SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
Download to read offline
หม่ อมหลวงปิ่ น มาลากุล
รายงาน
           เรื่อง หม่ อมหลวงปิ่ น มาลากุล

         วิชา ประวัติศาสตร์ สากล ส 32103

                       จัดทาโดย

         1. นาย ณัฐวุฒิ       แสนคาปา          เลขที่ 5
         2. นางสาว ดารณี      ลาดหนองขุ่น     เลขที่ 30
         3. นาวสาว นันทนา     จันทามา         เลขที่ 40
         4. นางสาว พรพิมล     น้ อยวิบล       เลขที่ 44
         5. นางสาว รัชนีกร    ชะราผาย         เลขที่ 46

                         เสนอ

             คุณครู สฤษดิ์ศักดิ์ ชินเขมจารี
                                   ้

โรงเรียน เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ร้ อยเอ็ด

         สานักงานเขตพืนทีการศึกษาเขตที่ 27
                      ้ ่
คานา
         รายงาน เรื่ อง หม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล ฉบับนี้เป็ นส่วนหนึ่งของวิชาประวัติศาสตร์สากล
( โดยมีจุดประสงค์ เพื่อการศึกษาความรู้ที่ได้จากเรื่ อง พระราชประวัติ หม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล )
คณะผูจดทาได้จดทาหัวข้อนี้ในการทารายงาน เนื่องมาจากเป็ นการเรี ยนเรื่ องประวัติบุคคลสาคัญที่
      ้ั         ั
UNESCO ยอมรับเป็ นบุคคลสาคัญของโลก เพื่อต้องการทราบว่าประวัติความเป็ นมาของเรื่ อง
หม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล คณะผูจดทาจะต้องขอขอบคุณ คุณครู สฤษดิ์ศกดิ์ ชิ้นเขมจารี ผูให้ความรู้
                                  ้ั                                  ั               ้
และแนวทางการศึกษา
         เพื่อน ๆ ทุกคนที่ให้ ความช่วยเหลือมาโดยตลอด คณะผูจดทาหวังว่ารายงานฉบับนี้จะให้
                                                               ้ั
ความรู้ และเป็ นประโยชน์แก่ผที่อ่านไม่มากก็นอย ถ้าผิดพลาดประการใดก็ขออภัยมา ณ ที่น้ ีดวย
                               ู้             ้                                          ้

                                                                                 คณะผูจดทา
                                                                                      ้ั
สารบัญ

เรื่อง                                                    หน้ า

-   ประวัติ                                                1
-   ประวัตการศึกษา
            ิ                                              2
-   รับราชการ                                              4
-   สถาปนามหาวิทยาลัยศิลปากรวิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์    5

- การก่อตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา                        5

- ผลงานวรรณกรรม                                            8

-   ศิษย์สมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า                            9
-   เริ่มเขียนงานประพันธ์                                  9
-   ผลงานวรรณกรรม                                         10
-   ชีวตสมรส
         ิ                                                14
-   บรรณนุกรม                                             15
                                         -
หม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล




      หม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล (24 ตุลาคม พ.ศ. 2446 - 5 ตุลาคม พ.ศ. 2538) บุคคลสาคัญของโลก
และศิลปิ นแห่งชาติ อดีตรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงวัฒนธรรม
อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาลัยวิชาการศึกษาและผูก่อตั้งโรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษา
                                                             ้
      ประวัติ
หม่อมหลวงปิ่ นเกิดเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2446 ณ บ้านถนนอัษฎางค์ กรุ งเทพมหานคร เป็ นบุตร
คนที่ 6 ใน 13 คน ของเจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี (หม่อมราชวงศ์เปี ย มาลากุล) และท่าน
ผูหญิงเสงี่ยม พระเสด็จสุเรนทราธิบดี (เสงี่ยม มาลากุล ณ อยุธยา (นามสกุลเดิม วสันตสิงห์)) ท่านมี
  ้
พี่นองร่ วมบิดามารดาทั้งสิ้น 8 คน ได้แก่
    ้

    หม่อมหลวงปก มาลากุล

    หม่อมหลวงป้ อง มาลากุล

    หม่อมหลวงเปนศรี มาลากุล

    หม่อมหลวงปนศักดิ์ มาลากุล

    หม่อมหลวงปอง เทวกุล (สมรสกับหม่อมเจ้าสุรวุฒิประวัติ เทวกุล)

    หม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล

    หม่อมหลวงเปี่ ยมสิน มาลากุล

    หม่อมหลวงปานตา วสันตสิงห์ (สมรสกับนายเมืองเริ ง วสันตสิงห์)
ประวัตการศึกษา
                                ิ




   เริ่มศึกษาที่บ้านจนเข้ าโรงเรียน

         ย้อนหลังกลับไปเมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๑ เมื่อหม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล อายุได้ ๔ ขวบเศษ ได้
เริ่ มต้นศึกษาเล้าเรี ยนที่บานโดยมีครู มาสอนก่อน จนกระทังท่านอายุประมาณ ๘ ปี จึงได้เข้าเรี ยนที่
                            ้                                 ่
โรงเรี ยนสวนกุหลาบวิทยาลัย สมัยนั้นยังเป็ นโรงเรี ยนวัดราชบูรณะ โดยเข้าเรี ยนในชั้นประถม
พิเศษ ปลายปี นั้นสอบไล่ได้เลื่อนไปเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑ ( สมัยนั้นเยาวชนไทยเรี ยนชั้น
ประถมฯ ๔ ปี ดังนั้น ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑ เทียบได้กบชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๕ ในปัจจุบน
                                                         ั                             ั
         ท่านศึกษาอยูที่โรงเรี ยนสวนกุหลาบวิทยาลัย จนกระทังสอบไล่ได้ช้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓ เมื่อ
                       ่                                        ่          ั
พ.ศ. ๒๔๕๖ ขณะนั้นท่านอายุ ๑๐ ปี
ต่อมาใน พ.ศ. ๒๔๕๗ เจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดีได้นาหม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล เข้าถวาย
ตัวต่อพระบามสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยูหว ท่านจึงได้ยายเข้าไปเรี ยนที่โรงเรี ยนมหาดเล็กหลวง
                                             ่ ั            ้
ซึ่งปัจจุบนนี้คือ โรงเรี ยนวชิราวุธวิทยาลัย เป็ นนักเรี ยนในพระบรมราชูปถัมภ์ ต้องเรี ยนซ้ าชั้น
            ั
มัธยมศึกษาปี ที่ ๓ อีก ๑ ปี ผลการเรี ยนของท่านที่โรงเรี ยนมหาดเล็กหลวงอยูในเกณฑ์ดี คือ ท่าน
                                                                             ่
สามารถทาคะแนนได้ดีมากในวิชาคณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษ โดยเฉพาะวิชาคณิตศาสตร์ ท่าน
มักจะได้คะแนนเต็มอยูเ่ สมอ นอกจากนี้ ท่านยังสนใจด้านกีฬาอีกด้วย โดยเฉพาะกีฬาฟุตบอล
นักเรียนมหาดเล็กรับใช้ รุ่นแรก

หม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล เป็ นนักเรี ยนมหาดเล็กรับใช้อยูได้ ๖ ปี ครั้นถึงเดือนธันวาคม พ.ศ.
                                                      ่
๒๔๖๔ ขณะนั้นท่านอายุ ๑๘ ปี
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูหวมีพระราชดารัสกับพระยาอนุรุทธเทวาว่า
                                    ่ ั

     " ปิ่ นนั้น ใช้ให้ทาอะไรก็ได้ดี อายุก็มากแล้ว ไปถามดูว่า อยากจะออกรับราชการ หรื อ
อยากจะไปเรี ยนต่อเมืองนอก "
และพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูหว มีพระราชกระแสโปรดเกล้า ฯ ให้หม่อมหลวงปิ่ น
                                          ่ ั
มาลากุล ไปแจ้งแก่ท่านผูหญิงเสงี่ยมดังนี้
                          ้

     " ไปบอกแม่ว่า...จะส่งปิ่ นไปเรี ยนที่องกฤษ สังกัดกระทรวงธรรมาการ จะได้กลับมารับ
                                           ั
ราชการแทนพ่อ แม่คงจะยินดีมาก "

       หลังจากนั้นจึงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้หม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล รับทุนเล่า
เรี ยนหลวงไปศึกษา ณ ประเทศอังกฤษ และให้สงกัดกระทรวงธรรมการ เพราะบิดาของท่านได้ทา
                                         ั
คุณประโยชน์ให้แก่กระทรวงธรรมการอย่างเอนกอนันต์

       หม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล ออกเดินทางจากประเทศไทยเมื่อวันที่ ๒๓ มกราคม พ.ศ. ๒๔๖๕
ตอนแรกไปอยูกบครอบครัวของ Mr.Marshall ที่เมือง Brighton เพื่อฝึ กฝนด้านภาษาและประเพณี
             ่ ั
เป็ นเวลาประมาณปี เศษ จากนั้นไดเข้าศึกษาที่ School of Oriental Studies มหาวิทยาลัยลอนดอน

       วันที่ ๙ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๖๗ ท่านสามารถสอบเข้าศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ดได้
ศึกษาอยูเ่ ป็ นเวลา ๔ ปี โดนเลือภาษาสันสกฤตเป็ นวิชาเอก ภาษาบาลีเป็ นวิชาโท สาเร็จการศึกษา
เมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๑ ไดรับปริ ญญาตรี เกียรตินิยม ทางภาษาสันสกฤต
( B.A. Honours )

     พ.ศ. ๒๔๗๒ หม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล ได้ศึกษาวิชาครู เพิ่มเติมที่มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด
แต่ในปลายปี หลังจากที่สอบสอนและสอบข้อเขียนบางวิชาไปแล้ว ท่านล้มป่ วยลงหลังจาก
ตรากตราทางานอย่างหนัก เนื่องจากการออกฝึ กสอน ประจวบกับระยะนั้นที่ประเทศอังกฤษเป็ น
ฤดูหนาว ท่านจึงต้องเดินทางไปรักษาตัวที่ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
ในระหว่างที่ท่านพักรักษาตัวอยูที่ประเทศวสวิตเซอร์แลนด์ใน พ.ศ. ๒๔๗๔ นั้น
                                      ่
มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ดก็ได้พจารณาผลการทางานและผลสอบที่ผานมาของท่าน ปรากฏว่าผลงาน
                              ิ                                  ่
และผลการสอบข้อเขียนของท่านอยูในเกณฑ์ที่น่าพอใจ มหาวิทยาลัยจึงมอบปริ ญญาโททางด้าน
                                    ่
อักษรศาสตร์ ( M.A. ) ให้แก่ท่าน เมื่อท่านรับปริ ญญาแล้วก็รีบเดินทางกลับประเทศไทยทันทีในปี
นั้น



รับราชการ

                               ในปี พ.ศ. 2455 ได้ถวายตัวเป็ นมหาดเล็กที่พระที่นงอัมพรสถาน
                                                                               ั่
                               ต่อมาได้เป็ นอาจารย์ประจากองแบบเรี ยนกรมวิชาการ อาจารย์
                               พิเศษคณะอักษรศาสตร์        และวิทยาศาสตร์            จุ ฬาลงกรณ์
                               มหาวิทยาลัยในปี พ.ศ. 2474 ในปี พ.ศ. 2475 เป็ นอาจารย์โท
                               อาจารย์ประจาคณะอักษรศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
                               มหาวิทยาลัย และยังได้เป็ นหัวหน้าแผนกฝึ กหัดครู มธยม คณะ
                                                                                  ั
                               อักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์         จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและ
                               รักษาการในตาแหน่งครู ใหญ่โรงเรี ยนมัธยมหอวังในปี พ.ศ. 2477
อีกด้วย
หม่อมหลวงปิ่ นได้เป็ นอาจารย์เอก อันดับ 1 และได้รับการแต่งตั้งเป็ นผูอานวยการโรงเรี ยนเตรี ยม
                                                                        ้
อุดมศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในปี พ.ศ. 2480 5 ปี ต่อมาในปี พ.ศ. 2485 ได้รับแต่งตั้งเป็ น
อธิบดีกรมสามัญศึกษาอีกตาแหน่งหนึ่งอีกด้วย ในปี พ.ศ. 2487 ท่านได้พนจากตาแหน่ง     ้
ผูอานวยการโรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษาและเป็ นที่ปรึ กษาโรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษาและทางานใน
  ้
หน้าที่เลขาธิการจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ในปี พ.ศ. 2489 ท่านดารงตาแหน่งเป็ นปลัดกระทรวงศึกษาธิการ และในปี พ.ศ. 2495 - พ.ศ. 2496
ท่านได้เป็ นรักษาการอธิบดีกรมวิชาการ หลังจากนั้นในปี พ.ศ. 2497 ได้เป็ นรักษาการอธิบดี
กรมการฝึ กหัดครู รักษาการอธิการวิทยาลัยวิชาการศึกษา ศาสตราจารย์พิเศษในคณะครุ ศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หม่อมหลวงปิ่ น มาลากุลดารงตาแหน่งรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงวัฒนธรรมตั้งแต่วนที่ 21 กันยายน
                                                                       ั
พ.ศ. 2500 ถึง 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501 และดารงตาแหน่งรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงศึกษาธิการตั้งแต่
พ.ศ. 2500 ถึง พ.ศ. 2512 เป็ นเวลายาวนานถึง 12 ปี เศษ
สถาปนามหาวิทยาลัยศิลปากรวิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์

