ในภายหลัง จึงควรจัดเก็บข้อมูลให้ง่ายต่อการทำาสำาเนา หรือนำาไปใช้อีก
ครั้งได้โดยง่าย
          3.4 การสื่อสาร ข้อมูลต้องกระจายหรือส่งต่อไปยังผู้ใช้งานที่ห่างไกลได้ง่าย
การสื่อสาร
                ข้อมูลจึงเป็นเรื่องสำาคัญ และมีบทบาทที่สำาคัญยิ่งท่จะทำาให้การส่ง
ข่าวสาร
               ไปยังผู้ใช้ทำาได้รวดเร็วและทันเวลา




      ข้อมูลที่ใช้ในการประมวลผลแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ
       1) ข้อมูลที่เป็นตัวเลข (Numeric Data) หมายถึง ข้อมูลที่ใช้แทนจำานวนที่
              สามารถนำาไปคำานวณได้ข้อมูลแบบนี้เขียนได้หลายรูปแบบ คือ
               - เลขจำานวนเต็ม หมายถึง ตัวเลขที่ไม่มีจุดทศนิยม เช่น 12, 9, 137 ,
8319 , -46
          - เลขทศนิยม หมายถึง ตัวเลขที่มจุดทศนิยม ซึ่งอาจมีค่าเป็นจำานวนเต็ม
                                            ี
เช่น 12
                  หรือเป็นจำานวนที่มีเศษทศนิยมก็ได้ เช่น 12.763   เลขทศนิยม
แบบนี้สามารถเขียนได้
                  2 รูปแบบคือ
          - แบบที่ใช้การทั่วไป เช่น 12., 9.0 ,17.63, 119.3267 , -17.34
          - แบบที่ใช้งานทางวิทยาศาสตร์ เช่น
                       123. x 104         หมายถึง 1230000.0
                       13.76 x 10-3      หมายถึง 0.01376
                        - 1764.0 x 102 หมายถึง -176400.0
                        - 1764.10-2       หมายถึง -17.64
2) ข้อมูลที่เป็นตัวอักขระ (Character Data) หมายถึง ข้อมูลที่ ไม่สามารถ
นำา
             ไปคำานวณได้ แต่อาจนำาไปเรียงลำาดับได้ เช่น การเรียงลำาดับตัวอักษร
ข้อมูลอาจ
              เป็นตัวหนังสือ ตัวเลข หรือเครื่องหมายใด ๆ เช่น COMPUTER, ON-
LINE,
             1711101,&76


          ประเภทของข้อมูล
          ถ้าจำาแนกข้อมูลออกเป็นประเภท จะแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
         1. ข้อมูลปฐมภฺมิ (Primary Data) หมายถึง ข้อมูลที่ได้จากการรวบรวม หรือ
บันทึก
             จากแหล่งข้อมูลโดยตรงซึ่งอาจจะได้จากการสอบถาม การสัมภาษณ์ การ
สำารวจและ
            การจดบันทึก ตลอดจนการจัดหามาด้วย เครื่องจักรอัตโนมัติ เช่น เครื่อง
อ่านรหัสแท่ง
            เครื่องอ่านแถบแม่เหล็ก
      2. ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) หมายถึง ข้อมูลที่มผู้อื่นรวบรวมไว้ให้
                                                                ี
แล้ว
          บางครั้งอาจมีการประมวลผลเพื่อเป็นสารสนเทศ เช่น สถิติจำานวน
ประชากร
          แต่ละจังหวัด สถิติการนำาสินค้าเข้า และการส่งสินค้าออก เป็นต้น

More Related Content

What's hot

Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22MyunDao
 
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูลLecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูลskiats
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลYongyut Nintakan
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1nattarikaii
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1nattarikaii
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1nattarikaii
 
ระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลchanoot29
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลchaiwat vichianchai
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลOrapan Chamnan
 
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศสาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศKaii Eiei
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1Orapan Chamnan
 
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MISระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MISsiriporn pongvinyoo
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศOrapan Chamnan
 
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศKo Kung
 

What's hot (19)

Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูลLecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
การจัดการข้อมูลสารสนเทศ
การจัดการข้อมูลสารสนเทศการจัดการข้อมูลสารสนเทศ
การจัดการข้อมูลสารสนเทศ
 
ระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูล
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศสาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1
 
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MISระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
งานอ.รัฐพล
งานอ.รัฐพลงานอ.รัฐพล
งานอ.รัฐพล
 
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
 
Original it 3
Original it 3Original it 3
Original it 3
 
การประมวลผลข้อมูล
การประมวลผลข้อมูลการประมวลผลข้อมูล
การประมวลผลข้อมูล
 

Similar to ข้อมูลสานสนเทศ

Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22MyunDao
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศchushi1991
 
ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18
ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18
ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18Wirot Chantharoek
 
ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18
ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18
ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18Wirot Chantharoek
 
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศPresentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศnutoon
 
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศPresentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศkartoon7
 
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศPresentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศnutoon
 
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศPraphaphun Kaewmuan
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศtungraya
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศtungraya
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศtungraya
 
ข้อมูล
ข้อมูลข้อมูล
ข้อมูลtungraya
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศrunjaun
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศrunjaun
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศKewalin Kaewwijit
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศkachornchit_maprang
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศkachornchit_maprang
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศkachornchit_maprang
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศkachornchit_maprang
 

Similar to ข้อมูลสานสนเทศ (20)

Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18
ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18
ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18
 
ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18
ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18
ข้อมูลและสารสนเทศ ปั้ม&เบญ 4 18
 
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศPresentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
 
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศPresentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
 
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศPresentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
Presentation1ข้อมูลและสารสนเทศ
 
วิจัย1
วิจัย1วิจัย1
วิจัย1
 
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูล
ข้อมูลข้อมูล
ข้อมูล
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 

ข้อมูลสานสนเทศ

  • 1. ข้อมูลสานสนเทศ ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงหรือเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่าง ๆ เช่น คน สัตว์ สิ่งของสถานที่ ฯลฯ โดยอยู่ในรูปแบบที่ เหมาะสมต่อการสื่อสาร การแปลความหมายและการ ประมวลผล ซึงข้อมูลอาจจะ ่ ได้มาจากการสังเกต การรวบรวม การวัด ข้อมูลเป็นได้ทั้งข้อมูลตัวเลขหรือสัญญ ลักษณ์ใด ๆ ที่สำาคัญจะ ต้องมีความเป็นจริงและต่อเนื่องตัวอย่างของข้อมูล เช่น คะแนนสอบ ชือนักเรียน เพศ อายุ เป็นต้น สารสนเทศ (Information) หมายถึง ข้อมูลที่ได้ผ่านกระบวนการประมวลผลแล้ว อาจใช้วิธีง่าย ๆ เช่น หาค่าเฉลี่ยหรือใช้เทคนิคขั้นสูง เช่น การวิจัยดำาเนินงาน