SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
Download to read offline
The frist
รายงาน

         เรื่อง หม่ อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช




                          เสนอ

              คุณครู สฤษศักดิ์ ชิ้มเขมจารี



                         จัดทาโดย

 นายทวีทรัพย์ จูมศิลป์           เลขที่ 1

 นายปรัชญา ขจรนาค                เลขที่ 2

 นางสาวภัธราภรณ์ เหลาไชย เลขที่ 9

 นางสาวรมณีย์ ไมตรีแพน           เลขที่ 10

 นางสาวอุบลวรรณา วะริวงศ์ เลขที่ 23

                ชั้นมัธยมศึกษาปี ทื่ 5/1



โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ร้ อยเอ็ด
คานา

      รายงานนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของวิชาประวัติศาสตร์ ซ่ ึ งเกี่ยวกับประวัติบุคคลสาคัญของโลกคือ
พลตรี หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชโดยจะมีประวัติและเรื่ องราวต่างๆของท่าน อาทิเช่น การศึกษา การทางาน งานด้าน
การศึกษา เกียรติประวัติดานการศึกษาและศิลปวัฒนธรรม และผลงานอีกมากมาย ทั้งนี้เรื่ องราวประวัติของท่านมี
                        ้
ความสาคัญมากจึงได้รับยกย่องป็ นบุคคลสาคัญของโลก ทางคณะผูจดทาจึงได้เล็งเห็นความสาคัญของท่านอย่างหาที่สุดมิได้
                                                        ้ั
จึงได้จดทารายงานนี้ข้ ึนเป็ นแหล่งการศึกษาหาความรู ้เพิ่มเติมเกี่ยวกับประวัติของพลตรี หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช ทาง
       ั
ผูจดทาหวังเป็ นอย่างสู งยิงว่ารายงานเล่มนี้คงจะเป็ นประโยชน์แก่ผที่สนใจไม่มากก็นอย
  ้ั                      ่                                     ู้              ้
    หากผิดพลาดประการใดก็ขออภัย ณ โอกาสนี้ดวย
                                          ้


                                                              นายทวีทรัพย์ จูมศิลป์
                                                                    และคณะ
สารบัญ

พลตรี หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช                       1
การศึกษา                                                 2
อุปสมบท                                                  3
การทางานด้านการคลังและการธนาคาร                          3
ลาออกจากธนาคารแห่งประเทศไทยเมื่อ พ.ศ.2489                4
การรับราชการทหาร                                         4
งานทางการเมือง                                           4
งานเขียนและงานหนังสื อพิมพ์                              6
งานด้านการศึกษา                                          7
เกียรติประวัติดานการศึกษาและศิลปวัฒนธรรม
                 ้                                       9
อสัญกรรม                                                 10
ประวัติการรับราชการและเครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์            10
เครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์ต่างประเทศ                        12
ผลงานด้านวรรณศิลป์                                       13
บรรณานุกรม                                               20
1
                                           พลตรี หม่ อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช




                                              นายกรัฐมนตรี ไทย คนที่ 13
                                                     ดารงตาแหน่ง
                                      14 มีนาคม พ.ศ. 2518 – 12 มกราคม พ.ศ. 2519

     ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช เกิดเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 20 เมษายน พ.ศ.2454 ที่จงหวัดสิ งห์บุรี เป็ นโอรสคนสุ ดท้องของ พลโท
                                                                          ั
พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคารบ กับ หม่อมแดง (บุนนาค) ปราโมช ณ อยุธยา มีพี่ร่วมบิดามารดาคือ
            ม.ร.ว.หญิง บุญรับ พินิจชนคดี
            ม.ร.ว.เสนีย ์ ปราโมช
            ม.ร.ว.หญิง อุไรวรรณ ปราโมช
            ม.ร.ว.ถ้วนเท่านึก ปราโมช
      สมรสกับ ม.ร.ว.หญิง พักตร์ พริ้ ง ทองใหญ่ เมื่อ พ.ค.2479 มีบุตรธิ ดา 2 คน คือ
            ม.ล.รองฤทธิ์ ปราโมช
            ม.ล.หญิง วิสุมิตรา ปราโมช
2
       ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช พักอยูที่บานในซอยพระพินิจ ซึ่ งเป็ นซอยย่อยอยูในซอยสวนพลู ถนนสาทรใต้ เขต
                                         ่ ้                               ่
สาทร บ้านหลังนี้เป็ นที่รู้จกกันในชื่อว่า "บ้านซอยสวนพลู"
                            ั




      การศึกษา
      เริ่ มต้นเรี ยนหนังสื อที่บานกับ ม.ร.ว.บุญรับ พี่สาวใหญ่จนอ่านหนังสื อไทยออกเมื่ออายุ 4 ขวบ
                                 ้
     เมื่อ พ.ศ.2458 ได้เข้าเรี ยนการศึกษาภาคบังคับที่โรงเรี ยนวัฒนา (โรงเรี ยนวังหลัง) และต่อมาได้เข้าเรี ยนต่อที่โรงเรี ยน
สวนกุหลาบ ตั้งแต่ช้ นมัธยมปี ที่ 1 จนมัธยมปี ที่ 8 แต่ก่อนจบมัธยมปี ที่ 8 ได้ออกไปศึกษาต่อที่ประเทศอังกฤษ
                    ั
       ที่องกฤษได้เข้าศึกษาระดับมัธยมที่วทยาลัยเทรนท์ (Trent College ซึ่งเป็ นโรงเรี ยนประเภทพับลิคสกูล) เป็ นเวลา 5 ปี จึง
           ั                             ิ
ไปเรี ยนต่อที่ ควีนส์ คอลเลจ (Queen's College) มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ ด ได้รับปริ ญญาตรี เกียรตินิยม (B.A.Honours) ใน
สาขาปรัชญา การเมือง และเศรษฐศาสตร์ (ที่เรี ยกว่า Modern Greats คือ Philosophy, Politics and Economics หรื อเรี ยกโดยย่อ
ว่า P.P.E) และกลับประเทศไทยเมื่อปี พ.ศ. 2476
     (เมื่อปี พ.ศ.2525 ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช ไปเยือนประเทศอังกฤษ และได้ไปขอรับปริ ญญาโทจากมหาวิทยาลัย
ออกซฟอร์ ดตามธรรมเนียมการศึกษาของมหาวิทยาลัยนั้น ซึ่ งถือว่าผูที่ได้รับปริ ญญาตรี เกียรตินิยมจะได้รับปริ ญญา
                                                              ้
โท M.A.Oxon หลังจาก 3 ปี )
3