ปี พ.ศ. ๒๕๐๙ มหาวิทยาลัยศิลปากร โดยหม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล อธิการบดีในขณะนั้น มีนโยบาย
ที่จะเปิ ดคณะวิชาและสาขาวิชาที่ หลากหลายขึ้น แต่เนื่องจากบริ เวณพื้นที่ในวังท่าพระคับแคบมาก
ไม่สามารถจะขยายพื้นที่ออกไปได้ จึงได้ขยายเขตการศึกษาไปยังพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัด
นครปฐม โดยจัดตั้งคณะอักษรศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๑๑ คณะศึกษาศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๑๓ และคณะ
วิทยาศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๑๕ ตามลาดับ หลังจากนั้น จัดตั้งคณะเภสัชศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๒๙ คณะ
วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม พ.ศ. ๒๕๓๕ สาเหตุที่เลือกพระราชวังสนามจันทร์
เป็ นที่ต้งวิทยาเขตแห่งใหม่ หม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล ได้ให้เหตุผลไว้ดงนี้
          ั                                                        ั

    ประการแรก พระราชวังสนามจันทร์เคยเป็ นพระราชวังของพระบาทสมเด็จพระ มงกุฎเกล้า
    เจ้าอยูหว พระมหากษัตริ ยผสนพระราชหฤทัยเป็ นอย่างยิงในทาง โบราณคดีและศิลปะทั้งปวง
          ่ ั               ์ ู้                      ่
    ทรงเป็ นนักโบราณคดีและศิลปิ นชั้นเยียมโดยเฉพาะ ทาง วรรณศิลป์ ทรงสนับสนุนนาฏศิลป์
                                        ่
    ตลอดรัชสมัยของพระองค์

    ประการที่สอง บริ เวณพระราชวังสนามจันทร์เป็ นที่ต้งของเทวาลัยคเณศ ซึ่ง พระบาทสมเด็จ
                                                       ั
    พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูหวได้โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น นอกจากนี้ พระคเณศยังเป็ นเทพเจ้าแห่ง
                        ่ ั
    ศิลปะ และเป็ นตราของทางมหาวิทยาลัยศิลปากร อยูแล้ว่

    ประการสุ ดท้ าย ที่จงหวัดนครปฐมมีพระปฐมเจดียประดิษฐานอยู่ นับได้ว่าเป็ น ศูนย์กลางของ
                        ั                         ์
    โบราณคดีและศิลปะที่สาคัญในประเทศไทย ดังนั้นบริ เวณพระราชวัง สนามจันทร์ จังหวัด
    นครปฐม จึงเหมาะที่จะเป็ นที่ต้งของมหาวิทยาลัยศิลปากร
                                  ั



การก่อตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา

หม่อมหลวงปิ่ น มาลากุลได้ก่อตั้งโรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษาขึ้น เมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2480 โดย
นักเรี ยนเริ่ มเรี ยนในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2481 โดยมี ฯพณฯ ดารงตาแหน่งผูอานวยการคนแรก
                                                                                 ้
ของโรงเรี ยน ในปี แรกๆ โรงเรี ยนได้เจริ ญขึ้นเป็ นลาดับ เช่น ทางด้านวิชาการมีผลเป็ นที่น่าพอใจ
การสร้างตึก 2 แล้วเสร็ จในปี พ.ศ. 2482 และต่อมาได้สร้างตึก 3 ไปจนจดถนนอังรี ดนงต์ ในเวลานี้
                                                                                   ู ั
นอกจากผลงานทางด้านวิชาการจะเป็ นที่น่าพอใจแล้ว นักเรี ยนยังได้แสดงความสามารถในการเล่น
กีฬาต่างๆ ที่หม่อมหลวงปิ่ น มาลากุลได้นาเข้ามาในโรงเรี ยน เช่น ฮอกกี้ รักบี้ และฟุตบอล
เข้าเกณฑ์ที่กล่าวได้ว่า "เรี ยนก็เด่น เล่นก็ดี กีฬาเลิศ"
นอกจากนี้หม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล ยังมีวิสยทัศน์อน
                                                                                        ั         ั
                                          กว้างไกล ในการดาเนินการศึกษา ให้แก่นกเรี ยนเตรี ยม
                                                                                     ั
                                          อุดมศึกษา ด้วยเล็งเห็นว่า โรงเรี ยนนี้เป็ นโรงเรี ยนที่ม่งุ
                                          เตรี ยมเข้าสู่ระดับอุดมศึกษา จึงจัดสหศึกษาของวัยรุ่ น
                                          ด้วยความรอบคอบระมัดระวัง โดยการเตรี ยมความ
                                          พร้อมด้านวิชาการ ควบคู่คุณธรรมดังที่ท่านเคยกล่าว
                                          ไว้ว่า

                                                        " อันอานาจใดใดในโลกนี้
                                                       ไม่เห็นมีเปรี ยบปานการศึกษา
                                                        สร้างคนหาค่ามิได้ในโลกา
                                                          ขึ้นจากผูที่หาค่าไม่มีฯ "
                                                                   ้
                            " อันตึกงามกับสนามกว้างสร้างขึ้นได้
                                มีเงินหยิบโยนให้ก็เสร็ จสรรพ์
                                 แต่งามจิตใจกว้างนั้นต่างกัน
                                การอบรมเท่านั้นเป็ นปัจจัยฯ "
หม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล ได้วางระเบียบและข้อปฏิบติงานไว้อย่างเหมาะสม นับเป็ นประโยชน์แก่
                                              ั
การศึกษา เป็ นอย่างดียง เช่น
                      ิ่

   มีแผนทะเบียนเป็ นศูนย์กลางขึ้นตรงต่อผูอานวยการประสานงานฝ่ ายวิชาการและการปกครอง
                                         ้

   จัดทาทะเบียนประวัติยอของนักเรี ยนที่เข้าเรี ยนแต่ ปีแรก
                       ่

   มีสถิติการเรี ยนและการสอบต่างๆ บันทึกไว้เพื่อให้ทราบพฤติกรรมของนักเรี ยน

   วางระเบียบให้มีรางวัลคะแนนรวมให้แก่นกเรี ยนที่ได้คะแนนยอดเยียม
                                       ั                       ่

   มีการจารึ กนามนักเรี ยนที่ได้คะแนนยอดเยียมไว้ที่แผ่นเกียรติยศการศึกษาเป็ นตัวอักษรสีทอง
                                           ่
   ไว้ในห้องประชุมของโรงเรี ยน (ปัจจุบนคือห้อง 111 ตึก 2)
                                       ั

   นอกจากนี้ท่านยังได้คดการแข่งขันกีฬา ให้เฉพาะโรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษาเรี ยกว่า การแข่งขัน
                        ิ
   วิ่งสามสระ เป็ นกีฬาที่หญิงชายเล่นร่ วมกันได้
หม่อมหลวงปิ่ น มาลากุลได้ยนใบลาออกจากการเป็ นผูอานวยการโรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษาแก่จอม
                            ื่                   ้
พล ป. พิบูลสงคราม เมื่อราวเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2487 ดังนี้

ตามที่ได้มาเรี ยนปฏิบติขอราชการนะโรงเรี ยนลูกกาพร้าสงครามเมื่อวันที่ ๓ กรกฎาคม ศกนี้ และ
                      ั ้
ท่านได้แสดความเห็นใจว่า ในตาแหน่งอธิบดีกรมสามัญสึกสา ย่อมมีงานที่จะต้องปฏิบติอยูมาก
                                                                               ั ่
แล้ว ให้หาคนแทนในตาแหน่งผูอานวยการโรงเรี ยนเตรี ยมอุดมสึกสานั้น นับว่าเป็ นความกรุ ณาของ
                                ้
ท่านเป็ นอย่างยิง จึงขอเชื่อและปติบติตามคาแนะนาของพนะท่านด้วยความเคารพอย่างสูงสุด
                ่                  ั

ในโอกาสนี้ขอประทานกราบเรี ยนว่า นับตั้งแต่ พนะท่านได้เรี ยกไปกะซวงกลาโหม เมื่อวันที่ ๖
มกราคม ๒๔๘๐ เพื่อชี้แจงนโยบาย และมอบหมายให้จดตั้งโรงเรี ยนเตรี ยมอุดมสึกสาเป็ นต้นมา ก็
                                                  ั
ได้ต้งใจ ปติบติงานอย่างเต็มสติกาลัง และพยายามรักสานโยบายของพนะท่านไว้เป็ นนิจ จานวน
     ั           ั
นักเรี ยนทวีข้ ึนจาก ๓๕๐ คน ในปี แรก จนถึง ๓,๕๐๐ คนในปัจจุบน การงานมิได้มีติดขัดประการ
                                                            ั
ได จนกระทังประเทศเข้าสู่ภาวะสงคราม ซึ่งย่อมมีอุปสรรคเป็ นธรรมดา แต่ก็แก้ไขให้ลุล่วงไปได้
             ่
ภายใต้การบังคับบัญชาสูงสุดของพนะท่าน และพนะท่านรองอธิการบดี

การเปลี่ยนแปลงตัวผูอานวยการนั้น ขอประทานกราบเรี ยนว่ารู้สึกเป็ นห่วงหยูไม่นอย แต่หม่อมเจ้า
                      ้                                                        ่ ้
วงษ์มหิป ชยางกูร ก็เป็ นผูที่มความสามารถในการสังสอนอบรมนักเรี ยนเป็ นอย่างดี และเป็ น
                          ้ ี                     ่
อาจารย์ที่ได้หยูช่วยเหลือผูอานวยการมาเป็ นอันมาก ตั้งแต่เริ่ มจัดตั้งโรงเรี ยน จึงเป็ นการเหมาะสมที่
                ่          ้
จะตั้งเป็ นผูอานวยการต่อไป ดีกว่าเลือกบุคคลซึ่งยังไม่เคยร่ วมงานนี้มาแต่ก่อน
             ้

ส่วนไนทางไจนั้น รู้สึกมีความอาลัยเป็ นอย่างมากในการที่จะไปจากโรงเรี ยนเตรี ยมอุดมสึกสา เมื่อ
มาคานึงว่า ตลอดเวลา ๖ ปี ครึ่ ง ที่ทามานี้ มีตาแหน่งประจาอยูทางแผนกฝึ กหัดครูคณะอักสรศาสตร์
                                                              ่
และวิทยาสาสตร์ในชั้นต้น และทางกรมสามัญสึกสาในเวลาต่อมา งานไนโรงเรี ยนเตรี ยมอุดมสึกสา
เป็ นงาน พิเสส ซึ่งมิได้มีตาแหน่งเงินเดือนหรื อเงินเพิ่มพิเสสแต่อย่างใด แต่ก็ได้ทามาด้วยความรัก
และการเสียสละไนทุกทาง เพราะเป็ นงานชิ้นแรกที่พนะท่านมอบหมายให้ทาด้วยความไว้วางไจ
และได้มีโอกาสสร้างครู อาจารย์ที่เข้มแข็งยิงขึ้นเป็ นจานวนร้อย และอบรมกล่อมเกลานักเรี ยน
                                             ่
จานวนพัน ซึ่งเชื่อว่าจะเป็ นกาลังแก่ประเทศชาติไนภายหน้าได้ ก็บงเกิดความพากพูมไจและ
                                                                    ั
ความสุขไจ ซึ่งเป็ นรางวัลที่พนะท่านได้ให้มาในทางอ้อม… จึงค่อยปลดเปลื้องความอาลัยให้
บรรเทาลงได้บาง ้



ผลงานวรรณกรรม
คนส่วนใหญ่ทราบกันดีว่า ผลงานการประพันธ์ของหม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล มีมากมาย ทั้งงาน
ด้านวิชาการ โดยเฉพาะทางด้านการศึกษา สารคดีท่องเที่ยว และด้านบรรเทิงคดี อันมีบทละคร คา
ประพันธ์ และเบ็ดเตล็ดอื่น ๆ งานเขียนมากมายหลายประเภทของท่านนั้น มีท้งร้อยแก้วและร้อย
                                                                     ั
กรอง ท่านเล่าว่าชอบเขียนบทละครพูดเป็ นอันดับหนึ่ง บทละครที่ท่านเขียนไว้มีประมาณ ๖๐ เรื่ อง
ด้วยกัน

       หม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล ได้รับพระมหากรุ ณาธิคุณอันนับว่าสาคัญที่สุดในชีวิตของท่าน เมื่อ
เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๔๕๘ ซึ่งขณะนั้นท่านอายุจะครบ ๑๒ ปี แล้ว พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า
เจ้าอยูหวได้ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้า ฯ ให้หม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล เข้ารับราชการเป็ น
        ่ ั
นักเรี ยนมหาดเล็กรับใช้ ต้องเข้าไปอยูในวัง ตามเสด็จพระราชดาเนินไป ณ ที่ต่าง ๆ ต้องอยูรับใช้ใต้
                                     ่                                               ่
ฝ่ าละอองธุลีพระบาทตลอดเวลา

       การที่ตองปฏิบติราชการเช่นนี้ หม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล ย่อมไม่สามารถจะไปเรี ยนที่โรงเรี ยน
              ้      ั
ได้ จะเห็นได้จากใน พ.ศ. ๒๔๕๘ ท่านเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๕ ได้เพียงครึ่ งปี พอปลายปี ไปสอบ
ขึ้นชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๖ ได้ หลังจากนั้นท่านก็มิได้มีโอกาสเข้าไปเรี ยนที่โรงเรี ยนอีกเลย