เป็นต้น เพื่อ เปลียนแปลงสภาพข้อมูลทั่วไป ่ ให้อยู่ในรูปแบบที่มความสัมพันธ์หรือมีความเกี่ยวข้องกัน เพื่อนำาไปใช้ประโยชน์ใน ี การตัดสินใจหตือตอบ ปัญหาต่าง ๆ ได้ สารสนเทศประกอบด้วยข้อมูลเอกสาร เสียง หรือรูปภาพต่าง ๆ แต่ จัดเนื้อเรื่องให้อยู่ใน รูปที่มีความหมาย สารสนเทศไม่ใช่จำากัดเฉพาะเพียงตัวเลขเพียงอย่างเดียว เท่านั้น คุณสมบัตของข้อมูลที่ดี ิ 1. ความถูกต้อง หากมีการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้วข้อมูลเหล่านั้นเชื่อถือไม่ได้จะ ทำาให้เกิดผลเสีย อย่างมาก ผู้ใช้ไม่กล้าอ้างอิงหรือนำาเอาไปใช้ประโยชน์ ซึงเป็นเหตุให้การ ่ ตัดสินใจของผูบริหาร ้ ขาดความแม่นยำา และอาจมีโอกาสผิดพลาดได้ โครงสร้างข้อมูล ที่ออก แบบ ต้องคำานึงถึงกรรมวิธี การดำาเนินงานเพื่อให้ได้ความถูกต้องแม่นยำามากที่สุด โดยปกติความผิด พลาดของสารสนเทศ ส่วนใหญ่มาจากข้อมูลที่ไม่มีความถูกต้องซึ่งอาจมีสาเหตุมาจากคนหรือ เครื่องจักร การออกแบบ ระบบจึงต้องคำานึงถึงในเรื่องนี้ 2. ความรวดเร็ว และเป็นปัจจุบัน การได้มาของข้อมูลจำาเป็นต้องให้ทันต่อความ ต้องการของผู้ใช้ มีการตอบสนองต่อผู้ใช้ได้ตีความหมายสารสนเทศได้ทันต่อเหตุการณ์หรือ ความต้องการ มีการออกแบบระบบการเรียนค้น และรายงานตามผู้ใช้
  • 2. 3. ความสมบูรณ์์ ความสมบูรณ์ของสารสนเทศขึ้นกับการรวบรวมข้อมูลและวิธี การทางปฏิบัติด้วย ในการดำาเนินการจัดทำาสารสนเทศต้องสำารวจและสอบถามความต้องการใช้ ข้อมูลเพื่อให้ได้ ข้อมูลที่สมบูรณ์ในระดับหนึ่งที่เหมาะสม 4. ความชัดเจนและกะทัดรัด การจัดเก็บข้อมูลจำานวนมากจะต้องใช้พื้นที่ในการ จัดเก็บข้อมูลมาก จึงจำาเป็นต้องออกแบบโครงสร้างข้อมูลให้กะทัดรัดสื่อความหมายได้ มีการใช้ รกัสหรือย่นย่อข้อมูล ให้เหมาะสมเพื่อที่จะจัดเก็บเข้าไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ 5. ความสอดคล้อง ความต้องการเป็นเรื่องที่สำาคัญ ดังนั้นจึงต้องมีการสำารวจเพื่อ หาความต้องการ ของหน่วยงานและองค์การดูสภาพการใช้ข้อมูลความลึกหรือความกว้างของ ขอบเขตของข้อมูล ที่สอดคล้องกับความต้องการ การทำาข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ 1. การรวบรวมและตรวจสอบข้อมูล ควรประกอบด้วย 1.1 การเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นเรื่องของการเก็บรวบรวมข้อมูลซึ่งมีจำานวนมาก และต้องเก็บให้ ได้อย่างทันเวลา เช่น ข้อมูลการลงทะเบียนเรียนของนักเรียน ข้อมูล ประวัติบุคลากร ปัจจุบัน มีเทคโนโลยีช่วยในการจัดเก็บอยูเป็นจำานวนมาก เช่น การป้อนข้อมูลเข้า ่ เครื่องคอมพิวเตอร์ การอ่านข้อมูลจากรหัสแท่ง การตรวจใบลงทะเบียนที่มีการฝนดินสอดำาใน ตำาแหน่งต่าง ๆ เป็นวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลเช่นกัน 1.2 การตรวจสอบข้อมูล เมื่อมีการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้วจำาเป็นต้องมีการตรวจ สอบข้อมูล เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง ข้อมูลที่เก็บเข้าในระบบจะต้องมีความเชื่อถือ ได้ หากพบ ที่ผดพลาดต้องแก้ไข การตรวจสอบข้อมูลมีหลายวิธี เช่น การใช้ผู้ป้อน ิ ข้อมูลสองคน ป้อนข้อมูลชุดเดียวกันเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์แล้วเปรียบเทียบกัน 2. การดำาเนินการประมวลผลข้อมูลให้กลายเป็นสารสนเทศ อาจประกอบด้วย กิจกรรม ดังต่อไปนี้