     อุปสมบท
      ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมชได้อุปสมบทถวายพระราขกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวอานันทมหิ ดล เมื่อเดือนเมษายน
                                                                              ่ ั
พ.ศ.2493 ที่วดบวรนิเวศวิหาร โดยมีสมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์เป็ นองค์อุปัชฌาย์ และลาสิ กขาบท
             ั
                                                       ่ ั                        ่
หลังจากถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวอานันทมหิ ดล รวมเวลาอยูในสมณเพศ 50 วัน
     การทางานด้ านการคลังและการธนาคาร
    เมื่อกลับจากการศึกYในประเทศอังกฤษเมื่อ พ.ศ.2476 ได้เข้ารับราชการเป็ นครั้งแรกที่กองภาษีประเมินกรมสรรพากร
กระทรวงการคลังซึ่งมีพระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าวิวฒนไชย ทรงเป็ นอธิบดี
                                              ั
                             ่
    ในระหว่างที่รับราชการอยูที่กระทรวงการคลัง ได้เป็ นเลขานุการของนายเจมส์ แบกซ์เตอร์ (James Baxter) ที่ปรึ กษา
                  ่
กระทรวงการคลังอยูในช่วงสั้น และกลับมารับราชการที่กรมสรรพากรเมื่อนายแบกซ์เตอร์ ลากลับประเทศอังกฤษ
      เมื่อ พ.ศ. 2478 พระยาไชยยศสมบัติ อธิ บดีกรมบัญชีกลาง ซึ่ งดารงตาแหน่งเป็ นประธานกรรมการธนาคารสยามกัมมา
จลทุนจากัด (ธนาคารไทยพาณิ ชย์จากัด ในปั จจุบน) ได้ชกชวนให้ไปทางานธนาคาร จึงลาออกจากราชการไปดารงตาแหน่ง
                                                 ั    ั
ผูช่วยสมุห์บญชีที่สานักงานกลางของธนาคารสยามกัมมาจล ถนนทรงวาด และต่อมาได้ยายไปเป็ นผูจดการธนาคารสยามกัม
  ้          ั                                                                    ้       ้ั
มาจล สาขาลาปาง เป็ นเวลา 8 ปี เป็ นผูจดการที่เป็ นคนไทยเป็ นคนแรกต่อจากผูจดการชาวอังกฤษ งานที่สาคัญงานหนึ่งคือ
                                     ้ั                                  ้ั
หาทางให้คนไทยหันมาใช้เงินบาทไทยแทนเงินรู ปีของพม่า ซึ่ งเคยเป็ นที่นิยมกันในหมู่คนไทยทางภาคเหนื อ
                                                                                  ้่
     เมื่อปี พ.ศ. 2486 พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าวิวฒนไชย ซึ่ งในขณะนั้นดารงตาแหน่งผูวาการธนาคารแห่งประเทศไทย
                                                 ั
ได้ขอตัว ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช จากธนาคารสยามกัมมาจล มาทางานในตาแหน่งหัวหน้าฝ่ ายสานักผูวาการธนาคารแห่ง
                                                                                         ้่
ประเทศไทย โดยรับผิดชอบงานทุกอย่างที่ผวาการมอบหมายให้ ตั้งแต่ร่างกฎหมายให้คาปรึ กษาเรื่ องกฎหมายเกี่ยวกับ
                                       ู้ ่
กระทรวงการคลัง การพิมพ์ธนบัตร และการวางระบบต่าง ๆ
     งานชิ้นสาคัญที่ธนาคารแห่งประเทศไทยคือการริ เริ่ มพัฒนาระบบการธนาคารของไทยให้ทนสมัยและรวดเร็ ว
                                                                                      ั
โดยเฉพาะระบบการเคลียร์เช็ค (cheque clearing) ได้ใช้ให้ระบบการหักบัญขีระหว่างธนาคารตามพระราขกฤษฎีการกิจการ
ธนาคารแห่งประเทศไทย พ.ศ.2485 จัดตั้งศูนย์กลางการหักบัญชีหนี้สินของแต่ละธนาคารที่ได้รับเช็คของกันและกัน
        ผลงานที่สาคัญอีกเรื่ องหนึ่งก็คือ บทบาทในการขัดขวางมิให้รัฐบาลในสมัยจอบพล ป.พิบูลสงคราม นา
ธนบัตร “ดอลลาร์ไทย” ที่ทางรัฐบาลสั่งให้ธนาคารแห่งประเทศไทยจัดพิมพ์ เพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนธนบัตรระหว่าง
สงคราม ออกมาจาหน่ายแก่ประชาชนตามที่ต้ งใจไว้ และบทบาทในการออกพระราชบัญญัติควบคุมเครดิตเพื่อป้ องกันภาวะ
                                              ั
เงินเฟ้ ออันเนื่ องมาจากภาวะสงคราม และการใช้มาตรการจาหน่ายพันธบัตรทองคาเพื่อแก้ภาวะเงินเฟ้ อและรักษาค่าเงินบาท
4
      ลาออกจากธนาคารแห่ งประเทศไทยเมื่อ พ.ศ.2489
      ในระยะปลายสงครามโลกครั้งที่สอง และหลังสงครามโลกใหม่ ๆ ประเทศไทยมีธนาคารพาณิ ชย์เอกชนเกิดขึ้นหลาย
ธนาคาร ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ มีบทบาทในการก่อตั้งธนาคารใหม่ 2 ธนาคารคือ ธนาคารกรุ งเทพฯพาณิ ชย์การ เมื่อ พ.ศ.2487 ใน
ฐานะญาติของผูก่อตั้งและรับตาแหน่งรองประธานกรรมการ (พ.ศ. 2513-2524) โดยมี ม.ร.ว.หญิงบุญรับ พินิจชนคดีซ่ ึงเป็ น
              ้
พี่สาวดารงตาแหน่งประธานกรรมการ จนเมื่อ ม.ร.ว.หญิงบุญรับถึงแก่กรรม ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ จึงได้ดารงตาแหน่งประธาน
กรรมการมาจนถึงแก่อสัญกรรม (พ.ศ. 2524-2538)
      ในปี พ.ศ.2491 มีส่วนร่ วมก่อตั้งธนาคารแหลมทองในฐานะที่คุนเคยกับกลุ่ม “นันทาภิวฒน์” ผูก่อตั้งในช่วงแรก
                                                              ้                     ั      ้

      การรับราชการทหาร
    ในระหว่างที่ทางานธนาคารสยามกัมมาจลสาขาลาปาง ถูกเกณฑ์ทหาร 2 ครั้งในระหว่างสงครามอินโดจีนและสงคราม
มหาอาเชียบูรพา (พ.ศ. 2483-2484) เข้าร่ วมกองทัพไทยที่ไปตีเมืองเชียงตุง ได้รับพระราชทานยศสิ บตรี
    ในปี พ.ศ. 2531 ได้รับพระราชทานเลื่อนยศเป็ นพลตรี นายทหารพิเศษประจากรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษา
พระองค์