     การที่ไม่ได้ไปเรี ยนหนังสือที่โรงเรี ยนทาให้ขาดการศึกษาก็จริ ง แต่ท่านได้สิ่งอื่นมาทดแทน
คือ ได้พระมหากรุ ณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว ที่ทรงสังสอนให้มากมายหลายอย่าง
                                                      ่ ั         ่
หลายประการ และได้รับความรอบรู้นานาประการที่ไม่อาจจะหาได้จากการศึกษาในโรงเรี ยน ดังที่
มีผกล่าวไว้ว่า " ราชสานักสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูหว คือ การศึกษาชั้นสูงนอก
   ู้                                                        ่ ั
มหาวิทยาลัย "

      พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูหว ทรงอบรมสังสอนทั้งโดยตรงและโดยอ้อม และหนัก
                                        ่ ั              ่
ไปในทางปฏิบติ ในระหว่างที่เป็ นนักเรี ยนมหาเล็กรับใช้น้น ท่านได้รับการฝึ กหัดอบรมทางการ
              ั                                        ั
ละครจากพระเจ้าอยูหวมากที่สุด ได้มีโอกาสอ่านบทละครที่พระองค์ทรงพระราชนิพนธ์เสร็ จใหม่
                  ่ ั
ๆ เสมอ ได้แสดงละครพระราชนิพนธ์หลายเรื่ อง ในด้านหนังสือพิมพ์และการแต่งบทร้อยกรอง
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูหวทรงแต่งตั้งให้ท่านอยูในคณะบรรณาธิการหนังสือพิมพ์ "
                                  ่ ั                      ่
ดุสิตสมิต " และทรงฝึ กสอนการแต่งโคลงสี่สุภาพให้อีกด้วย

 ศิษย์สมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า
 เริ่มเขียนงานประพันธ์
 หม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล ได้รับใช้ใกล้ชิดพระยุคลบาท พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูหว
                                                                                    ่ ั
เกือบตลอดเวลา ไม่ว่าพระองค์จะเสด็จพระราชดาเนินไป ณ ที่ใดก็ตาม จะต้องอยูคอยรับใช้ใต้ฝ่า
                                                                         ่
ละอองธุลีพระบาทไม่เคยขาด เป็ นที่ทราบกันดีในราชสานักว่า เมื่อพระบาทสมเด็จ
พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูหวทรงพระราชนิพนธ์บทละครหรื อบทความ ถ้าเสร็ จแล้วมักจะโปรดให้
                     ่ ั
มหาดเล็กที่ใกล้ชิดอ่านถวายให้ทรงฟังหรื ออ่านเฉพาะพระพักตร์ที่มขาราชบริ พารอยู่ ในบรรดา
                                                              ี ้
มหาดเล็กที่ทรงโปรดว่าเสียงดี อ่านชัดถ้อยชัดคา และคุนกับลายพระราชหัตถ์ของพระองค์ที่ทรง
                                                   ้
โปรดเกล้า ฯ ให้อ่านถวายเสมอ ก็จะมีหม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล และนายจ่ายวด ( ปาณี ไกรฤกษ์ )

      จากประสบการณ์ของท่านที่ได้ใกล้ชิดพระยุคลบาท และได้รับการสังสอนวิธีการแต่งโคลงสี่
                                                                      ่
สุภาพจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า
เจ้าอยู่ จึงทาให้ท่านสามารถเริ่ มเขียนงานด้านคาประพันธ์เมื่ออายุประมาณ ๑๔ ปี และเมื่อไปศึกษา
ต่อยังต่างประเทศก็ได้มีโอกาสเขียนบทความลงในหนังสือพิมพ์ ส่วนบทความทางการศึกษาและ
บทละครนั้น ท่านเริ่ มเขียนหลังจากที่สาเร็ จการศึกษาจากประเทศอังกฤษและกลับมารับราชการแล้ว

 นามจริ ง นามแฝง

    ในการเขียนบทความทางวิชาการ หม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล มักจะใช้นามจริ ง แต่ท่านก็ใช้
นามแฝงด้วยในการแต่งบทละคร หรื องานประพันธ์อื่น ๆ นามแฝงที่ท่านใช้มีดงนี้
                                                                    ั
ป.ม.ซึ่ งย่อมาจากปิ่ นมาลากุล
นายเข็มหมวกเจ้าเข็มหมายถึงปิ่ นหมวกหมายถึงมาลาเจ้าแสดงว่าเป็ นราชสกุลประเสริฐหมายถึง
ปิ่ น หรื อ ยอด

    นอกจากนี้ ยังมีนามแฝงที่ได้รับพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูหว คื อ
                                                                              ่ ั
ประติสมิต

ผลงานวรรณกรรม

หม่อมหลวงปิ่ นเป็ นผูที่ได้ศึกษาภาษาบาลีและสันสกฤต รากฐานของภาษาไทย ทั้งเคยเป็ นครู
                      ้
ภาษาไทยอยูในแวดวงการศึกษาตลอด
             ่
ชัวชีวิตข้าราชการ จึงมีผลงานผูเ้ ชี่ยวชาญและแตกฉาน ในภาษาไทยหลากหลายขอแยกแยะดังนี้ ...
  ่

คาประพันธ์ ได้แก่ผลงานนิพนธ์ร้อยกรอง ๒๕ เรื่ อง...

    ๑. ศึกษาภาษิต (๑๐๙ บท) ๒. คาประพันธ์ร้อยเรื่ อง ๓. คาประพันธ์บางเรื่ อง (๒๐๐ เรื่ อง) ๔.
บทเพลง (๒๔ เพลง) ๕. นิราศร่ อนรอนแรมไปรอบโลก ๖. ทวาทศทาน ๗. คาประพันธ์
๒๕๐๗ ๘. สามมากกว่าห้า คาโคลง ๙. โคลงสี่สุภาพ ๑๐. นิราศมายาใจไปรอบโลก (๓,๓๑๔
กลอน)

      ๑๑. คาประพันธ์สรรมาบรรณาการ ๑๒. นิราศเลี้ยวเที่ยวท่องกับน้องแก้ว ๑๓. ยกกระบุง คา
โคลง ๑๔. นิราศแล่นไปแดนอารยะ ๑๕. นิราศลัดไปวัดตะเคียนคู่ ๑๖. เงินหาย คาโคลง ๑๗. “พี่
อ้ายยังเยาว์” ๑๘. เล่นละคร ๑๙. การบ้านการเมือง ๒๐. นิราศลิวปลิวไปที่ไหนเอ่ย
                                                          ่

    ๒๑. นิราศลิ่วปลิวไปในโลกหล้า ๒๒. โคลงกลอน ๒๕๒๑ ๒๓. ทรงชัยกับไพร่ ฟ้า ๒๔.
พระมหาธีรราชเจ้าราชสดุดี ๒๕. คาประพันธ์วนครู
                                        ั

เรื่องการศึกษา ได้ใช้ความรู้ความสามารถบันทึกไว้ถึง ๕๗ เรื่ อง...

     ๑. การศึกษาผูใหญ่ ๒. คาบรรยายในการอบรมครู ส่วนภูมภาค ๓. คากล่าวเปิ ดการอบรมวิธี
                  ้                                   ิ
สอนชั้นเตรี ยมประถม ๔. คากล่าวในการอบรมผูที่จะรับตาแหน่งศึกษาธิการจังหวัด ๕. การ
                                          ้
ประถมศึกษา ๖. การศึกษาในประเทศไทย ๗. ความเคลื่อนไหวทางการศึกษา ๘. คากล่าวใน
โอกาสที่จะลาจากตาแหน่งอธิบดีกรมสามัญศึกษา ๙. ปาฐกถาเรื่ องการประชุมค้นคว้าอบรมเรื่ อง
การศึกษาผูใหญ่ในชนบท ๑๐. คาบรรยายเรื่ องกระทรวงศึกษาธิการและการพัฒนาการท้องถิ่น
          ้
๑๑. การศึกษาปริ ทรรศน์ ๑๒. โครงการพัฒนาส่วนการศึกษาในส่วนภูมิภาค ๑๓. วิชาครู เล่ม
เล็ก ๑๔. คากล่าวเปิ ดประชุมโครงการพัฒนาการศึกษาฯ ภาคศึกษา ๖ ๑๕. หน้าหนึ่งใน
ประวัติศาสตร์การศึกษา ๑๖. คาบรรยายเรื่ องแผนการศึกษาชาติ ๑๗. พัฒนาการศึกษาส่วนภูมภาค     ิ
บทที่ ๑ ถึง ๘ ๑๘. การเตรี ยมการจัดตั้งมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (ตอนที่ ๒) ๑๙. การเตรี ยมการจัดตั้ง
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (ตอนที่ ๓) ๒๐. การจัดตั้งมหาวิทยาลัยเชียงใหม่

     ๒๑. ปาฐกถาพิเศษเรื่ องมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ๒๒. พัฒนาการศึกษาส่วนภูมิภาค บทที่ ๑ ถึง
๒๒ ๒๓. ปาฐกถาเรื่ อง “การศึกษาในประเทศสหรัฐอเมริ กาและอังกฤษ” ๒๔. คาปราศรัยปิ ดการ
อบรมศึกษาธิการอาเภอ ๒๕. ประวัติการศึกษาต่างประเทศ ๒๖. คาปราศรัยประชุมครู ใหญ่
ส่วนกลาง ๒๕๐๙ ๒๗. พลเอกมังกร พรหมโยธี กับการศึกษา ๒๘. บันทึกเรื่ องการสร้าง
มหาวิทยาลัยศิลปากร ณ พระราชวังสนามจันทร์ ๒๙. Seminar on Rural Adult Education. ๓๐ โอ้
ว่าพระองค์ผทรงศรี
           ู้

      ๓๑. วิทยาลัยทับแก้ว-คู่มือนักศึกษา ๒๕๐๑ ๓๒. ประวัติการจัดการศึกษามหาวิทยาลัย
ศิลปากร จังหวัดนครปฐม ๓๓. ปาฐกถา “การศึกษาสมัยที่มหาอามาตย์เอก พระวรวงศ์เธอ
พระองค์เจ้าธานีนิวติ ทรงเป็ นเสนาบดีกระทรวงธรรมมาการ” ๓๔. ประวัติโรงเรี ยนเตรี ยม
                    ั
อุดมศึกษา ๓๕ ตึกสามชั้น ๓๖. การศึกษาของไทยในปัจจุบน ๓๗. วิทยาลัยเพชรรัตน์๓๘พระราช
                                                        ั
กรณี ยกิจเกี่ยวกับการศึกษา ๓๙. กาเนิดโรงเรี ยนมหาดเล็กหลวง ๔๐. หลักการศึกษา (๓๓ เล่ม)

      ๔๑. ประวัติการศึกษา (๓๖ เล่ม) ๔๒. เรื่ องการศึกษา ๔๓ Education during the Time when
H.H.Prince Dhani was Minister of Public Instruction ๔๔. นโยบายเกี่ยวกับการจัดโรงเรี ยนราษฎร์
๔๕. พระราชบันทึกเรื่ องโรงเรี ยนมหาดเล็กหลวง ๔๖. บันทึกของ ป.ม. เรื่ องเตรี ยมการจัดตั้ง
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ๔๗. คาปราศรัยพูดกับผูปกครองนักเรี ยน ๔๘. แถลงการณ์เรื่ องการเก็บเงิน
                                              ้
บารุ งการศึกษา ๔๙. คาปราศรัยในที่ประชุม เจ้าของ ผูจดการ และครู ใหญ่โรงเรี ยนราษฎร์ ๕๐.
                                                    ้ั
คากราบบังคมทูล ณ โรงเรี ยน สุรนารี วิทยา จังหวัดนครราชสีมา

        ๕๑. จดหมายเหตุในการตรวจราชการภาคใต้ ๒๔๙๘ ๕๒. จดหมายเหตุในการตรวจราชการ
ไปถึงเชียงใหม่ ๒๔๙๘ ๕๓. ปาฐกถาเรื่ องมหาวิทยาลัยอ๊อกซ์ฟอร์ด ๕๔. บริ การเสียง ๕๕. การ
ที่ครู จะร่ วมมือกับสถาปนิก ๕๖. คาปราศรัยเนื่องวันสถาปนากระทรวงศึกษาธิการ (๒๕๐๑-๗)

     บทละคร การแต่งบทละครนับว่าเป็ นวรรณศิลป์ พิเศษ ซึ่งนักประพันธ์สาขานี้มีไม่มากนัก
เพราะต้องใช้ศิลปะ และอัจฉริ ยภาพ ที่ควรยกย่อง ประมาณ ๕๘ เรื่ อง
๑. หัวใจทอง ๒. สุวณณปัญญา ๓. อาหรับราตรี ๔. ยาม่า ๕. ประสบการณ์กลางมหาสมุทร ๖.
                       ั
ไปสวนลุมพินี ๗. งานฉลอง ๒๕ พุทธศตวรรษในอินเดีย ๘. การเมืองเรื่ องรัก ๙. เจ้าหญิงกับคนตัด
ไม้ ๑๐. ยังเป็ นรอง

    ๑๑. เทพธิดาสาธิต ๑๒. พิมพ์พิไล ๑๓. ล่องแก่งแม่ปิง ๑๔. เมือรักจริ ง ๑๕. ดวงดารา ๑๖.
                                                             ่
พวงมาลัย ๑๗. ไฉไลไม่เฉลียว ๑๘. เที่ยวกรุ งเทพฯ ๑๙. สามมากกว่าห้า ๒๐. เงินหาย

      ๒๑. หนี้ชีวิต ๒๒. สามเกลอ ๒๓. ลูกสาวเจ้าของบ้าน ๒๔. อนิจจาคุณพ่อ ๒๕. หางว่าว ๒๖.
ข่าวดี ๒๗. School in the Village ๒๘. เสียงทับแก้ว-ดินแดนของพระพุทธองค์ ๒๙. ปฏิทินเสียง
๓๐. หงส์ทอง