  • 3. 2.1 การจัดแบ่งข้อมูล ข้อมูลที่จัดเก็บจะต้องมีการแบ่งแยกกลุ่ม เพื่อเตรียม ไว้สำาหรับ การใช้งาน การแบ่งแยกกลุ่มมีวิธีการที่ชัดเจน เช่น ข้อมูลในโรงเรียนมี การแบ่งเป็นแฟ้ม ประวัตินักเรียน และแฟ้มลงทะเบียน สมุดโทรศัพท์หน้าเหลืองมีกรแบ่ง หมวดหมู่ สินค้า และบริการ เพื่อความสะดวกในการค้นหา 2.2 การจัดเรียงข้อมูล เมื่อจัดแบ่งกลุ่มเป็นแฟ้มแล้ว ควรมีการจัดเรียงข้อมูล ตามลำาดับ ตัวเลข หรือตัวอักษร หรือเพื่อให้เรียกใช้งานได้ง่ายประหยัดเวลา ตัวอย่าง การจัดเรียงข้อมูล เช่น การจัดเรียงบัตรข้อมูลผู้แต่งหนังสือในตู้บัตร รายการของ ห้องสมุดตามลำาดับตัวอักษร การจัดเรียงชื่อคนในสมุดรายนามผู้ใช้ โทรศัพท์ ทำาให้ค้นหาได้ง่าย 2.3 การสรุปผล บางครั้งข้อมูลที่จัดเก็บมีเป็นจำานวนมาก จำาเป็นต้องมีการสรุป ผลหรือ สร้างรายงานย่อ เพื่อนำาไปใช้ประโยชน์ ข้อมูลที่สรุปได้นี้อาจสื่อความ หมายได้ดีกว่า เช่นสถิติจำานวนนักเรียนแยกตามชั้นเรียนแต่ละชั้น 2.4 การคำานวณ ข้อมูลที่เก็บมีเป็นจำานวนมาก ข้อมูลบางส่วนเป็นข้อมูล ตัวเลขที่สามารถ นำาไปคำานวณเพื่อหาผลลัพธ์บางอย่างได้ ดังนั้นการสร้างสารสนเทศจาก ข้อมูล จึงอาศัยการคำานวณข้อมูลที่เก็บไว้ด้วย 3. การดูแลรักษาสารสนเทศเพื่อการใช้งาน ประกอบด้วย 3.1 การเก็บรักษาข้อมูล การเก็บรักษาข้อมูลหมายถึงการนำาข้อมูลมาบันทึก เก็บไว้ในสื่อบันทึก ต่างๆ เช่น แผ่นบันทึกข้อมูล นอกจากนี้ยังรวมถึงการดูแล และทำาสำาเนา ข้อมูล เพื่อให้ใช้งานต่อไปในอนาคตได้ 3.2 การค้นหาข้อมูล ข้อมูลที่จัดเก็บไว้มีจุดประสงค์ที่จะเรียกใช้งานได้ต่อไป การค้นหา ข้อมูลจะต้องค้นได้ถูกต้องแม่นยำา รวดเร็ว จึงมีการนำาคอมพิวเตอร์เข้ามามี ส่วนช่วย ในการทำางาน ทำาให้การเรียกค้นกระทำาได้ทันเวลา
  • 4. 3.3 การทำาสำาเนาข้อมูล การทำาสำาเนาเพื่อที่จะนำาข้อมูลเก็บรักษาไว้ หรือนำาไป แจกจ่าย ในภายหลัง จึงควรจัดเก็บข้อมูลให้ง่ายต่อการทำาสำาเนา หรือนำาไปใช้อีก ครั้งได้โดยง่าย 3.4 การสื่อสาร ข้อมูลต้องกระจายหรือส่งต่อไปยังผู้ใช้งานที่ห่างไกลได้ง่าย การสื่อสาร ข้อมูลจึงเป็นเรื่องสำาคัญ และมีบทบาทที่สำาคัญยิ่งท่จะทำาให้การส่ง ข่าวสาร ไปยังผู้ใช้ทำาได้รวดเร็วและทันเวลา ข้อมูลที่ใช้ในการประมวลผลแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ 1) ข้อมูลที่เป็นตัวเลข (Numeric Data) หมายถึง ข้อมูลที่ใช้แทนจำานวนที่ สามารถนำาไปคำานวณได้ข้อมูลแบบนี้เขียนได้หลายรูปแบบ คือ - เลขจำานวนเต็ม หมายถึง ตัวเลขที่ไม่มีจุดทศนิยม เช่น 12, 9, 137 , 8319 , -46 - เลขทศนิยม หมายถึง ตัวเลขที่มจุดทศนิยม ซึ่งอาจมีค่าเป็นจำานวนเต็ม ี เช่น 12 หรือเป็นจำานวนที่มีเศษทศนิยมก็ได้ เช่น 12.763 เลขทศนิยม แบบนี้สามารถเขียนได้ 2 รูปแบบคือ - แบบที่ใช้การทั่วไป เช่น 12., 9.0 ,17.63, 119.3267 , -17.34 - แบบที่ใช้งานทางวิทยาศาสตร์ เช่น 123. x 104 หมายถึง 1230000.0 13.76 x 10-3 หมายถึง 0.01376 - 1764.0 x 102 หมายถึง -176400.0 - 1764.10-2 หมายถึง -17.64
  • 5. 2) ข้อมูลที่เป็นตัวอักขระ (Character Data) หมายถึง ข้อมูลที่ ไม่สามารถ นำา ไปคำานวณได้ แต่อาจนำาไปเรียงลำาดับได้ เช่น การเรียงลำาดับตัวอักษร ข้อมูลอาจ เป็นตัวหนังสือ ตัวเลข หรือเครื่องหมายใด ๆ เช่น COMPUTER, ON- LINE, 1711101,&76 ประเภทของข้อมูล ถ้าจำาแนกข้อมูลออกเป็นประเภท จะแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ 1. ข้อมูลปฐมภฺมิ (Primary Data) หมายถึง ข้อมูลที่ได้จากการรวบรวม หรือ บันทึก จากแหล่งข้อมูลโดยตรงซึ่งอาจจะได้จากการสอบถาม การสัมภาษณ์ การ สำารวจและ การจดบันทึก ตลอดจนการจัดหามาด้วย เครื่องจักรอัตโนมัติ เช่น เครื่อง อ่านรหัสแท่ง เครื่องอ่านแถบแม่เหล็ก 2. ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) หมายถึง ข้อมูลที่มผู้อื่นรวบรวมไว้ให้ ี แล้ว บางครั้งอาจมีการประมวลผลเพื่อเป็นสารสนเทศ เช่น สถิติจำานวน ประชากร แต่ละจังหวัด สถิติการนำาสินค้าเข้า และการส่งสินค้าออก เป็นต้น