      งานทางการเมือง




      · เป็ นผูริเริ่ มตั้งพรรคการเมืองพรรคแรกในเมืองไทย โดยร่ วมกับเพื่อนๆ คือ นายสุ วชช พันธเศรษูฐ นายสอ เศรษฐ
               ้                                                                       ิ
บุตร พระยาสุ รพันธเสนี ดร.โชติ คุมพันธุ์ และ ม.ร.ว.นิมิตมงคล นวรัตน์ จัดตั้งพรรคการเมืองชื่ อว่าพรรคก้าวหน้าเมื่อ พ.ศ.
                                    ้
2488
5·
        ได้รับเลือกเป็ นสมาชิกผูแทนราษฎรครั้งแรกในจังหวัดพระนคร เขต 3 ในการเลือกตั้งทัวไปเมื่อวันที่ 6 มกราคม พ.ศ.
                                ้                                                     ่
2489
     · เป็ นกรรมาธิ การวิสามัญพิจารณาแก้ไขรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2489 (เป็ นงานชิ้นแรกในฐานะ
สมาชิกสภาผูแทนราษฎร)
           ้
     · เป็ นผูริเริ่ มและจัดตั้งพรรคประชาธิ ปัตย์ โดยยุบพรรคก้าวหน้ามารวมเป็ นพรรคการเมืองใหญ่ในปี พ.ศ.2490 โดยมี
              ้
นายควง อภัยวงศ์เป็ นหัวหน้าพรรค ม.ร.ว.เสนีย ์ ปราโมช เป็ นรองหัวหน้าพรรค และม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช เป็ นเลขาธิ การ
พรรค
       · ดารงตาแหน่งรัฐมนตรี ในคณะรัฐบาลชุดนายควง อภัยวงศ์ (10 พฤศจิกายน 2490 ถึง 6 กุมภาพันธ์ 2491 )
        · ได้รับเลือกตั้งเป็ นสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดพระนคร สังกัดพรรคประชาธิ ปัตย์ ในการเลือกตั้งทัวไปเมื่อ
                                         ้                                                             ่
วันที่ 29 มกราคม พ.ศ.2491
     · ดารงดาแหน่งรัฐมนตรี ช่วยราชการกระทรวงการคลัง ในคณะรัฐบาลชุดนายควง อภัยวงศ์ (2 กุมภาพันธ์ 2491 ถึง 8
                                                      ่
เมษายน 2491 ) โดยมีพระองค์เจ้าวิวฒนไชย เป็ นรัฐมนตรี วาการกระทรวงการคลัง
                                 ั
     · รัฐบาลชุดนายควง อภัยวงศ์ ถูกคณะรัฐประหารบังคับให้ลาออกและได้นาจอมพล ป.พิบูลสงครามขึ้นเป็ น
นายกรัฐมนตรี แทนเมื่อ 8 เมษายน 2491 พรรคประชาธิปัตย์ จึงเป็ นฝ่ ายค้านในสภา
     · ลาออกจากสมาชิกภาพของสภาผูแทนราษฎรเมื่อวันที่ 16 กันยายน 2491 เหตุเพราะไม่เห็นด้วยกับการขึ้นเงินเดือน
                                ้
สมาชิกสภาผูแทนราษฎร
           ้
     · เป็ นรัฐมนตรี ช่วยว่าการกระทรวงพาณิ ชย์ เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2491 ในคณะรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงคราม
และลาออกเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2492
       · เป็ นสมาชิกสภาร่ างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2502-2511
       · เป็ นสมาชิกสมัชชาแห่งชาติ พ.ศ. 2516
       · เป็ นประธานสภานิ ติบญญัติแห่งชาติ พ.ศ. 2516-2517 (ลาออกจากตาแหน่งประธานสภาเมื่อ 10 ตุลาคม 2517)
                             ั
    · เป็ นผูจดตั้งและดารงตาแหน่งหัวหน้าพรรคกิจสังคมเมื่อปี พ.ศ. 2517 มีนายบุญชู โรจนเสถียร เป็ นเลขาธิ การพรรค
             ้ั
คนแรก
       · ลงสมัครรับเลือกตั้งในการเลือกตั้งทัวไปเมื่อ 26 มกราคม 2518 โดยได้รับเลือกตั้งเป็ นสมาชิกสภาผูแทนราษฎรเขต
                                            ่                                                         ้
1 (ดุสิต)
      · ดารงตาแหน่งเป็ นนายกรัฐมนตรี ตั้งแต่วนที่ 12 มีนาคม 2518 ประกาศยุบสภา เมื่อวันที่ 12 มกราคม 2519 และ
                                              ั
รักษาการในตาแหน่งนายกรัฐมนตรี จนถึงวันที่ 4 เมษายน 2519
       · ในคราวเลือกตั้งทัวไป 4 เมษายน 2519 สมัครรับเลือกตั้งในเขต 1 (ดุสิต) แต่ไม่ได้รับการเลือกตั้ง
                          ่
       · ดารงตาแหน่งกรรมาธิ การร่ างรัฐธรรมนูญหลังการปฏิวติ 20 ตุลาคม 2520
                                                         ั
6·
       ได้รับเลือกตั้งเป็ นสมาชิกผูแทนราษฎร เขต 2 สัมพันธวงศ์ บางรัก พระนคร) ในการเลือกตั้งทัวไป เมื่อวันที่ 22
                                   ้                                                         ่
เมษายน พ.ศ. 2522
      · ได้รับเลือกตั้งเป็ นสมาชิกสภาผูแทนราษฎรเขต 2 (สัมพันธวงศ์ บางรัก พระนคร และคลองสาน) ในการเลือกตั้ง
                                       ้
ทัวไปเมื่อวันที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2526
  ่
    · วันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2529 ลาออกจากตาแหน่งหัวหน้าพรรคกิจสังคม และไม่ได้ลงสมัครรับเลือกตั้ง เป็ นการยุติ
บทบาททางการเมือง ในฐานะสมาชิกสภาผูแทนราษฎรนับแต่น้ นมา
                                    ้               ั
      · เมื่อวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2533 ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช ได้กลับเข้ามาดารงตาแหน่งหัวหน้าพรรคกิจสังคมอีก
ชัวคราว และลาออกจากตาแหน่งหัวหน้าพรรคเป็ นการถาวร เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2534
  ่

      งานเขียนและงานหนังสื อพิมพ์
       งานเขียนที่ได้รับการพิมพ์เผยแพร่ เป็ นครั้งแรกเริ่ มตั้งแต่ศึกษาอยู่ ณ ประเทศอังกฤษ โดยเป็ นบรรณาธิ การ
หนังสื อ “สามัคคีสาร” ของนักเรี ยนไทยในประเทศอังกฤษ
       ต่อมาเมื่อกลับเมืองไทยแล้ว ได้เขียนบทความภาษาอังกฤษลงในหนังสื อพิมพ์ลิเบอร์ ต้ ี (Liberty) ซึ่งเป็ นหนังสื อใน
เครื อศรี กรุ งและไทยราษฎร์ พ.ศ. 2487 มีนายสอ เศรษฐบุตร (หลวงมหาสิ ทธิโวหาร) เป็ นบรรณาธิการและแปลเป็ นภาคไทย
ลงในหนังสื อพิมพ์ศรี กรุ ง ซึ่ งนายสละ ลิขิตกุล เป็ นผูช่วยบรรณาธิ การ และต่อมาได้เขียนบทความภาษาไทยลงใน
                                                       ้
หนังสื อพิมพ์ศรี กรุ งด้วย
      ในปี พ.ศ. 2489 เขียนบทความลงในหนังสื อพิมพ์เกียรติศกดิ์ ตามคาขอของนายสละ ลิขิตกุล บรรณาธิ การในขณะนั้น
                                                         ั
      ชีวตของการเป็ นนักเขียน นักหนังสื อพิมพ์เริ่ มขึ้นอย่างจริ งจัง เมื่อได้ก่อตั้งหนังสื อพิมพ์สยามรัฐ เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน
         ิ
พ.ศ. 2493 มีนายสละ ลิขิตกุล เป็ นบรรณาธิ การ โดยมี ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช เป็ นทั้งเจ้าของ ผูอานวยการ และนักเขียน
                                                                                                   ้
ประจา งานเขียนมีท้ ง นวนิยาย บทความ รวมทั้งบทบรรณาธิ การด้วย
                   ั
7