       ๓๑. ธิดาหงส์ แห่งดุสิตธานี ๓๒. Somsak in Trouble ๓๓. หงส์ทองฉาก ๕ ๓๔. อันความ
กรุ ณาปรานี ๓๕. ง่ายนิดเดียว ๓๖. มนุสโสสิ ๓๗. ภรรยาข้าราชการสาคัญ ๓๘. คาวมเมตตากรุ ณา
ค้ าจุนโลก ๓๙. หงส์ทองฉาก ๖๐ ๔๐. เกาะแก้วพิสดาร

      ๔๑. จับเสือ ๔๒. ช่างทอน ๔๓. ผีจริ งๆ ๔๔. ยาขม ๔๕. ฝูงตักแตน ๔๖. ผูภกดี ๔๗. ชื่อว่า
                                                             ๊          ้ั
อารี ๔๘. คนมีบาป ๔๙. โองการพระผ่านฟ้ า ๕๐. เหยียวสังคม
                                                 ่

     ๕๑. สารสวาสดิ์ ๕๒. พี่นา ๕๓. โชคหมุนเวียนเปลี่ยนไปได้ทุกทุกวัน ๕๔. กรุ ง
รัตนโกสินทร์ ๕๕. เงินหายสามบาท ๕๖. ทานชีวิต ๕๗. มาดามบัตเต้อร์ฟลาย (เสภา) ๕๘. เรื่ อง
ของครู คนหนึ่ง

       การท่ องเที่ยว ดุจดังชีพจรลงเท้า ในการเดินทางทั้งทางราชการ ราชกิจ และเชิงทัศนศึกษา
                           ่
ม.ล.ปิ่ นได้บนทึกไว้ ๘ เรื่ อง
              ั

        ๑. ไปสวนลุมพินี (ร้อยแก้ว) ๒. เที่ยวอิตาลีและสเปน ๓. เที่ยวอเมริ กาใต้ไปรอบโลก ๔. รวม
เรื่ องเที่ยวอิตาลี อินเดีย สเปน ๕. การสูววที่สเปน ๖. ปาฐกถาเรื่ องไปอินเดีย ๗. เจริ ญรอยพระยุคล
                                         ้ั
บาท ๘. รายงานของคณะเจริ ญรอยพระยุคลบาท

      เบ็ดเตล็ด ในวงการประพันธ์ หากไม่ได้แยกแยะว่าควรอยูในสาขาใดก็อนุโลมใช้สาขา
                                                           ่
“เบ็ดเตล็ด” นับว่าเป็ นทางออกที่ดีที่งาม ประมาณ ๕๒ เรื่ อง

    ๑. หมู่ฉนท์อินทรวิเชียร ๒. การบรรยายเรื่ องปรับปรุ งชนบท ๓. คาปราศรัยในการเปิ ดอบรม
            ั
หัวหน้าหน่วยวิชาการ ๔. Miscellaneous Problems (An Autobiography of a Would Be
Mathematician) ๕. ต้น ต.อ. ๖. ต้น ต.อ. (ต่อ) ๗. ต้น ต.อ. (ตอนที่ ๓) ๘. การซ้อมรบเสือป่ า และ
พระราชวังสนามจันทร์ ๒๔๖๑ ๙. การซ้อมรบเสื้อป่ า และพระราชวังสนามจันทร์ ๒๔๖๒ ๑๐. คา
กราบบังคมทูล งานฉลองพระบรมราชสมภพ ร.๒

    ๑๑. ประวัติวดบรมวงศ์อิศรวราราม ๑๒. วัดบรมวงศ์อิศรวราราม ๑๓. การประกวดประขัน
                 ั
แสดงภาพ ๑๔. การค้น วัน เดือน ปี ๑๕. กรณฑ์กาชาด ๑๖. “เรดฟี่ ” สาหรับหัวเราะกันเล่น ๑๗.
พระมหากรุ ณาธิคุณอันล้นเกล้าฯ ๑๘. ปฏิทินเสียง ๑๙. ต้น ต.อ.ต้นปี ที่ ๒ ๒๐. มูลนิธิภตตาหารวัด
                                                                                  ั
บรมวงศ์ (๖ เล่ม)

      ๒๑. วัดบรมวงศ์อิศรวราราม อดีต ปัจจุบน ๒๒. มะโรง ร.ศ.๑๑๑ ๒๓. ศกุนตลา งามงดหาที่ติ
                                          ั
มิได้ ๒๔. ศกุนตลา ๔ สานวน ๒๕. งานละครของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูหว ๒๖.
                                                                            ่ ั
พระบรมราชานุสาวรี ย ์ และค่ายหลวงหาดเจ้าสาราญ ๒๗. ดุสิตธานีเมืองประชาธิปไตย ๒๘. วัด
บรมวงศ์อิศรวราราม ๒๔๑๙-๒๕๑๙ ๒๙. ประวัติศาสตร์สมัย ร.๖ โดยย่อ ๓๐. เฉลิมพระเกียรติพระ
มงกุฎเกล้าฯ (เอกลักษณ์ของชาติไทย)

      ๓๑. ศตวรรษแห่งวัดบรมวงศ์อิศรวราราม ๓๒. The New Republic ๓๓. งานละคร ร.๖ ๓๔.
ที่ระลึกฉลองอายุ ๙๐ หลวงหัดดรุ ณพล ๓๕. หม่อมเจ้าประภากร ๓๖. อนุสรณ์ทาวสมศักดิ์ ๓๗.
                                                                     ้
Dramatic Achievement of King Rama VI ๓๘. พระราชินีสก๊อตแห่งดินแดนต่างประเทศ (แปล)
๓๙. ดุสิตสมิต (บรรยาย ๖ ครั้ง) ๔๐. จดหมายถึงผีเสื้อ (แปล)

     ๔๑. เขียนโคลงกลอนบท ละครอ่อนใจแล้ว (เรื่ องวิธีเล่นไพ่ที่คิดขึ้นเอง ฯลฯ) ๔๒. ราพึงถึง
พระผู้ ๔๓. พิพิธภัณฑ์หุ่นขี้ผ้ง ๔๔. King Vajiravudh-Thailand's Prolific Writer ๔๕. นาคพระ
                              ึ
โขนงที่สอง (แปล) ๔๖. จับไอ้เสือบิลลี่ (แปล) ๔๗. โอ ฮา น่า ซัง (แปล) ๔๘. หอวชิราวุธานุสรณ์
๔๙. ละครปริ ศนา ๕๐. โรงละครและการแสดงละคร ๕๑. พาชมดุสิตธานี ๕๒. คาอธิบายหมวด ข.
(โขนละคร)

       นอกจากนี้ ยังมีคาประพันธ์เรื่ องสั้นๆ อีก ๒๓ เรื่ อง ม.ล.ปิ่ นได้อนุรักษ์เป็ นงานประพันธ์
อดิเรกที่มีคุณค่าทาง “อาหารสมอง” สมกับที่เป็ น “ศิลปิ นแห่งชาติ” สาขาวรรณศิลป
ชีวตสมรส
   ิ



                            ด้านชีวิตครอบครัว หม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล ได้สมรสกับ ท่านผูหญิง
                                                                                       ้
                            ดุษฎีมาลา มาลากุล ณ อยุธยา (นามสกุลเดิม ไกรฤกษ์) ธิดา เจ้าพระยา
                            มหิธร ( ลออ ไกรฤกษ์ ) และ ท่านผูหญิงกลีบ มหิธร ( สกุลเดิม บางยี่
                                                             ้
                            ขัน ) แต่ไม่มีบุตรธิดาด้วยกัน
                            บั้นปลายชีวต
                                       ิ

                               หม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล ถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ.
2538 สิริอายุได้ 91 ปี 11 เดือน 11 วัน และเมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2544 ท่านได้รับการประกาศ
เชิดชูเกียรติจากองค์การยูเนสโกยกย่องท่านเป็ น "นักการศึกษาดีเด่นของโลก ในสาขาวรรณกรรม
และสื่อสาร" ถือเป็ นความภาคภูมิใจของชาวเตรี ยมอุดมทุกคน โรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษา อันเชิญรู ป
ปั้น ฯพณฯ ศ.หม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล จากหอวชิราวุธานุสรณ์ มาประดิษฐาน ห้อง 57 ตึก 1 เมื่อ
วันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2545
ในวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2546 เป็ นวาระครบรอบ 100 ปี ของ ฯพณฯ ศ. ม.ล. ปิ่ น มาลากุล โรงเรี ยน
เตรี ยมอุดมศึกษาจึงดาริ ที่จะจัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อน้อมราลึกถึงพระคุณของท่าน นับแต่น้ ีต่อไปก็จะ
มีเพียงการสานต่อแนวความคิดของ ฯพณฯ ให้ปรากฏเป็ นผลสมเจตจานง อย่างเป็ นรู ปธรรม เพื่อ
ประโยชน์ของเยาวชน และสังคมไทยตลอดไป
บรรณานุกรม

มนตรี สุนทรา. "ชีวประวัติ,"หม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล. 11 เมษายน 2550
<www.tanti.ac.th/Pin_Malakul/writing.html> 15 กันยายน 2554.

รณชัย ทองภิรมย์ "ประวัติ,"หม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล. 30 พฤษภาคม 2551
<www.seameo.org/vl/mlpin/mlpin.html> 14 กันยายน 2554.

มาโนชย์ ปัณโครต "หม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล,"ผลงาน. 31 พฤษภาคม 2551
< www.moe.go.th/contestWeb_pin/บางมดฯ/Pin/Quote.html> 14 กันยายน 2554.

วสัน วรรณพฤษดิ์ "หม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล,"ชีวิต. 11 พฤศจิกายน 2549
< www.sakulthai.com> 14 กันยายน 2554.

More Related Content

What's hot

แผนการจัดกิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์
แผนการจัดกิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์แผนการจัดกิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์
แผนการจัดกิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์Wichai Likitponrak
 
ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล ชั้น ป.5
ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล  ชั้น ป.5ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล  ชั้น ป.5
ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล ชั้น ป.5sripayom
 
ตัวอย่างโครงงานพัฒนา
ตัวอย่างโครงงานพัฒนาตัวอย่างโครงงานพัฒนา
ตัวอย่างโครงงานพัฒนาPennapa Boopphacharoensok
 
โครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
โครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพโครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
โครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพWinthai Booloo
 
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผนแผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผนChittraporn Phalao
 
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 3 การวิเคราะห์ข้อมูล
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 3 การวิเคราะห์ข้อมูลวิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 3 การวิเคราะห์ข้อมูล
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 3 การวิเคราะห์ข้อมูลCoco Tan
 
โครงงาน คอม
โครงงาน คอมโครงงาน คอม
โครงงาน คอมNuchy Geez
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10supap6259
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1Sokoy_jj
 
Slชุดการสอนวงจรไฟฟ้า
Slชุดการสอนวงจรไฟฟ้าSlชุดการสอนวงจรไฟฟ้า
Slชุดการสอนวงจรไฟฟ้าkrupornpana55
 
13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกลWijitta DevilTeacher
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีKawinTheSinestron
 
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญบทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญneeranuch wongkom
 
โครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิลโครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิลพัน พัน
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนพัน พัน
 
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงาน
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงานใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงาน
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงานsa_jaimun
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกพัน พัน
 

What's hot (20)

แผนการจัดกิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์
แผนการจัดกิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์แผนการจัดกิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์
แผนการจัดกิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์
 
ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล ชั้น ป.5
ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล  ชั้น ป.5ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล  ชั้น ป.5
ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล ชั้น ป.5
 
ตัวอย่างโครงงานพัฒนา
ตัวอย่างโครงงานพัฒนาตัวอย่างโครงงานพัฒนา
ตัวอย่างโครงงานพัฒนา
 
โครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
โครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพโครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
โครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
 
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผนแผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
 
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 3 การวิเคราะห์ข้อมูล
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 3 การวิเคราะห์ข้อมูลวิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 3 การวิเคราะห์ข้อมูล
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 3 การวิเคราะห์ข้อมูล
 
โครงงาน คอม
โครงงาน คอมโครงงาน คอม
โครงงาน คอม
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
 
Slชุดการสอนวงจรไฟฟ้า
Slชุดการสอนวงจรไฟฟ้าSlชุดการสอนวงจรไฟฟ้า
Slชุดการสอนวงจรไฟฟ้า
 
13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
 
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญบทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
 
ลีลาศ
ลีลาศลีลาศ
ลีลาศ
 
โครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิลโครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิล
 
สูตรพื้นที่ผิวปริซึม
สูตรพื้นที่ผิวปริซึมสูตรพื้นที่ผิวปริซึม
สูตรพื้นที่ผิวปริซึม
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงาน
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงานใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงาน
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงาน
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีก
 
Logic1
Logic1Logic1
Logic1
 

Viewers also liked

อ่านการ์ตูนออนไลน์ Rave master 19
อ่านการ์ตูนออนไลน์ Rave master 19อ่านการ์ตูนออนไลน์ Rave master 19
อ่านการ์ตูนออนไลน์ Rave master 19mahakhum
 
สุทธิวัสส์ คำภา นาฬิกาชีวิต
สุทธิวัสส์ คำภา   นาฬิกาชีวิตสุทธิวัสส์ คำภา   นาฬิกาชีวิต
สุทธิวัสส์ คำภา นาฬิกาชีวิตTongsamut vorasan
 
P72808851751
P72808851751P72808851751
P72808851751korakate
 
ศิวกานต์+..
ศิวกานต์+..ศิวกานต์+..
ศิวกานต์+..PN17
 
บทความสังคม
บทความสังคมบทความสังคม
บทความสังคมwaraporny
 
มงคลสูตรคำฉันท์
มงคลสูตรคำฉันท์มงคลสูตรคำฉันท์
มงคลสูตรคำฉันท์Tanawat Koedpanya
 
กลอนไสยศาสตร์
กลอนไสยศาสตร์กลอนไสยศาสตร์
กลอนไสยศาสตร์Tongsamut vorasan
 
บทกวี
บทกวีบทกวี
บทกวีwaraporny
 
Media law and media ethic
Media law and media ethic Media law and media ethic
Media law and media ethic Borin Beth
 
การประชุมวิชาการ "Controversies in Emergency Medicine 2011"
การประชุมวิชาการ "Controversies in Emergency Medicine 2011"การประชุมวิชาการ "Controversies in Emergency Medicine 2011"
การประชุมวิชาการ "Controversies in Emergency Medicine 2011"taem
 
สุดปลายฝัน
สุดปลายฝันสุดปลายฝัน
สุดปลายฝันB'Ben Rattanarat
 

Viewers also liked (20)

อ่านการ์ตูนออนไลน์ Rave master 19
อ่านการ์ตูนออนไลน์ Rave master 19อ่านการ์ตูนออนไลน์ Rave master 19
อ่านการ์ตูนออนไลน์ Rave master 19
 
สุทธิวัสส์ คำภา นาฬิกาชีวิต
สุทธิวัสส์ คำภา   นาฬิกาชีวิตสุทธิวัสส์ คำภา   นาฬิกาชีวิต
สุทธิวัสส์ คำภา นาฬิกาชีวิต
 
P72808851751
P72808851751P72808851751
P72808851751
 
ศิวกานต์+..
ศิวกานต์+..ศิวกานต์+..
ศิวกานต์+..
 
บทความสังคม
บทความสังคมบทความสังคม
บทความสังคม
 
Stormy aries
Stormy ariesStormy aries
Stormy aries
 
มงคลสูตรคำฉันท์
มงคลสูตรคำฉันท์มงคลสูตรคำฉันท์
มงคลสูตรคำฉันท์
 
Education website
Education websiteEducation website
Education website
 
กลอนไสยศาสตร์
กลอนไสยศาสตร์กลอนไสยศาสตร์
กลอนไสยศาสตร์
 
บทกวี
บทกวีบทกวี
บทกวี
 
Media law and media ethic
Media law and media ethic Media law and media ethic
Media law and media ethic
 
Tttt4444
Tttt4444Tttt4444
Tttt4444
 
เกี่ยวกับ
เกี่ยวกับเกี่ยวกับ
เกี่ยวกับ
 
การประชุมวิชาการ "Controversies in Emergency Medicine 2011"
การประชุมวิชาการ "Controversies in Emergency Medicine 2011"การประชุมวิชาการ "Controversies in Emergency Medicine 2011"
การประชุมวิชาการ "Controversies in Emergency Medicine 2011"
 
สุดปลายฝัน
สุดปลายฝันสุดปลายฝัน
สุดปลายฝัน
 
Catalog
CatalogCatalog
Catalog
 
นวนิยายพร้อมส่ง
นวนิยายพร้อมส่งนวนิยายพร้อมส่ง
นวนิยายพร้อมส่ง
 
Me and demon
Me and demonMe and demon
Me and demon
 
Cat How To
Cat How ToCat How To
Cat How To
 
Chiangmai
ChiangmaiChiangmai
Chiangmai
 

Similar to หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล

TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)SAKANAN ANANTASOOK
 
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทยนำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทยhall999
 
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทยนำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทยhall999
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายpeerapong715
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายpeerapong715
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายpeerapong14
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชNing Rommanee
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชNing Rommanee
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชNing Rommanee
 
เรื่องกาพย์พระไชยสุริยา
เรื่องกาพย์พระไชยสุริยาเรื่องกาพย์พระไชยสุริยา
เรื่องกาพย์พระไชยสุริยาพัน พัน
 
Sar boripat2558
Sar boripat2558Sar boripat2558
Sar boripat2558chartthai
 
โรงเรียนบ้านหนองแสน
โรงเรียนบ้านหนองแสนโรงเรียนบ้านหนองแสน
โรงเรียนบ้านหนองแสนkrunoi55
 
แผนปฏิบัติปี 2558-ร.ร.ตูมพิทยานุสรณ์
แผนปฏิบัติปี 2558-ร.ร.ตูมพิทยานุสรณ์แผนปฏิบัติปี 2558-ร.ร.ตูมพิทยานุสรณ์
แผนปฏิบัติปี 2558-ร.ร.ตูมพิทยานุสรณ์Ozzy Ozone
 

Similar to หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล (20)

งานบีบี
งานบีบีงานบีบี
งานบีบี
 
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
 
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทยนำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
 
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทยนำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวาย
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวาย
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวาย
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
 
เรื่องกาพย์พระไชยสุริยา
เรื่องกาพย์พระไชยสุริยาเรื่องกาพย์พระไชยสุริยา
เรื่องกาพย์พระไชยสุริยา
 
งาน ปุ๋ย
งาน ปุ๋ยงาน ปุ๋ย
งาน ปุ๋ย
 
กุหลาบ สายประดิษฐ์
กุหลาบ สายประดิษฐ์กุหลาบ สายประดิษฐ์
กุหลาบ สายประดิษฐ์
 
History
HistoryHistory
History
 
Sar boripat2558
Sar boripat2558Sar boripat2558
Sar boripat2558
 
โรงเรียนบ้านหนองแสน
โรงเรียนบ้านหนองแสนโรงเรียนบ้านหนองแสน
โรงเรียนบ้านหนองแสน
 
School
SchoolSchool
School
 
26 symbols ofthailand+188
26 symbols ofthailand+18826 symbols ofthailand+188
26 symbols ofthailand+188
 
นายเอื้อ สุนทรสนาน
นายเอื้อ สุนทรสนานนายเอื้อ สุนทรสนาน
นายเอื้อ สุนทรสนาน
 
แผนปฏิบัติปี 2558-ร.ร.ตูมพิทยานุสรณ์
แผนปฏิบัติปี 2558-ร.ร.ตูมพิทยานุสรณ์แผนปฏิบัติปี 2558-ร.ร.ตูมพิทยานุสรณ์
แผนปฏิบัติปี 2558-ร.ร.ตูมพิทยานุสรณ์
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