      งานด้ านการศึกษา
      · เริ่ มชีวิตการเป็ นอาจารย์ครั้งแรกที่มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์ และการเมือง ระหว่างปี พ.ศ. 2484-2485 เป็ นอาจารย์
พิเศษสอนวิชาการธนาคารและเครดิตสถาน ในระดับปริ ญญาโททางเศรษฐศาสตร์ และสอนวิชาบัญชีและธนาคาร ในระดับ
ประกาศนียบัตรชั้นสู งทางการบัญชี
      · เริ่ มสอนที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยครั้งแรกในปี พ.ศ.2487 โดยสอนวิชาเศรษฐศาสตร์ ที่คณะพาณิ ชยศาสตร์และการ
บัญชี และได้สอนสื บต่อมาเป็ นเวลานานกว่าสิ บปี
       · ปี พ.ศ.2491 ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมชในูฐานะสมาขิกสภาพผูแทนราษฎรได้มีบทบาทร่ วมกับหลวงอังคณานุ รักษ์และ
                                                                   ้
นายใหญ่ ศวิตขาติ ในการเสนอพระราชบัญญัติจดตั้งคณะรัฐศาสตร์ ข้ ึน ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และได้รับเชิญเป็ นอาจารย์
                                                ั
พิเศษเมื่อคณะรัฐศาสตร์ เริ่ มเปิ ดการเรี ยนการสอนคือ ปี พ.ค.2491 -2492 โดยสอนวิชาเศรษฐศาสตร์ นอกจาการสอนตามที่
หลักสู ตรกาหนด ยังได้เสริ มความรู ้นอกหลักสู ตรให้แก่นิสิตทั้งทางด้านประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ปรัชญาและการเมืองไทย
       · เมื่อมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้จดตั้งคณะศิลปศาสตร์ ข้ ึนในปี พ.ศ.2504 ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช มีบทบาทในการ
                                        ั
ช่วยคณาจารย์ของคณะศิลปศาสตร์ ชี้แจงทาความเข้าใจทั้งกับนักศึกษาและต่อสาธารณชน ผ่านหนังสื อพิมพ์สยามรัฐ ถึง
คุณค่าของการศึกษาวิชาความรู ้ทวไป (Liberal Arts) ก่อนเข้าสู่ การศึกษาทางวิชาชีพ และได้รับหน้าที่ลอนในูฐานะอาจารย์
                               ั่
พิเศษในหลักสู ตรวิชาพื้นฐานของคณะศิลปศาสตร์ เป็ นครั้งคราว นับแต่แรกที่เปิ ดการเรี ยนการสอนในปี พ.ศ.2505 เป็ นต้นมา
โดยเป็ นผูสอนในวิชาศาสนาเปรี ยบเทียบ วิชาปรัชญาและวิชาวัฒนธรรมไทย
           ้
        · ปี พ.ศ.2513 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้มีการปรับปรุ งหลักสู ตรวิชาพื้นฐาน พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิป
พงศ์ประพันธ์ อธิ การบดีได้ประทานคาแนะนาแก่คณะกรรมการปรับปรุ งหลักสู ตรว่า ในการปรับปรุ งขอให้คานึงถึงการนา
เรื่ องของไทยมาประยุกต์ให้มากขึ้น จึงเกิดมีวชาพื้นฐานอารยธรรมไทย ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช มาเป็ นผูวางหลักสู ตร และ
                                            ิ                                                     ้
วางแผนการสอน โดยแบ่งการสอนเป็ นส่ วน ๆ มีอาจารย์หลายคนร่ วมรับผิดชอบ รวมทั้งได้นิมนต์พระสาลนโสภณเจ้าอาวาส
วัดบวรนิเวศ ปั จจุบนคือสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช มาสอนเรื่ องพุทธศาสนา
                    ั
          หลักสู ตรวิชาพื้นฐานและวิชาพื้นฐานอารยธรรมไทยได้กลายเป็ นต้นแบบที่มหาวิทยาลัยอื่น ก็ได้นาไปปรับปรุ งการ
เรี ยนการสอน จนในที่สุดทบวงมหาวิทยาลัยได้กาหนดเป็ นนโยบายให้ทุกมหาวิทยาลัยมีหลักสู ตรวิชาพื้นฐานรวมกันอย่าง
น้อย 30 หน่วยกิต
         พร้อม ๆ กับการสอนวิชาอารยธรรมไทย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้ดาริ จดตั้งโครงการไทยคดีศึกษาขึ้น ตามพระ
                                                                               ั
ดาริ ของพระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิ ปพงศ์ประพันธ์ อธิ การบดี ซึ่ งได้ทรงมอบหมายให้ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช มาทา
หน้าที่ประธานคณะกรรมการบริ หารโครงการไทยคดีศึกษา ในปี พ.ศ.2514 รับผิดชอบในการกาหนดนโยบาย ทั้งในด้านการ
บริ หารและการศึกษาวิจย การจัดสัมมนาทางวิชาการ สัมมนาสาธิตนาฏศิลป์ และดนตรี รวมถึงการจัดแสดงโขนธรรมศาสตร์
                       ั
และได้มีบทบาทสาคัญในการจัดตั้งโครงการไทยคดีศึกษา ขึ้นเป็ นสถาบันไทยคดีศึกษา
      · ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช ดารงตาแหน่งประธานคณะกรรมการสถาบันไทยคดีศึกษาสื บต่อมาจนถึงวันที่ 17 มิถุนายน
พ.ศ.2518 จึงได้ขอลาออก เพื่อไปดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี
8
       นอกจากที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยแล้ว ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช ยังได้รับเชิ ญเป็ น
อาจารย์พิเศษ และผูบรรยายพิเศษในสถาบันอุดมศึกษา รวมทั้งวิทยาลัยนาฏศิลป์ ทัวประเทศในหัวข้อที่หลากหลาย : ปรัชญา
                  ้                                                      ่
การเมือง เศรษฐกิจ ดนตรี นาฏศิลป์ และวัฒนธรรมไทยแขนงอื่น
     · เมื่อ พ.ศ.2516 ได้รับพระราชเสาวณี ยจากสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชิ นีนาถให้ถวายการสอนเป็ นการส่ วน
พระองค์แก่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี ซึ่ งทรงเข้าเรี ยนในชั้นปี ที่ 1 คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย

งานด้านศิลปวัฒนธรรมไทย
                               ่ ั
       · พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวทรงพระมหากรุ ณาทรงครอบครู พระพิราพแก่
ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช ด้วยพระองค์เองในพิธีไหว้ครู และพิธีครอบโขนละคอนที่จด
                                                                         ั
ขึ้น ณ พระที่นงวิมานเมฆ พระราชวังดุสิต เมื่อ พ.ค.2506
               ั่
         · อัจฉริ ยภาพทางด้านศิลปะของ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช ปรากฏในงานเขียนซึ่ง
มีท้ งงานประพันธ์และงานวิจารณ์ งานแสดงนาฏศิลป์ ทั้งโดยตนเอง และโดยการ
     ั
ส่ งเสริ มนาฏศิลปและดนตรี ประเภทต่าง ๆ ตั้งแต่นาฏศิลป์ ระดับสู ง คือ โขน ละคร ไป
จนถึงศิลปะพื้นบ้าน เช่น การเล่นสักวา เพลงเรื อ เพลงฉ่อย งานส่ งเสริ มและอนุ รักษ์
ศิลปะและดนตรี ไทย ที่สาคัญที่สุดคือการจัดตั้ง “โขนธรรมศาสตร์ ” ขึ้นเมื่อ พ.ศ.2509
เพื่ออบรมให้เยาวชนไทยเข้าใจถึงเรื่ องของโขน ซึ่ งถือว่าเป็ นนาฏศิลป์ สู งสุ ดของไทย
      · ได้รับการยกย่องเป็ นศิลปิ นแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจาปี พ.ศ.2528
9