Is
IsIs
Is
 
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 

หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล

  • 2. รายงาน เรื่อง หม่ อมหลวงปิ่ น มาลากุล วิชา ประวัติศาสตร์ สากล ส 32103 จัดทาโดย 1. นาย ณัฐวุฒิ แสนคาปา เลขที่ 5 2. นางสาว ดารณี ลาดหนองขุ่น เลขที่ 30 3. นาวสาว นันทนา จันทามา เลขที่ 40 4. นางสาว พรพิมล น้ อยวิบล เลขที่ 44 5. นางสาว รัชนีกร ชะราผาย เลขที่ 46 เสนอ คุณครู สฤษดิ์ศักดิ์ ชินเขมจารี ้ โรงเรียน เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ร้ อยเอ็ด สานักงานเขตพืนทีการศึกษาเขตที่ 27 ้ ่
  • 3. คานา รายงาน เรื่ อง หม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล ฉบับนี้เป็ นส่วนหนึ่งของวิชาประวัติศาสตร์สากล ( โดยมีจุดประสงค์ เพื่อการศึกษาความรู้ที่ได้จากเรื่ อง พระราชประวัติ หม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล ) คณะผูจดทาได้จดทาหัวข้อนี้ในการทารายงาน เนื่องมาจากเป็ นการเรี ยนเรื่ องประวัติบุคคลสาคัญที่ ้ั ั UNESCO ยอมรับเป็ นบุคคลสาคัญของโลก เพื่อต้องการทราบว่าประวัติความเป็ นมาของเรื่ อง หม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล คณะผูจดทาจะต้องขอขอบคุณ คุณครู สฤษดิ์ศกดิ์ ชิ้นเขมจารี ผูให้ความรู้ ้ั ั ้ และแนวทางการศึกษา เพื่อน ๆ ทุกคนที่ให้ ความช่วยเหลือมาโดยตลอด คณะผูจดทาหวังว่ารายงานฉบับนี้จะให้ ้ั ความรู้ และเป็ นประโยชน์แก่ผที่อ่านไม่มากก็นอย ถ้าผิดพลาดประการใดก็ขออภัยมา ณ ที่น้ ีดวย ู้ ้ ้ คณะผูจดทา ้ั
  • 4. สารบัญ เรื่อง หน้ า - ประวัติ 1 - ประวัตการศึกษา ิ 2 - รับราชการ 4 - สถาปนามหาวิทยาลัยศิลปากรวิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ 5 - การก่อตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา 5 - ผลงานวรรณกรรม 8 - ศิษย์สมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า 9 - เริ่มเขียนงานประพันธ์ 9 - ผลงานวรรณกรรม 10 - ชีวตสมรส ิ 14 - บรรณนุกรม 15 -
  • 5. หม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล หม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล (24 ตุลาคม พ.ศ. 2446 - 5 ตุลาคม พ.ศ. 2538) บุคคลสาคัญของโลก และศิลปิ นแห่งชาติ อดีตรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงวัฒนธรรม อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาลัยวิชาการศึกษาและผูก่อตั้งโรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษา ้ ประวัติ หม่อมหลวงปิ่ นเกิดเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2446 ณ บ้านถนนอัษฎางค์ กรุ งเทพมหานคร เป็ นบุตร คนที่ 6 ใน 13 คน ของเจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี (หม่อมราชวงศ์เปี ย มาลากุล) และท่าน ผูหญิงเสงี่ยม พระเสด็จสุเรนทราธิบดี (เสงี่ยม มาลากุล ณ อยุธยา (นามสกุลเดิม วสันตสิงห์)) ท่านมี ้ พี่นองร่ วมบิดามารดาทั้งสิ้น 8 คน ได้แก่ ้ หม่อมหลวงปก มาลากุล หม่อมหลวงป้ อง มาลากุล หม่อมหลวงเปนศรี มาลากุล หม่อมหลวงปนศักดิ์ มาลากุล หม่อมหลวงปอง เทวกุล (สมรสกับหม่อมเจ้าสุรวุฒิประวัติ เทวกุล) หม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล หม่อมหลวงเปี่ ยมสิน มาลากุล หม่อมหลวงปานตา วสันตสิงห์ (สมรสกับนายเมืองเริ ง วสันตสิงห์)
  • 6. ประวัตการศึกษา ิ เริ่มศึกษาที่บ้านจนเข้ าโรงเรียน ย้อนหลังกลับไปเมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๑ เมื่อหม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล อายุได้ ๔ ขวบเศษ ได้ เริ่ มต้นศึกษาเล้าเรี ยนที่บานโดยมีครู มาสอนก่อน จนกระทังท่านอายุประมาณ ๘ ปี จึงได้เข้าเรี ยนที่ ้ ่ โรงเรี ยนสวนกุหลาบวิทยาลัย สมัยนั้นยังเป็ นโรงเรี ยนวัดราชบูรณะ โดยเข้าเรี ยนในชั้นประถม พิเศษ ปลายปี นั้นสอบไล่ได้เลื่อนไปเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑ ( สมัยนั้นเยาวชนไทยเรี ยนชั้น ประถมฯ ๔ ปี ดังนั้น ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑ เทียบได้กบชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๕ ในปัจจุบน ั ั ท่านศึกษาอยูที่โรงเรี ยนสวนกุหลาบวิทยาลัย จนกระทังสอบไล่ได้ช้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓ เมื่อ ่ ่ ั พ.ศ. ๒๔๕๖ ขณะนั้นท่านอายุ ๑๐ ปี ต่อมาใน พ.ศ. ๒๔๕๗ เจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดีได้นาหม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล เข้าถวาย ตัวต่อพระบามสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยูหว ท่านจึงได้ยายเข้าไปเรี ยนที่โรงเรี ยนมหาดเล็กหลวง ่ ั ้ ซึ่งปัจจุบนนี้คือ โรงเรี ยนวชิราวุธวิทยาลัย เป็ นนักเรี ยนในพระบรมราชูปถัมภ์ ต้องเรี ยนซ้ าชั้น ั มัธยมศึกษาปี ที่ ๓ อีก ๑ ปี ผลการเรี ยนของท่านที่โรงเรี ยนมหาดเล็กหลวงอยูในเกณฑ์ดี คือ ท่าน ่ สามารถทาคะแนนได้ดีมากในวิชาคณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษ โดยเฉพาะวิชาคณิตศาสตร์ ท่าน มักจะได้คะแนนเต็มอยูเ่ สมอ นอกจากนี้ ท่านยังสนใจด้านกีฬาอีกด้วย โดยเฉพาะกีฬาฟุตบอล
  • 7. นักเรียนมหาดเล็กรับใช้ รุ่นแรก หม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล เป็ นนักเรี ยนมหาดเล็กรับใช้อยูได้ ๖ ปี ครั้นถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. ่ ๒๔๖๔ ขณะนั้นท่านอายุ ๑๘ ปี พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูหวมีพระราชดารัสกับพระยาอนุรุทธเทวาว่า ่ ั " ปิ่ นนั้น ใช้ให้ทาอะไรก็ได้ดี อายุก็มากแล้ว ไปถามดูว่า อยากจะออกรับราชการ หรื อ อยากจะไปเรี ยนต่อเมืองนอก " และพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูหว มีพระราชกระแสโปรดเกล้า ฯ ให้หม่อมหลวงปิ่ น ่ ั มาลากุล ไปแจ้งแก่ท่านผูหญิงเสงี่ยมดังนี้ ้ " ไปบอกแม่ว่า...จะส่งปิ่ นไปเรี ยนที่องกฤษ สังกัดกระทรวงธรรมาการ จะได้กลับมารับ ั ราชการแทนพ่อ แม่คงจะยินดีมาก " หลังจากนั้นจึงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้หม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล รับทุนเล่า เรี ยนหลวงไปศึกษา ณ ประเทศอังกฤษ และให้สงกัดกระทรวงธรรมการ เพราะบิดาของท่านได้ทา ั คุณประโยชน์ให้แก่กระทรวงธรรมการอย่างเอนกอนันต์ หม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล ออกเดินทางจากประเทศไทยเมื่อวันที่ ๒๓ มกราคม พ.ศ. ๒๔๖๕ ตอนแรกไปอยูกบครอบครัวของ Mr.Marshall ที่เมือง Brighton เพื่อฝึ กฝนด้านภาษาและประเพณี ่ ั เป็ นเวลาประมาณปี เศษ จากนั้นไดเข้าศึกษาที่ School of Oriental Studies มหาวิทยาลัยลอนดอน วันที่ ๙ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๖๗ ท่านสามารถสอบเข้าศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ดได้ ศึกษาอยูเ่ ป็ นเวลา ๔ ปี โดนเลือภาษาสันสกฤตเป็ นวิชาเอก ภาษาบาลีเป็ นวิชาโท สาเร็จการศึกษา เมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๑ ไดรับปริ ญญาตรี เกียรตินิยม ทางภาษาสันสกฤต ( B.A. Honours ) พ.ศ. ๒๔๗๒ หม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล ได้ศึกษาวิชาครู เพิ่มเติมที่มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด แต่ในปลายปี หลังจากที่สอบสอนและสอบข้อเขียนบางวิชาไปแล้ว ท่านล้มป่ วยลงหลังจาก ตรากตราทางานอย่างหนัก เนื่องจากการออกฝึ กสอน ประจวบกับระยะนั้นที่ประเทศอังกฤษเป็ น ฤดูหนาว ท่านจึงต้องเดินทางไปรักษาตัวที่ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
  • 8. ในระหว่างที่ท่านพักรักษาตัวอยูที่ประเทศวสวิตเซอร์แลนด์ใน พ.ศ. ๒๔๗๔ นั้น ่ มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ดก็ได้พจารณาผลการทางานและผลสอบที่ผานมาของท่าน ปรากฏว่าผลงาน ิ ่ และผลการสอบข้อเขียนของท่านอยูในเกณฑ์ที่น่าพอใจ มหาวิทยาลัยจึงมอบปริ ญญาโททางด้าน ่ อักษรศาสตร์ ( M.A. ) ให้แก่ท่าน เมื่อท่านรับปริ ญญาแล้วก็รีบเดินทางกลับประเทศไทยทันทีในปี นั้น รับราชการ ในปี พ.ศ. 2455 ได้ถวายตัวเป็ นมหาดเล็กที่พระที่นงอัมพรสถาน ั่ ต่อมาได้เป็ นอาจารย์ประจากองแบบเรี ยนกรมวิชาการ อาจารย์ พิเศษคณะอักษรศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ จุ ฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยในปี พ.ศ. 2474 ในปี พ.ศ. 2475 เป็ นอาจารย์โท อาจารย์ประจาคณะอักษรศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย และยังได้เป็ นหัวหน้าแผนกฝึ กหัดครู มธยม คณะ ั อักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและ รักษาการในตาแหน่งครู ใหญ่โรงเรี ยนมัธยมหอวังในปี พ.ศ. 2477 อีกด้วย หม่อมหลวงปิ่ นได้เป็ นอาจารย์เอก อันดับ 1 และได้รับการแต่งตั้งเป็ นผูอานวยการโรงเรี ยนเตรี ยม ้ อุดมศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในปี พ.ศ. 2480 5 ปี ต่อมาในปี พ.ศ. 2485 ได้รับแต่งตั้งเป็ น อธิบดีกรมสามัญศึกษาอีกตาแหน่งหนึ่งอีกด้วย ในปี พ.ศ. 2487 ท่านได้พนจากตาแหน่ง ้ ผูอานวยการโรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษาและเป็ นที่ปรึ กษาโรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษาและทางานใน ้ หน้าที่เลขาธิการจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปี พ.ศ. 2489 ท่านดารงตาแหน่งเป็ นปลัดกระทรวงศึกษาธิการ และในปี พ.ศ. 2495 - พ.ศ. 2496 ท่านได้เป็ นรักษาการอธิบดีกรมวิชาการ หลังจากนั้นในปี พ.ศ. 2497 ได้เป็ นรักษาการอธิบดี กรมการฝึ กหัดครู รักษาการอธิการวิทยาลัยวิชาการศึกษา ศาสตราจารย์พิเศษในคณะครุ ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หม่อมหลวงปิ่ น มาลากุลดารงตาแหน่งรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงวัฒนธรรมตั้งแต่วนที่ 21 กันยายน ั พ.ศ. 2500 ถึง 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501 และดารงตาแหน่งรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงศึกษาธิการตั้งแต่ พ.ศ. 2500 ถึง พ.ศ. 2512 เป็ นเวลายาวนานถึง 12 ปี เศษ
  • 9. สถาปนามหาวิทยาลัยศิลปากรวิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ ปี พ.ศ. ๒๕๐๙ มหาวิทยาลัยศิลปากร โดยหม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล อธิการบดีในขณะนั้น มีนโยบาย ที่จะเปิ ดคณะวิชาและสาขาวิชาที่ หลากหลายขึ้น แต่เนื่องจากบริ เวณพื้นที่ในวังท่าพระคับแคบมาก ไม่สามารถจะขยายพื้นที่ออกไปได้ จึงได้ขยายเขตการศึกษาไปยังพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัด นครปฐม โดยจัดตั้งคณะอักษรศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๑๑ คณะศึกษาศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๑๓ และคณะ วิทยาศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๑๕ ตามลาดับ หลังจากนั้น จัดตั้งคณะเภสัชศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๒๙ คณะ วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม พ.ศ. ๒๕๓๕ สาเหตุที่เลือกพระราชวังสนามจันทร์ เป็ นที่ต้งวิทยาเขตแห่งใหม่ หม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล ได้ให้เหตุผลไว้ดงนี้ ั ั ประการแรก พระราชวังสนามจันทร์เคยเป็ นพระราชวังของพระบาทสมเด็จพระ มงกุฎเกล้า เจ้าอยูหว พระมหากษัตริ ยผสนพระราชหฤทัยเป็ นอย่างยิงในทาง โบราณคดีและศิลปะทั้งปวง ่ ั ์ ู้ ่ ทรงเป็ นนักโบราณคดีและศิลปิ นชั้นเยียมโดยเฉพาะ ทาง วรรณศิลป์ ทรงสนับสนุนนาฏศิลป์ ่ ตลอดรัชสมัยของพระองค์ ประการที่สอง บริ เวณพระราชวังสนามจันทร์เป็ นที่ต้งของเทวาลัยคเณศ ซึ่ง พระบาทสมเด็จ ั พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูหวได้โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น นอกจากนี้ พระคเณศยังเป็ นเทพเจ้าแห่ง ่ ั ศิลปะ และเป็ นตราของทางมหาวิทยาลัยศิลปากร อยูแล้ว่ ประการสุ ดท้ าย ที่จงหวัดนครปฐมมีพระปฐมเจดียประดิษฐานอยู่ นับได้ว่าเป็ น ศูนย์กลางของ ั ์ โบราณคดีและศิลปะที่สาคัญในประเทศไทย ดังนั้นบริ เวณพระราชวัง สนามจันทร์ จังหวัด นครปฐม จึงเหมาะที่จะเป็ นที่ต้งของมหาวิทยาลัยศิลปากร ั การก่อตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา หม่อมหลวงปิ่ น มาลากุลได้ก่อตั้งโรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษาขึ้น เมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2480 โดย นักเรี ยนเริ่ มเรี ยนในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2481 โดยมี ฯพณฯ ดารงตาแหน่งผูอานวยการคนแรก ้ ของโรงเรี ยน ในปี แรกๆ โรงเรี ยนได้เจริ ญขึ้นเป็ นลาดับ เช่น ทางด้านวิชาการมีผลเป็ นที่น่าพอใจ การสร้างตึก 2 แล้วเสร็ จในปี พ.ศ. 2482 และต่อมาได้สร้างตึก 3 ไปจนจดถนนอังรี ดนงต์ ในเวลานี้ ู ั นอกจากผลงานทางด้านวิชาการจะเป็ นที่น่าพอใจแล้ว นักเรี ยนยังได้แสดงความสามารถในการเล่น กีฬาต่างๆ ที่หม่อมหลวงปิ่ น มาลากุลได้นาเข้ามาในโรงเรี ยน เช่น ฮอกกี้ รักบี้ และฟุตบอล เข้าเกณฑ์ที่กล่าวได้ว่า "เรี ยนก็เด่น เล่นก็ดี กีฬาเลิศ"
  • 10. นอกจากนี้หม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล ยังมีวิสยทัศน์อน ั ั กว้างไกล ในการดาเนินการศึกษา ให้แก่นกเรี ยนเตรี ยม ั อุดมศึกษา ด้วยเล็งเห็นว่า โรงเรี ยนนี้เป็ นโรงเรี ยนที่ม่งุ เตรี ยมเข้าสู่ระดับอุดมศึกษา จึงจัดสหศึกษาของวัยรุ่ น ด้วยความรอบคอบระมัดระวัง โดยการเตรี ยมความ พร้อมด้านวิชาการ ควบคู่คุณธรรมดังที่ท่านเคยกล่าว ไว้ว่า " อันอานาจใดใดในโลกนี้ ไม่เห็นมีเปรี ยบปานการศึกษา สร้างคนหาค่ามิได้ในโลกา ขึ้นจากผูที่หาค่าไม่มีฯ " ้ " อันตึกงามกับสนามกว้างสร้างขึ้นได้ มีเงินหยิบโยนให้ก็เสร็ จสรรพ์ แต่งามจิตใจกว้างนั้นต่างกัน การอบรมเท่านั้นเป็ นปัจจัยฯ " หม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล ได้วางระเบียบและข้อปฏิบติงานไว้อย่างเหมาะสม นับเป็ นประโยชน์แก่ ั การศึกษา เป็ นอย่างดียง เช่น ิ่ มีแผนทะเบียนเป็ นศูนย์กลางขึ้นตรงต่อผูอานวยการประสานงานฝ่ ายวิชาการและการปกครอง ้ จัดทาทะเบียนประวัติยอของนักเรี ยนที่เข้าเรี ยนแต่ ปีแรก ่ มีสถิติการเรี ยนและการสอบต่างๆ บันทึกไว้เพื่อให้ทราบพฤติกรรมของนักเรี ยน วางระเบียบให้มีรางวัลคะแนนรวมให้แก่นกเรี ยนที่ได้คะแนนยอดเยียม ั ่ มีการจารึ กนามนักเรี ยนที่ได้คะแนนยอดเยียมไว้ที่แผ่นเกียรติยศการศึกษาเป็ นตัวอักษรสีทอง ่ ไว้ในห้องประชุมของโรงเรี ยน (ปัจจุบนคือห้อง 111 ตึก 2) ั นอกจากนี้ท่านยังได้คดการแข่งขันกีฬา ให้เฉพาะโรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษาเรี ยกว่า การแข่งขัน ิ วิ่งสามสระ เป็ นกีฬาที่หญิงชายเล่นร่ วมกันได้
  • 11. หม่อมหลวงปิ่ น มาลากุลได้ยนใบลาออกจากการเป็ นผูอานวยการโรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษาแก่จอม ื่ ้ พล ป. พิบูลสงคราม เมื่อราวเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2487 ดังนี้ ตามที่ได้มาเรี ยนปฏิบติขอราชการนะโรงเรี ยนลูกกาพร้าสงครามเมื่อวันที่ ๓ กรกฎาคม ศกนี้ และ ั ้ ท่านได้แสดความเห็นใจว่า ในตาแหน่งอธิบดีกรมสามัญสึกสา ย่อมมีงานที่จะต้องปฏิบติอยูมาก ั ่ แล้ว ให้หาคนแทนในตาแหน่งผูอานวยการโรงเรี ยนเตรี ยมอุดมสึกสานั้น นับว่าเป็ นความกรุ ณาของ ้ ท่านเป็ นอย่างยิง จึงขอเชื่อและปติบติตามคาแนะนาของพนะท่านด้วยความเคารพอย่างสูงสุด ่ ั ในโอกาสนี้ขอประทานกราบเรี ยนว่า นับตั้งแต่ พนะท่านได้เรี ยกไปกะซวงกลาโหม เมื่อวันที่ ๖ มกราคม ๒๔๘๐ เพื่อชี้แจงนโยบาย และมอบหมายให้จดตั้งโรงเรี ยนเตรี ยมอุดมสึกสาเป็ นต้นมา ก็ ั ได้ต้งใจ ปติบติงานอย่างเต็มสติกาลัง และพยายามรักสานโยบายของพนะท่านไว้เป็ นนิจ จานวน ั ั นักเรี ยนทวีข้ ึนจาก ๓๕๐ คน ในปี แรก จนถึง ๓,๕๐๐ คนในปัจจุบน การงานมิได้มีติดขัดประการ ั ได จนกระทังประเทศเข้าสู่ภาวะสงคราม ซึ่งย่อมมีอุปสรรคเป็ นธรรมดา แต่ก็แก้ไขให้ลุล่วงไปได้ ่ ภายใต้การบังคับบัญชาสูงสุดของพนะท่าน และพนะท่านรองอธิการบดี การเปลี่ยนแปลงตัวผูอานวยการนั้น ขอประทานกราบเรี ยนว่ารู้สึกเป็ นห่วงหยูไม่นอย แต่หม่อมเจ้า ้ ่ ้ วงษ์มหิป ชยางกูร ก็เป็ นผูที่มความสามารถในการสังสอนอบรมนักเรี ยนเป็ นอย่างดี และเป็ น ้ ี ่ อาจารย์ที่ได้หยูช่วยเหลือผูอานวยการมาเป็ นอันมาก ตั้งแต่เริ่ มจัดตั้งโรงเรี ยน จึงเป็ นการเหมาะสมที่ ่ ้ จะตั้งเป็ นผูอานวยการต่อไป ดีกว่าเลือกบุคคลซึ่งยังไม่เคยร่ วมงานนี้มาแต่ก่อน ้ ส่วนไนทางไจนั้น รู้สึกมีความอาลัยเป็ นอย่างมากในการที่จะไปจากโรงเรี ยนเตรี ยมอุดมสึกสา เมื่อ มาคานึงว่า ตลอดเวลา ๖ ปี ครึ่ ง ที่ทามานี้ มีตาแหน่งประจาอยูทางแผนกฝึ กหัดครูคณะอักสรศาสตร์ ่ และวิทยาสาสตร์ในชั้นต้น และทางกรมสามัญสึกสาในเวลาต่อมา งานไนโรงเรี ยนเตรี ยมอุดมสึกสา เป็ นงาน พิเสส ซึ่งมิได้มีตาแหน่งเงินเดือนหรื อเงินเพิ่มพิเสสแต่อย่างใด แต่ก็ได้ทามาด้วยความรัก และการเสียสละไนทุกทาง เพราะเป็ นงานชิ้นแรกที่พนะท่านมอบหมายให้ทาด้วยความไว้วางไจ และได้มีโอกาสสร้างครู อาจารย์ที่เข้มแข็งยิงขึ้นเป็ นจานวนร้อย และอบรมกล่อมเกลานักเรี ยน ่ จานวนพัน ซึ่งเชื่อว่าจะเป็ นกาลังแก่ประเทศชาติไนภายหน้าได้ ก็บงเกิดความพากพูมไจและ ั ความสุขไจ ซึ่งเป็ นรางวัลที่พนะท่านได้ให้มาในทางอ้อม… จึงค่อยปลดเปลื้องความอาลัยให้ บรรเทาลงได้บาง ้ ผลงานวรรณกรรม
  • 12. คนส่วนใหญ่ทราบกันดีว่า ผลงานการประพันธ์ของหม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล มีมากมาย ทั้งงาน ด้านวิชาการ โดยเฉพาะทางด้านการศึกษา สารคดีท่องเที่ยว และด้านบรรเทิงคดี อันมีบทละคร คา ประพันธ์ และเบ็ดเตล็ดอื่น ๆ งานเขียนมากมายหลายประเภทของท่านนั้น มีท้งร้อยแก้วและร้อย ั กรอง ท่านเล่าว่าชอบเขียนบทละครพูดเป็ นอันดับหนึ่ง บทละครที่ท่านเขียนไว้มีประมาณ ๖๐ เรื่ อง ด้วยกัน หม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล ได้รับพระมหากรุ ณาธิคุณอันนับว่าสาคัญที่สุดในชีวิตของท่าน เมื่อ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๔๕๘ ซึ่งขณะนั้นท่านอายุจะครบ ๑๒ ปี แล้ว พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยูหวได้ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้า ฯ ให้หม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล เข้ารับราชการเป็ น ่ ั นักเรี ยนมหาดเล็กรับใช้ ต้องเข้าไปอยูในวัง ตามเสด็จพระราชดาเนินไป ณ ที่ต่าง ๆ ต้องอยูรับใช้ใต้ ่ ่ ฝ่ าละอองธุลีพระบาทตลอดเวลา การที่ตองปฏิบติราชการเช่นนี้ หม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล ย่อมไม่สามารถจะไปเรี ยนที่โรงเรี ยน ้ ั ได้ จะเห็นได้จากใน พ.ศ. ๒๔๕๘ ท่านเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๕ ได้เพียงครึ่ งปี พอปลายปี ไปสอบ ขึ้นชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๖ ได้ หลังจากนั้นท่านก็มิได้มีโอกาสเข้าไปเรี ยนที่โรงเรี ยนอีกเลย การที่ไม่ได้ไปเรี ยนหนังสือที่โรงเรี ยนทาให้ขาดการศึกษาก็จริ ง แต่ท่านได้สิ่งอื่นมาทดแทน คือ ได้พระมหากรุ ณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว ที่ทรงสังสอนให้มากมายหลายอย่าง ่ ั ่
  • 13. หลายประการ และได้รับความรอบรู้นานาประการที่ไม่อาจจะหาได้จากการศึกษาในโรงเรี ยน ดังที่ มีผกล่าวไว้ว่า " ราชสานักสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูหว คือ การศึกษาชั้นสูงนอก ู้ ่ ั มหาวิทยาลัย " พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูหว ทรงอบรมสังสอนทั้งโดยตรงและโดยอ้อม และหนัก ่ ั ่ ไปในทางปฏิบติ ในระหว่างที่เป็ นนักเรี ยนมหาเล็กรับใช้น้น ท่านได้รับการฝึ กหัดอบรมทางการ ั ั ละครจากพระเจ้าอยูหวมากที่สุด ได้มีโอกาสอ่านบทละครที่พระองค์ทรงพระราชนิพนธ์เสร็ จใหม่ ่ ั ๆ เสมอ ได้แสดงละครพระราชนิพนธ์หลายเรื่ อง ในด้านหนังสือพิมพ์และการแต่งบทร้อยกรอง พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูหวทรงแต่งตั้งให้ท่านอยูในคณะบรรณาธิการหนังสือพิมพ์ " ่ ั ่ ดุสิตสมิต " และทรงฝึ กสอนการแต่งโคลงสี่สุภาพให้อีกด้วย ศิษย์สมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า เริ่มเขียนงานประพันธ์ หม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล ได้รับใช้ใกล้ชิดพระยุคลบาท พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูหว ่ ั เกือบตลอดเวลา ไม่ว่าพระองค์จะเสด็จพระราชดาเนินไป ณ ที่ใดก็ตาม จะต้องอยูคอยรับใช้ใต้ฝ่า ่ ละอองธุลีพระบาทไม่เคยขาด เป็ นที่ทราบกันดีในราชสานักว่า เมื่อพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูหวทรงพระราชนิพนธ์บทละครหรื อบทความ ถ้าเสร็ จแล้วมักจะโปรดให้ ่ ั มหาดเล็กที่ใกล้ชิดอ่านถวายให้ทรงฟังหรื ออ่านเฉพาะพระพักตร์ที่มขาราชบริ พารอยู่ ในบรรดา ี ้ มหาดเล็กที่ทรงโปรดว่าเสียงดี อ่านชัดถ้อยชัดคา และคุนกับลายพระราชหัตถ์ของพระองค์ที่ทรง ้ โปรดเกล้า ฯ ให้อ่านถวายเสมอ ก็จะมีหม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล และนายจ่ายวด ( ปาณี ไกรฤกษ์ ) จากประสบการณ์ของท่านที่ได้ใกล้ชิดพระยุคลบาท และได้รับการสังสอนวิธีการแต่งโคลงสี่ ่ สุภาพจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่ จึงทาให้ท่านสามารถเริ่ มเขียนงานด้านคาประพันธ์เมื่ออายุประมาณ ๑๔ ปี และเมื่อไปศึกษา ต่อยังต่างประเทศก็ได้มีโอกาสเขียนบทความลงในหนังสือพิมพ์ ส่วนบทความทางการศึกษาและ บทละครนั้น ท่านเริ่ มเขียนหลังจากที่สาเร็ จการศึกษาจากประเทศอังกฤษและกลับมารับราชการแล้ว นามจริ ง นามแฝง ในการเขียนบทความทางวิชาการ หม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล มักจะใช้นามจริ ง แต่ท่านก็ใช้ นามแฝงด้วยในการแต่งบทละคร หรื องานประพันธ์อื่น ๆ นามแฝงที่ท่านใช้มีดงนี้ ั