         เกียรติประวัติด้านการศึกษาและศิลปวัฒนธรรม
         25 ตุลาคม พ.ศ.2505 ได้รับพระราชทานปริ ญญาวารสารศาสตร์ ดุษฎีบณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
                                                                     ั
         พ.ศ.2514 ได้รับพระราชทานตาแหน่งศาสตราจารย์พิเศษ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
         14 กรกฎาคม พ.ศ.2520 ได้รับพระราชทานปริ ญญาพาณิ ชยศาสตร์ ดุษฎีบณฑิตกิตติมศักดิ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                                                       ั
     24 มกราคม พ.ศ.2522 ได้รับพระราชทานปริ ญญาศิลปศาสตร์ ดุษฎีบณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาปรัชญา
                                                               ั
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
         31 ตุลาคม พ.ศ.2528 ได้รับพระราชทานปริ ญญารัฐศาสตร์ ดุษฎีบณฑิตกิตติมศักดิ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                                                  ั
     24 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2529 ได้รับพระราชทานเครื่ องหมายเชิ ดชูเกียรติ ศิลปิ นแห่งชาติ สาขาวรรณกรรมประจาปี พ.ศ.
2528 สานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ
      11 พฤศจิกายน พ.ศ.2531 ได้รับพระราชทานพระเกี้ยวทองคาในฐานะผูมีผลงานดีเด่นทางด้านส่ งเสริ มภาษาไทย
                                                                 ้
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
         16 ธันวาคม พ.ศ.2536 ได้รับพระราชทานปริ ญญาศิลปศาสตร์ ดุษฎีบณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
                                                                    ั
         1 ธันวาคม พ.ศ.2537 ได้รับปริ ญญาเทคโนโลยีดุษฎีบณฑิตกิตติมศักดิ์ สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย
                                                        ั

อื่น ๆ
         · นายกกรรมการบริ หารช่วยนักเรี ยนที่ขาดแคลนในพระบรมราชิ นูปถัมภ์ ตั้งแต่ พ.ศ.2504-2530
         · ประธานกรรมการอานวยการหอพักรัชดาภิเษก มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ.2514-2518
         · ประธานกรรมการบริ ษทอุตสาหกรรมวิวฒน์
                             ั             ั
         · ประธานกรรมการบริ ษทภูมิภวัน
                             ั
         · ประธานกรรมการบริ ษทเงินทุนหลักทรัพย์ ไทยฟูจิ จากัด
                             ั
         · ประธานกรรมการบริ ษทพรอพเพอร์ ต้ ี แคร์ เซอร์ วสเซส
                             ั                           ิ
10

      อสั ญกรรม
       การเจ็บป่ วยปรากฏเป็ นครั้งคราวนับแต่ปี พ.ศ.2525 เดินทางไปรับการตรวจและรักษาที่ประเทศสหรัฐอเมริ กา แพทย์
ต้องผ่าตัดแคลเซี ยมเกาะกระดูกไขสันหลัง จากนั้นต้องเข้ารับการตรวจสุ ขภาพเป็ นระยะ ๆ ด้วยโรคประจาตัวคือ เบาหวาน
ในปี พ.ศ.2530 เข้ารับการผ่าตัดเส้นหลอดเลือดเลี้ยงหัวใจที่ประเทศ
         สหรัฐอเมริ กา ใช้เวลาในการรักษานานเดือนเศษ นับแต่น้ นมาอาการเจ็บป่ วยจากโรคเดิม และโรคแทรกซ้อนปรากฏ
                                                                 ั
เป็ นระยะ ๆ จนกระทัง ครั้งหลังสุ ดเมื่อวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ.2538 ต้องเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลสมิติเวช ด้วยระบบการ
                       ่
ทางานของอวัยวะภายในเสื่ อม และถึงแก่อสัญกรรมอย่างสงบด้วยโรคชรา เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2538 เวลา 10.58 น. สิ ริ
อายุได้ 84 ปี 5 เดือน 20 วัน ต่อมาในปี พ.ศ. 2550 กระทรวงวัฒนธรรมได้เสนอชื่ อให้ท่านเป็ น บุคคลสาคัญของโลก กับ
ทาง ยูเนสโก

      ประวัติการรับราชการและเครื่องราชอิสริยาภรณ์

           วัน เดือน ปี                     ยศ ตาแหน่ง                    เครื่ องราชอิสริยาภรณ์
                   11 พ.ย. 2490     รัฐมนตรี

                   25 ก.พ. 2491     รัฐมนตรี ชวยราชการ
                                              ่
                                    กระทรวงการคลัง

                   30 พ.ย. 2491     รัฐมนตรี ชวยว่าการกระทรวง
                                              ่
                                    พาณิชย์

                    1 ม.ค. 2492     ลาออกจากรัฐมนตรี

                    3 ก.พ. 2502     สมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ
                   20 มิ.ย. 5511
                   16 ต.ค. 2502     -                               เหรี ยญรัตนาภรณ์ รัชกาลปั จจุบน
                                                                                                  ั
                                                                    ชันที่ 3 (ภ.ป.ร.3)
                                                                      ้
                    5 พ.ค. 2503     -                               ทุตยจุลจอมเกล้ า (ท.จ.)
                                                                       ิ
                    5 ธ.ค. 2505     -                               ประถมาภรณ์มงกุฎไทย (ป.ม.)
                    4 ก.ค. 2511     สมาชิกวุฒิสภา
11

 5 พ.ค. 2512                                    - ทุติยจุลจอมเกล้ าพิเศษ
                                                (ท.จ.ว.)

 7 พ.ค. 2514    ศาสตราจารย์พิเศษ

16 ธ.ค. 2515    สมาชิกสภานิติบญญัตแห่งชาติ
                              ั   ิ
10 ธ.ค. 2514    สมาชิกสมัชชาแห่งชาติ
23 ธ.ค. 2516    สมาชิกสภานิติบญญัตแห่งชาติ
                              ั   ิ
28 ธ.ค. 2516    ประธานสภานิตบญญัตแห่งชาติ
                            ิ ั  ิ
 5 ธ.ค. 2517    -                               มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก
                                                (ม.ป.ช.)

12 มี.ค. 2518   นายกรัฐมนตรี

 5 พ.ค. 2518    -                               ปฐมจุลจอมเกล้ า (ป.จ.)

  6 ธ.ค. 2518   -                               มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)

  30 ธ.ค. 258   -                               เหรี ยญพิทกษ์เสรี ขนซันที่
                                                           ั          ้
                                                1 (ส.ช.ชัน 1 )
                                                         ้

 8 ม.ค. 2519    รัฐมนตรี วาการกระทรวงมหาดไทย
                          ่

29 ก.พ. 2519    นายกองใหญ่

        2528    ศิลปิ นแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์
27 พ.ค. 2530    -                               เหรี ยญดุษฎีมาลา เข็ม
                                                ศิลปวิทยา ร.ด.ม.(ศ.)
   ต.ค. 2530    -                               เหรี ยญรัตนาภรณ์ รัชกาล
                                                ปั จจุบนชันที่ 1 (ภ.ป.ร.1)
                                                       ั ้
26 ต.ค. 2531    พลตรี นายทหารพิเศษประจากรม
                ทหารราบที่ 1 มหาดเล็ก รักษา
                พระองค์
12

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ
     ได้รับเมื่อคราวตามเสด็จพระราชดาเนินเยือนต่างประเทศ พ.ศ.2503
     1. KING OF BELGIUM
           - Grand officer
     2. KINGDOM OF DENMARK
        The order of the Dannebrog
           - Commander 1st Degree
     3. REPUBLIC OF FRANCE
        The order of the BIack Star (Ordre de 1’Etoile Noir du Benin)
           - Commander with Star
     4. REPUBLIC OF ITALY
        The order of Merit (A1 Merito della Republica Italiana)
           - Grand officer
     5. GRAND DUCHY OF LUXEMBOURG
        The Civil and Military Order of Adolph of Nassau (Ordre du Merite Civil et Militaire d' Adolphe du Nassau)
           - Grand Officer
     6. MALAYSIA
          Darjah Yang Mucia Pangkuan Negara seri Maharaya Mangku Negara. (The Grand Knight of the Most
Distinguished Order of the Defender of the Realm.)
     7. KINGDOM OF THE NETHERLANDS
        The Order Orange-Nassau (De Ordre van Orange-Nassau)
           - Grand Cross
     8. KINGDOM OF NORWAY
        The Order of Saint Olaf (Sanct Olavs Orden)
           - Commander with Star
13
      9. KINGDOM OF SPAIN
          The civil order of Merit (order deI Merito Civil)
            - Grand Cross
      10. KINGDOM OF SWEDEN
          The Royal order of the Northern Star (Kunglige Nordstjarnneorden)
            - Commander 1st Class