  • 14. ป.ม.ซึ่ งย่อมาจากปิ่ นมาลากุล นายเข็มหมวกเจ้าเข็มหมายถึงปิ่ นหมวกหมายถึงมาลาเจ้าแสดงว่าเป็ นราชสกุลประเสริฐหมายถึง ปิ่ น หรื อ ยอด นอกจากนี้ ยังมีนามแฝงที่ได้รับพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูหว คื อ ่ ั ประติสมิต ผลงานวรรณกรรม หม่อมหลวงปิ่ นเป็ นผูที่ได้ศึกษาภาษาบาลีและสันสกฤต รากฐานของภาษาไทย ทั้งเคยเป็ นครู ้ ภาษาไทยอยูในแวดวงการศึกษาตลอด ่ ชัวชีวิตข้าราชการ จึงมีผลงานผูเ้ ชี่ยวชาญและแตกฉาน ในภาษาไทยหลากหลายขอแยกแยะดังนี้ ... ่ คาประพันธ์ ได้แก่ผลงานนิพนธ์ร้อยกรอง ๒๕ เรื่ อง... ๑. ศึกษาภาษิต (๑๐๙ บท) ๒. คาประพันธ์ร้อยเรื่ อง ๓. คาประพันธ์บางเรื่ อง (๒๐๐ เรื่ อง) ๔. บทเพลง (๒๔ เพลง) ๕. นิราศร่ อนรอนแรมไปรอบโลก ๖. ทวาทศทาน ๗. คาประพันธ์ ๒๕๐๗ ๘. สามมากกว่าห้า คาโคลง ๙. โคลงสี่สุภาพ ๑๐. นิราศมายาใจไปรอบโลก (๓,๓๑๔ กลอน) ๑๑. คาประพันธ์สรรมาบรรณาการ ๑๒. นิราศเลี้ยวเที่ยวท่องกับน้องแก้ว ๑๓. ยกกระบุง คา โคลง ๑๔. นิราศแล่นไปแดนอารยะ ๑๕. นิราศลัดไปวัดตะเคียนคู่ ๑๖. เงินหาย คาโคลง ๑๗. “พี่ อ้ายยังเยาว์” ๑๘. เล่นละคร ๑๙. การบ้านการเมือง ๒๐. นิราศลิวปลิวไปที่ไหนเอ่ย ่ ๒๑. นิราศลิ่วปลิวไปในโลกหล้า ๒๒. โคลงกลอน ๒๕๒๑ ๒๓. ทรงชัยกับไพร่ ฟ้า ๒๔. พระมหาธีรราชเจ้าราชสดุดี ๒๕. คาประพันธ์วนครู ั เรื่องการศึกษา ได้ใช้ความรู้ความสามารถบันทึกไว้ถึง ๕๗ เรื่ อง... ๑. การศึกษาผูใหญ่ ๒. คาบรรยายในการอบรมครู ส่วนภูมภาค ๓. คากล่าวเปิ ดการอบรมวิธี ้ ิ สอนชั้นเตรี ยมประถม ๔. คากล่าวในการอบรมผูที่จะรับตาแหน่งศึกษาธิการจังหวัด ๕. การ ้ ประถมศึกษา ๖. การศึกษาในประเทศไทย ๗. ความเคลื่อนไหวทางการศึกษา ๘. คากล่าวใน โอกาสที่จะลาจากตาแหน่งอธิบดีกรมสามัญศึกษา ๙. ปาฐกถาเรื่ องการประชุมค้นคว้าอบรมเรื่ อง การศึกษาผูใหญ่ในชนบท ๑๐. คาบรรยายเรื่ องกระทรวงศึกษาธิการและการพัฒนาการท้องถิ่น ้
  • 15. ๑๑. การศึกษาปริ ทรรศน์ ๑๒. โครงการพัฒนาส่วนการศึกษาในส่วนภูมิภาค ๑๓. วิชาครู เล่ม เล็ก ๑๔. คากล่าวเปิ ดประชุมโครงการพัฒนาการศึกษาฯ ภาคศึกษา ๖ ๑๕. หน้าหนึ่งใน ประวัติศาสตร์การศึกษา ๑๖. คาบรรยายเรื่ องแผนการศึกษาชาติ ๑๗. พัฒนาการศึกษาส่วนภูมภาค ิ บทที่ ๑ ถึง ๘ ๑๘. การเตรี ยมการจัดตั้งมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (ตอนที่ ๒) ๑๙. การเตรี ยมการจัดตั้ง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (ตอนที่ ๓) ๒๐. การจัดตั้งมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ๒๑. ปาฐกถาพิเศษเรื่ องมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ๒๒. พัฒนาการศึกษาส่วนภูมิภาค บทที่ ๑ ถึง ๒๒ ๒๓. ปาฐกถาเรื่ อง “การศึกษาในประเทศสหรัฐอเมริ กาและอังกฤษ” ๒๔. คาปราศรัยปิ ดการ อบรมศึกษาธิการอาเภอ ๒๕. ประวัติการศึกษาต่างประเทศ ๒๖. คาปราศรัยประชุมครู ใหญ่ ส่วนกลาง ๒๕๐๙ ๒๗. พลเอกมังกร พรหมโยธี กับการศึกษา ๒๘. บันทึกเรื่ องการสร้าง มหาวิทยาลัยศิลปากร ณ พระราชวังสนามจันทร์ ๒๙. Seminar on Rural Adult Education. ๓๐ โอ้ ว่าพระองค์ผทรงศรี ู้ ๓๑. วิทยาลัยทับแก้ว-คู่มือนักศึกษา ๒๕๐๑ ๓๒. ประวัติการจัดการศึกษามหาวิทยาลัย ศิลปากร จังหวัดนครปฐม ๓๓. ปาฐกถา “การศึกษาสมัยที่มหาอามาตย์เอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธานีนิวติ ทรงเป็ นเสนาบดีกระทรวงธรรมมาการ” ๓๔. ประวัติโรงเรี ยนเตรี ยม ั อุดมศึกษา ๓๕ ตึกสามชั้น ๓๖. การศึกษาของไทยในปัจจุบน ๓๗. วิทยาลัยเพชรรัตน์๓๘พระราช ั กรณี ยกิจเกี่ยวกับการศึกษา ๓๙. กาเนิดโรงเรี ยนมหาดเล็กหลวง ๔๐. หลักการศึกษา (๓๓ เล่ม) ๔๑. ประวัติการศึกษา (๓๖ เล่ม) ๔๒. เรื่ องการศึกษา ๔๓ Education during the Time when H.H.Prince Dhani was Minister of Public Instruction ๔๔. นโยบายเกี่ยวกับการจัดโรงเรี ยนราษฎร์ ๔๕. พระราชบันทึกเรื่ องโรงเรี ยนมหาดเล็กหลวง ๔๖. บันทึกของ ป.ม. เรื่ องเตรี ยมการจัดตั้ง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ๔๗. คาปราศรัยพูดกับผูปกครองนักเรี ยน ๔๘. แถลงการณ์เรื่ องการเก็บเงิน ้ บารุ งการศึกษา ๔๙. คาปราศรัยในที่ประชุม เจ้าของ ผูจดการ และครู ใหญ่โรงเรี ยนราษฎร์ ๕๐. ้ั คากราบบังคมทูล ณ โรงเรี ยน สุรนารี วิทยา จังหวัดนครราชสีมา ๕๑. จดหมายเหตุในการตรวจราชการภาคใต้ ๒๔๙๘ ๕๒. จดหมายเหตุในการตรวจราชการ ไปถึงเชียงใหม่ ๒๔๙๘ ๕๓. ปาฐกถาเรื่ องมหาวิทยาลัยอ๊อกซ์ฟอร์ด ๕๔. บริ การเสียง ๕๕. การ ที่ครู จะร่ วมมือกับสถาปนิก ๕๖. คาปราศรัยเนื่องวันสถาปนากระทรวงศึกษาธิการ (๒๕๐๑-๗) บทละคร การแต่งบทละครนับว่าเป็ นวรรณศิลป์ พิเศษ ซึ่งนักประพันธ์สาขานี้มีไม่มากนัก เพราะต้องใช้ศิลปะ และอัจฉริ ยภาพ ที่ควรยกย่อง ประมาณ ๕๘ เรื่ อง
  • 16. ๑. หัวใจทอง ๒. สุวณณปัญญา ๓. อาหรับราตรี ๔. ยาม่า ๕. ประสบการณ์กลางมหาสมุทร ๖. ั ไปสวนลุมพินี ๗. งานฉลอง ๒๕ พุทธศตวรรษในอินเดีย ๘. การเมืองเรื่ องรัก ๙. เจ้าหญิงกับคนตัด ไม้ ๑๐. ยังเป็ นรอง ๑๑. เทพธิดาสาธิต ๑๒. พิมพ์พิไล ๑๓. ล่องแก่งแม่ปิง ๑๔. เมือรักจริ ง ๑๕. ดวงดารา ๑๖. ่ พวงมาลัย ๑๗. ไฉไลไม่เฉลียว ๑๘. เที่ยวกรุ งเทพฯ ๑๙. สามมากกว่าห้า ๒๐. เงินหาย ๒๑. หนี้ชีวิต ๒๒. สามเกลอ ๒๓. ลูกสาวเจ้าของบ้าน ๒๔. อนิจจาคุณพ่อ ๒๕. หางว่าว ๒๖. ข่าวดี ๒๗. School in the Village ๒๘. เสียงทับแก้ว-ดินแดนของพระพุทธองค์ ๒๙. ปฏิทินเสียง ๓๐. หงส์ทอง ๓๑. ธิดาหงส์ แห่งดุสิตธานี ๓๒. Somsak in Trouble ๓๓. หงส์ทองฉาก ๕ ๓๔. อันความ กรุ ณาปรานี ๓๕. ง่ายนิดเดียว ๓๖. มนุสโสสิ ๓๗. ภรรยาข้าราชการสาคัญ ๓๘. คาวมเมตตากรุ ณา ค้ าจุนโลก ๓๙. หงส์ทองฉาก ๖๐ ๔๐. เกาะแก้วพิสดาร ๔๑. จับเสือ ๔๒. ช่างทอน ๔๓. ผีจริ งๆ ๔๔. ยาขม ๔๕. ฝูงตักแตน ๔๖. ผูภกดี ๔๗. ชื่อว่า ๊ ้ั อารี ๔๘. คนมีบาป ๔๙. โองการพระผ่านฟ้ า ๕๐. เหยียวสังคม ่ ๕๑. สารสวาสดิ์ ๕๒. พี่นา ๕๓. โชคหมุนเวียนเปลี่ยนไปได้ทุกทุกวัน ๕๔. กรุ ง รัตนโกสินทร์ ๕๕. เงินหายสามบาท ๕๖. ทานชีวิต ๕๗. มาดามบัตเต้อร์ฟลาย (เสภา) ๕๘. เรื่ อง ของครู คนหนึ่ง การท่ องเที่ยว ดุจดังชีพจรลงเท้า ในการเดินทางทั้งทางราชการ ราชกิจ และเชิงทัศนศึกษา ่ ม.ล.ปิ่ นได้บนทึกไว้ ๘ เรื่ อง ั ๑. ไปสวนลุมพินี (ร้อยแก้ว) ๒. เที่ยวอิตาลีและสเปน ๓. เที่ยวอเมริ กาใต้ไปรอบโลก ๔. รวม เรื่ องเที่ยวอิตาลี อินเดีย สเปน ๕. การสูววที่สเปน ๖. ปาฐกถาเรื่ องไปอินเดีย ๗. เจริ ญรอยพระยุคล ้ั บาท ๘. รายงานของคณะเจริ ญรอยพระยุคลบาท เบ็ดเตล็ด ในวงการประพันธ์ หากไม่ได้แยกแยะว่าควรอยูในสาขาใดก็อนุโลมใช้สาขา ่ “เบ็ดเตล็ด” นับว่าเป็ นทางออกที่ดีที่งาม ประมาณ ๕๒ เรื่ อง ๑. หมู่ฉนท์อินทรวิเชียร ๒. การบรรยายเรื่ องปรับปรุ งชนบท ๓. คาปราศรัยในการเปิ ดอบรม ั หัวหน้าหน่วยวิชาการ ๔. Miscellaneous Problems (An Autobiography of a Would Be Mathematician) ๕. ต้น ต.อ. ๖. ต้น ต.อ. (ต่อ) ๗. ต้น ต.อ. (ตอนที่ ๓) ๘. การซ้อมรบเสือป่ า และ
  • 17. พระราชวังสนามจันทร์ ๒๔๖๑ ๙. การซ้อมรบเสื้อป่ า และพระราชวังสนามจันทร์ ๒๔๖๒ ๑๐. คา กราบบังคมทูล งานฉลองพระบรมราชสมภพ ร.๒ ๑๑. ประวัติวดบรมวงศ์อิศรวราราม ๑๒. วัดบรมวงศ์อิศรวราราม ๑๓. การประกวดประขัน ั แสดงภาพ ๑๔. การค้น วัน เดือน ปี ๑๕. กรณฑ์กาชาด ๑๖. “เรดฟี่ ” สาหรับหัวเราะกันเล่น ๑๗. พระมหากรุ ณาธิคุณอันล้นเกล้าฯ ๑๘. ปฏิทินเสียง ๑๙. ต้น ต.อ.ต้นปี ที่ ๒ ๒๐. มูลนิธิภตตาหารวัด ั บรมวงศ์ (๖ เล่ม) ๒๑. วัดบรมวงศ์อิศรวราราม อดีต ปัจจุบน ๒๒. มะโรง ร.ศ.๑๑๑ ๒๓. ศกุนตลา งามงดหาที่ติ ั มิได้ ๒๔. ศกุนตลา ๔ สานวน ๒๕. งานละครของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูหว ๒๖. ่ ั พระบรมราชานุสาวรี ย ์ และค่ายหลวงหาดเจ้าสาราญ ๒๗. ดุสิตธานีเมืองประชาธิปไตย ๒๘. วัด บรมวงศ์อิศรวราราม ๒๔๑๙-๒๕๑๙ ๒๙. ประวัติศาสตร์สมัย ร.๖ โดยย่อ ๓๐. เฉลิมพระเกียรติพระ มงกุฎเกล้าฯ (เอกลักษณ์ของชาติไทย) ๓๑. ศตวรรษแห่งวัดบรมวงศ์อิศรวราราม ๓๒. The New Republic ๓๓. งานละคร ร.๖ ๓๔. ที่ระลึกฉลองอายุ ๙๐ หลวงหัดดรุ ณพล ๓๕. หม่อมเจ้าประภากร ๓๖. อนุสรณ์ทาวสมศักดิ์ ๓๗. ้ Dramatic Achievement of King Rama VI ๓๘. พระราชินีสก๊อตแห่งดินแดนต่างประเทศ (แปล) ๓๙. ดุสิตสมิต (บรรยาย ๖ ครั้ง) ๔๐. จดหมายถึงผีเสื้อ (แปล) ๔๑. เขียนโคลงกลอนบท ละครอ่อนใจแล้ว (เรื่ องวิธีเล่นไพ่ที่คิดขึ้นเอง ฯลฯ) ๔๒. ราพึงถึง พระผู้ ๔๓. พิพิธภัณฑ์หุ่นขี้ผ้ง ๔๔. King Vajiravudh-Thailand's Prolific Writer ๔๕. นาคพระ ึ โขนงที่สอง (แปล) ๔๖. จับไอ้เสือบิลลี่ (แปล) ๔๗. โอ ฮา น่า ซัง (แปล) ๔๘. หอวชิราวุธานุสรณ์ ๔๙. ละครปริ ศนา ๕๐. โรงละครและการแสดงละคร ๕๑. พาชมดุสิตธานี ๕๒. คาอธิบายหมวด ข. (โขนละคร) นอกจากนี้ ยังมีคาประพันธ์เรื่ องสั้นๆ อีก ๒๓ เรื่ อง ม.ล.ปิ่ นได้อนุรักษ์เป็ นงานประพันธ์ อดิเรกที่มีคุณค่าทาง “อาหารสมอง” สมกับที่เป็ น “ศิลปิ นแห่งชาติ” สาขาวรรณศิลป
  • 18. ชีวตสมรส ิ ด้านชีวิตครอบครัว หม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล ได้สมรสกับ ท่านผูหญิง ้ ดุษฎีมาลา มาลากุล ณ อยุธยา (นามสกุลเดิม ไกรฤกษ์) ธิดา เจ้าพระยา มหิธร ( ลออ ไกรฤกษ์ ) และ ท่านผูหญิงกลีบ มหิธร ( สกุลเดิม บางยี่ ้ ขัน ) แต่ไม่มีบุตรธิดาด้วยกัน บั้นปลายชีวต ิ หม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล ถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2538 สิริอายุได้ 91 ปี 11 เดือน 11 วัน และเมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2544 ท่านได้รับการประกาศ เชิดชูเกียรติจากองค์การยูเนสโกยกย่องท่านเป็ น "นักการศึกษาดีเด่นของโลก ในสาขาวรรณกรรม และสื่อสาร" ถือเป็ นความภาคภูมิใจของชาวเตรี ยมอุดมทุกคน โรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษา อันเชิญรู ป ปั้น ฯพณฯ ศ.หม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล จากหอวชิราวุธานุสรณ์ มาประดิษฐาน ห้อง 57 ตึก 1 เมื่อ วันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2545 ในวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2546 เป็ นวาระครบรอบ 100 ปี ของ ฯพณฯ ศ. ม.ล. ปิ่ น มาลากุล โรงเรี ยน เตรี ยมอุดมศึกษาจึงดาริ ที่จะจัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อน้อมราลึกถึงพระคุณของท่าน นับแต่น้ ีต่อไปก็จะ มีเพียงการสานต่อแนวความคิดของ ฯพณฯ ให้ปรากฏเป็ นผลสมเจตจานง อย่างเป็ นรู ปธรรม เพื่อ ประโยชน์ของเยาวชน และสังคมไทยตลอดไป
  • 19. บรรณานุกรม มนตรี สุนทรา. "ชีวประวัติ,"หม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล. 11 เมษายน 2550 <www.tanti.ac.th/Pin_Malakul/writing.html> 15 กันยายน 2554. รณชัย ทองภิรมย์ "ประวัติ,"หม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล. 30 พฤษภาคม 2551 <www.seameo.org/vl/mlpin/mlpin.html> 14 กันยายน 2554. มาโนชย์ ปัณโครต "หม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล,"ผลงาน. 31 พฤษภาคม 2551 < www.moe.go.th/contestWeb_pin/บางมดฯ/Pin/Quote.html> 14 กันยายน 2554. วสัน วรรณพฤษดิ์ "หม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล,"ชีวิต. 11 พฤศจิกายน 2549 < www.sakulthai.com> 14 กันยายน 2554.