      ผลงานด้ านวรรณศิลป์
      บทความ ข้อเขียน เรื่ องสั้น เรื่ องยาว เรื่ องแปล สารคดี บทปาฐกถา คาอภิปราย
       คาสนทนา ที่ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช เขียนหรื อพูดในวาระต่าง ๆ มานับเป็ นเวลาสิ บ ๆ ปี นั้น ได้มีผรวบรวมพิมพ์เป็ น
                                                                                                       ู้
หนังสื อเล่มไว้ท้ งหมดไม่นอยกว่า ๑๑๕ เล่ม บางเล่มได้รับการตีพิมพ์หลายครั้ง เช่น นวนิยายเรื่ อง สี่ แผ่นดิน ไผ่แดง หลาย
                  ั       ้
ชีวต ซูสีไทเฮา เป็ นต้น
   ิ
      หนังสื อเล่มแรกที่ได้รับการตีพิมพ์คือหนังสื อชื่ อ "บทความบางเรื่ อง" จัดพิมพ์โดยโรงพิมพ์เขษม เมื่อ ปี พ.ศ. ๒๔๙๗
เป็ นหนังสื อรวมบทความทางเศรษฐกิจ
   หนังสื อที่ได้รับการตีพิมพ์ในโอกาสฉลองอายุครบ ๗๔ ปี คือ "ชรากถา" จัดพิมพ์โดย โรงพิมพ์สยามรัฐ เมื่อปี พ.ศ.
๒๕๒๘
     รายชื่อหนังสื อประมาณ ๑๑๕ เล่มที่รวบรวมนาเสนอต่อไปนี้ได้จากการค้นคว้าในห้องสมุดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ห้องสมุดมหาวิทยาลัยรามคาแหง และห้องสมุดอื่น ๆ อีกบางแห่ง
      ๑. หนังสื อประเภทสังคม
          เมืองไทยกับคึกฤทธิ์ ปั จจุบนและอนาคตของสังคมไทย วัยรุ่ น การอภิปรายหน้าพระที่นง ข้อคิดเห็นทัวไปเกี่ยวกับ
                                     ั                                                  ั่            ่
ประชากร
      ๒. บทความและบทวิจารณ์
          คึกฤทธิ์ จากหน้า ๕ สยามรัฐ ๒๕๐๘ ๒๕๑๐ - ๒๕๑๖ และ ๒๕๑๘ บทความบางเรื่ อง ข้าวนอกนา คึกฤทธิ์ กบ
                                                                                                    ั
นักศึกษา เก็บเล็กผสมน้อย ตอบปั ญหาหัวใจ ปั ญหาประจาวัน โลกกับคน รวมนิ ราศตอนใหม่และบทวิจารณ์ พรหมปกรณ์กิจ
อนุสรณ์ ตอบปั ญหาประจาวัน
      ๓. ประเพณี และวัฒนธรรม
          ประเพณี การตาย ประเพณี การบวชและประเพณี การแต่งงาน พระราชพิธีถือน้ าพระพิพฒน์สัตยา วรรณคดีไทยกับ
                                                                                    ั
นาฏศิลป์ ไทย โครงกระดูกในตู้
      ๔. ประเภทเรื่ องแปล
14
          อากิตางากะ สิ วโนสุ เกะ ราโชมอน หรื อประตูผี จอนะธัน ลิฟวิงส์ตน นางนวล
                                                                        ั
     ๔. ประเภทการศึกษา
          ห้วงมหรรณพ การศึกษากับการสื บทอดและเสริ มสร้างวัฒนธรรม
     ๕. ประเภทศาสนา
          ปั ญหาเกี่ยวกับพุทธศาสนาเซ็นและนิกายวัชรยาน ญี่ปุ่น - พุทธศาสนา คึกฤทธิ์ กบพุทธศาสนา วิวาทะระหว่าง
                                                                                    ั
ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ กับท่านพุทธทาสภิกขุ พุทธศาสนากับสังคมไทย พระพุทธศาสนากับคึกฤทธิ์ ฯลฯ
     ๖. ประเภทประวัติศาสตร์
         กฤษฎาภินิหารอันบดบังมิได้ สังคมสมัยอยุธยา พม่าเสี ยเมือง พื้นฐานทางวัฒนธรรมไทย พระสาสนโสภณโบราณ
- อคติโบราณคดี
     ๗. ประเภทเศรษฐกิจ
          การธนาคารพาณิ ชย์ การอภิปรายเรื่ องเศรษฐกิจของไทย นิ ราศต่างแดน
     ๘. ประเภทสารคดี
          เมืองมายา ครอบจักรวาล โลกส่ วนตัวของผม รายละเอียดในการเสด็จพระราชดาเนินเยือนสหรัฐ ถกเขมร คึกฤทธิ์
ช่วย...ในโอกาสทาบุญฉลองครบ ๕ รอบของคุณธนิ ต อยูโพธิ์
                                                  ่
     ๙. ประเภทการเมือง
           มลายูรากริ ช เมืองในเมืองนอก ยิว รายงานประชาชนทางสถานีกระจายเสี ยงและโทรทัศน์ คนของโลก เขมร สี หนุ
ชวาซูการ์ โน ประมวลจากรายการเพื่อนนอนทางวิทยุ คึกฤทธิ์ กบสังคมเมืองไทย รู ้จกเพื่อนบ้าน ฉากญี่ปุ่น ถอดหัวโขน
                                                              ั                    ั
ประชาธิปไตยของชาวบ้าน ประชาธิปไตยเพื่อประชาชน ประชุมพงศาวดารประชาธิปไตย ปี ศาจการเมือง พระนคร
สถานการณ์รอบบ้านเรา สงครามผิว สงครามร้อน สงครามเย็น สัปดาห์จร อเมริ กาในเอเซียอาคเนย์ เมืองไทยในสังคมโลก
เรื่ องของโลกตะวันตก คึกฤทธิ์ ถกเมืองไทย คึกฤทธิ์ พด คึกฤทธิ์ วา คึกฤทธิ์ วจารณ์ เจ้าโลก การเมืองในปั จจุบนและอนาคต
                                                   ู            ่          ิ                              ั
ของสังคมไทย ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับกลุ่มประเทศคอมมูนิสต์
          คึกฤทธิ์ กบปั ญหาของไทยสมัยเลือกตั้งไม่เรี ยบร้อย โลกส่ วนตัวของคอมมูนิสต์ โลก ๔ ทวีป สงครามปาก สงคราม
                    ั
เวียดนาม โลกใหม่ สถานการณ์รอบบ้านเรา เพื่อนคุยวัฒนธรรมและกษัยธรรม ทรรศนะคึกฤทธิ์ ทุนนิยม สังคม
ประชาธิ ปไตย เบ้งเฮ็ก ฝรั่งศักดินา การบ้านสาคัญกว่าการเมือง ปาฐกถาของคึกฤทธิ์ ปาฐกถาสองเรื่ อง


     ๑๐. ประเภทนวนิยาย
          ซูสีไทเฮา สามก๊ก สี่ แผ่นดิน หลายชีวต สายฝน ไผ่แดง
                                              ิ
     ๑๑. ประเภทเรื่ องสั้น
          สวัสดีลมร้อน รวมเรื่ องสั้น เรื่ องของคนรักหมา คึกฤทธิ์ พอครัวหัวป่ าก์ หยดหนึ่งของทะเล
                                                                   ่
15
ตัวอย่างหนังสื อ
16
17
18
19
20

                                                      บรรณานุกรม

       ประพันธ์สาส์น.//"ประวัติ,"/ประวัตินกเขียน ชื่อ : ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช .// 12 กรกฎาคม 2554.//
                                          ั

<http://www.praphansarn.com/new/c_writer/detail.asp?ID=225> //12 กรกฎาคม 2554.

       วิกีพีเดียสารานุกรมเสรี .//"หม่อมหลวงคึกฤทธิ์ ปราโมช,"/ประวัติ .// 12 กรกฎาคม 2554.//

< http://th.wikipedia.org/wiki > //12 กรกฎาคม 2554.

       วิชาการ.คอม.//"ครู -อาจารย์,"/หม่อมหลวงคึกฤทธิ์ ปราโมช ปูชนียบุคคลท่านหนึ่งของไทย.// 12 กรกฎาคม
2554.// <http://www.vcharkarn.com/varticle/38568 > //12 กรกฎาคม 2554.

       Bombik.com//"Home,"/พาเที่ยวบ้าน ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช.// 12 กรกฎาคม2554.// <http://bombik.com/node/15/
> //12 กรกฎาคม 2554.

       Bombik.com//"ประตูสู่ธรรม,"/ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช.// 12 กรกฎาคม2554.// <http://www.dharma-
gateway.com/ubasok/ubasok_hist/ubasok-kukrit.htm > //12 กรกฎาคม 2554.

More Related Content

What's hot

รุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขรุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขKwandjit Boonmak
 
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรีJulPcc CR
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานNayapaporn Jirajanjarus
 
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยาJulPcc CR
 

What's hot (14)

พัฒนาการด้านเศรษฐกิจ
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจพัฒนาการด้านเศรษฐกิจ
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจ
 
รุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขรุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุข
 
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
 
08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี
 
อยุธยา
อยุธยาอยุธยา
อยุธยา
 
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
สมเด็จพระนารายณ์มหาราชสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
 
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
สมเด็จพระนารายณ์มหาราชสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยา
 
ความสัมพั...Pptx กลุ่ม 4
ความสัมพั...Pptx  กลุ่ม 4ความสัมพั...Pptx  กลุ่ม 4
ความสัมพั...Pptx กลุ่ม 4
 
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/4 เรื่องเศรษฐกิจสมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรมพัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
 

Similar to หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 รJulPcc CR
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 รJulPcc CR
 
บุคคลสำคัญ ป๋วย อึ้งภากรณ์
บุคคลสำคัญ ป๋วย อึ้งภากรณ์บุคคลสำคัญ ป๋วย อึ้งภากรณ์
บุคคลสำคัญ ป๋วย อึ้งภากรณ์SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7Nathathai
 
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.Nathathai
 
บุคคลสำคัญในบางกอก.
บุคคลสำคัญในบางกอก.บุคคลสำคัญในบางกอก.
บุคคลสำคัญในบางกอก.Nathathai
 
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่าพระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่าSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
บทบาทของพระมหากษัตริย์ต่อคงามมั่นคงและความเจริญรุ่งเรือง สมัยประชาธิปไตย
บทบาทของพระมหากษัตริย์ต่อคงามมั่นคงและความเจริญรุ่งเรือง สมัยประชาธิปไตยบทบาทของพระมหากษัตริย์ต่อคงามมั่นคงและความเจริญรุ่งเรือง สมัยประชาธิปไตย
บทบาทของพระมหากษัตริย์ต่อคงามมั่นคงและความเจริญรุ่งเรือง สมัยประชาธิปไตยNattha Ratchamool
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยfernbamoilsong
 
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)SAKANAN ANANTASOOK
 
พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จ
พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จพระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จ
พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จTeeraporn Pingkaew
 
นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง มนาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง มSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

Similar to หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช (20)

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
 
บุคคลสำคัญ ป๋วย อึ้งภากรณ์
บุคคลสำคัญ ป๋วย อึ้งภากรณ์บุคคลสำคัญ ป๋วย อึ้งภากรณ์
บุคคลสำคัญ ป๋วย อึ้งภากรณ์
 
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
 
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
 
บุคคลสำคัญในบางกอก.
บุคคลสำคัญในบางกอก.บุคคลสำคัญในบางกอก.
บุคคลสำคัญในบางกอก.
 
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่าพระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
 
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
 
บทบาทของพระมหากษัตริย์ต่อคงามมั่นคงและความเจริญรุ่งเรือง สมัยประชาธิปไตย
บทบาทของพระมหากษัตริย์ต่อคงามมั่นคงและความเจริญรุ่งเรือง สมัยประชาธิปไตยบทบาทของพระมหากษัตริย์ต่อคงามมั่นคงและความเจริญรุ่งเรือง สมัยประชาธิปไตย
บทบาทของพระมหากษัตริย์ต่อคงามมั่นคงและความเจริญรุ่งเรือง สมัยประชาธิปไตย
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
 
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
 
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
 
กลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนากลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนา
 
พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จ
พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จพระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จ
พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จ
 
นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง มนาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง ม
 
กุหลาบ สายประดิษฐ์
กุหลาบ สายประดิษฐ์กุหลาบ สายประดิษฐ์
กุหลาบ สายประดิษฐ์
 
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
 
เล่มเล็ก
เล่มเล็กเล่มเล็ก
เล่มเล็ก
 

More from Ning Rommanee

อารยธรรมจีน1
อารยธรรมจีน1อารยธรรมจีน1
อารยธรรมจีน1Ning Rommanee
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์Ning Rommanee
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์Ning Rommanee
 
อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกร
อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกรอาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกร
อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกรNing Rommanee
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์Ning Rommanee
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันNing Rommanee
 
เทรนเนอร์เครื่องสำอาง
เทรนเนอร์เครื่องสำอางเทรนเนอร์เครื่องสำอาง
เทรนเนอร์เครื่องสำอางNing Rommanee
 
อาชีพครีเอทีฟ
อาชีพครีเอทีฟอาชีพครีเอทีฟ
อาชีพครีเอทีฟNing Rommanee
 
อาชีพครีเอทีฟ
อาชีพครีเอทีฟอาชีพครีเอทีฟ
อาชีพครีเอทีฟNing Rommanee
 
อาชีพครีเอทีฟ
อาชีพครีเอทีฟอาชีพครีเอทีฟ
อาชีพครีเอทีฟNing Rommanee
 
นักแต่งเพลง
นักแต่งเพลงนักแต่งเพลง
นักแต่งเพลงNing Rommanee
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชNing Rommanee
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชNing Rommanee
 

More from Ning Rommanee (13)

อารยธรรมจีน1
อารยธรรมจีน1อารยธรรมจีน1
อารยธรรมจีน1
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกร
อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกรอาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกร
อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกร
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมัน
 
เทรนเนอร์เครื่องสำอาง
เทรนเนอร์เครื่องสำอางเทรนเนอร์เครื่องสำอาง
เทรนเนอร์เครื่องสำอาง
 
อาชีพครีเอทีฟ
อาชีพครีเอทีฟอาชีพครีเอทีฟ
อาชีพครีเอทีฟ
 
อาชีพครีเอทีฟ
อาชีพครีเอทีฟอาชีพครีเอทีฟ
อาชีพครีเอทีฟ
 
อาชีพครีเอทีฟ
อาชีพครีเอทีฟอาชีพครีเอทีฟ
อาชีพครีเอทีฟ
 
นักแต่งเพลง
นักแต่งเพลงนักแต่งเพลง
นักแต่งเพลง
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
 

หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช

  • 2. รายงาน เรื่อง หม่ อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช เสนอ คุณครู สฤษศักดิ์ ชิ้มเขมจารี จัดทาโดย นายทวีทรัพย์ จูมศิลป์ เลขที่ 1 นายปรัชญา ขจรนาค เลขที่ 2 นางสาวภัธราภรณ์ เหลาไชย เลขที่ 9 นางสาวรมณีย์ ไมตรีแพน เลขที่ 10 นางสาวอุบลวรรณา วะริวงศ์ เลขที่ 23 ชั้นมัธยมศึกษาปี ทื่ 5/1 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ร้ อยเอ็ด
  • 3. คานา รายงานนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของวิชาประวัติศาสตร์ ซ่ ึ งเกี่ยวกับประวัติบุคคลสาคัญของโลกคือ พลตรี หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชโดยจะมีประวัติและเรื่ องราวต่างๆของท่าน อาทิเช่น การศึกษา การทางาน งานด้าน การศึกษา เกียรติประวัติดานการศึกษาและศิลปวัฒนธรรม และผลงานอีกมากมาย ทั้งนี้เรื่ องราวประวัติของท่านมี ้ ความสาคัญมากจึงได้รับยกย่องป็ นบุคคลสาคัญของโลก ทางคณะผูจดทาจึงได้เล็งเห็นความสาคัญของท่านอย่างหาที่สุดมิได้ ้ั จึงได้จดทารายงานนี้ข้ ึนเป็ นแหล่งการศึกษาหาความรู ้เพิ่มเติมเกี่ยวกับประวัติของพลตรี หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช ทาง ั ผูจดทาหวังเป็ นอย่างสู งยิงว่ารายงานเล่มนี้คงจะเป็ นประโยชน์แก่ผที่สนใจไม่มากก็นอย ้ั ่ ู้ ้ หากผิดพลาดประการใดก็ขออภัย ณ โอกาสนี้ดวย ้ นายทวีทรัพย์ จูมศิลป์ และคณะ
  • 4. สารบัญ พลตรี หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช 1 การศึกษา 2 อุปสมบท 3 การทางานด้านการคลังและการธนาคาร 3 ลาออกจากธนาคารแห่งประเทศไทยเมื่อ พ.ศ.2489 4 การรับราชการทหาร 4 งานทางการเมือง 4 งานเขียนและงานหนังสื อพิมพ์ 6 งานด้านการศึกษา 7 เกียรติประวัติดานการศึกษาและศิลปวัฒนธรรม ้ 9 อสัญกรรม 10 ประวัติการรับราชการและเครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์ 10 เครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์ต่างประเทศ 12 ผลงานด้านวรรณศิลป์ 13 บรรณานุกรม 20
  • 5. 1 พลตรี หม่ อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช นายกรัฐมนตรี ไทย คนที่ 13 ดารงตาแหน่ง 14 มีนาคม พ.ศ. 2518 – 12 มกราคม พ.ศ. 2519 ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช เกิดเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 20 เมษายน พ.ศ.2454 ที่จงหวัดสิ งห์บุรี เป็ นโอรสคนสุ ดท้องของ พลโท ั พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคารบ กับ หม่อมแดง (บุนนาค) ปราโมช ณ อยุธยา มีพี่ร่วมบิดามารดาคือ ม.ร.ว.หญิง บุญรับ พินิจชนคดี ม.ร.ว.เสนีย ์ ปราโมช ม.ร.ว.หญิง อุไรวรรณ ปราโมช ม.ร.ว.ถ้วนเท่านึก ปราโมช สมรสกับ ม.ร.ว.หญิง พักตร์ พริ้ ง ทองใหญ่ เมื่อ พ.ค.2479 มีบุตรธิ ดา 2 คน คือ ม.ล.รองฤทธิ์ ปราโมช ม.ล.หญิง วิสุมิตรา ปราโมช
  • 6. 2 ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช พักอยูที่บานในซอยพระพินิจ ซึ่ งเป็ นซอยย่อยอยูในซอยสวนพลู ถนนสาทรใต้ เขต ่ ้ ่ สาทร บ้านหลังนี้เป็ นที่รู้จกกันในชื่อว่า "บ้านซอยสวนพลู" ั การศึกษา เริ่ มต้นเรี ยนหนังสื อที่บานกับ ม.ร.ว.บุญรับ พี่สาวใหญ่จนอ่านหนังสื อไทยออกเมื่ออายุ 4 ขวบ ้ เมื่อ พ.ศ.2458 ได้เข้าเรี ยนการศึกษาภาคบังคับที่โรงเรี ยนวัฒนา (โรงเรี ยนวังหลัง) และต่อมาได้เข้าเรี ยนต่อที่โรงเรี ยน สวนกุหลาบ ตั้งแต่ช้ นมัธยมปี ที่ 1 จนมัธยมปี ที่ 8 แต่ก่อนจบมัธยมปี ที่ 8 ได้ออกไปศึกษาต่อที่ประเทศอังกฤษ ั ที่องกฤษได้เข้าศึกษาระดับมัธยมที่วทยาลัยเทรนท์ (Trent College ซึ่งเป็ นโรงเรี ยนประเภทพับลิคสกูล) เป็ นเวลา 5 ปี จึง ั ิ ไปเรี ยนต่อที่ ควีนส์ คอลเลจ (Queen's College) มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ ด ได้รับปริ ญญาตรี เกียรตินิยม (B.A.Honours) ใน สาขาปรัชญา การเมือง และเศรษฐศาสตร์ (ที่เรี ยกว่า Modern Greats คือ Philosophy, Politics and Economics หรื อเรี ยกโดยย่อ ว่า P.P.E) และกลับประเทศไทยเมื่อปี พ.ศ. 2476 (เมื่อปี พ.ศ.2525 ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช ไปเยือนประเทศอังกฤษ และได้ไปขอรับปริ ญญาโทจากมหาวิทยาลัย ออกซฟอร์ ดตามธรรมเนียมการศึกษาของมหาวิทยาลัยนั้น ซึ่ งถือว่าผูที่ได้รับปริ ญญาตรี เกียรตินิยมจะได้รับปริ ญญา ้ โท M.A.Oxon หลังจาก 3 ปี )
  • 7. 3 อุปสมบท ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมชได้อุปสมบทถวายพระราขกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวอานันทมหิ ดล เมื่อเดือนเมษายน ่ ั พ.ศ.2493 ที่วดบวรนิเวศวิหาร โดยมีสมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์เป็ นองค์อุปัชฌาย์ และลาสิ กขาบท ั ่ ั ่ หลังจากถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวอานันทมหิ ดล รวมเวลาอยูในสมณเพศ 50 วัน การทางานด้ านการคลังและการธนาคาร เมื่อกลับจากการศึกYในประเทศอังกฤษเมื่อ พ.ศ.2476 ได้เข้ารับราชการเป็ นครั้งแรกที่กองภาษีประเมินกรมสรรพากร กระทรวงการคลังซึ่งมีพระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าวิวฒนไชย ทรงเป็ นอธิบดี ั ่ ในระหว่างที่รับราชการอยูที่กระทรวงการคลัง ได้เป็ นเลขานุการของนายเจมส์ แบกซ์เตอร์ (James Baxter) ที่ปรึ กษา ่ กระทรวงการคลังอยูในช่วงสั้น และกลับมารับราชการที่กรมสรรพากรเมื่อนายแบกซ์เตอร์ ลากลับประเทศอังกฤษ เมื่อ พ.ศ. 2478 พระยาไชยยศสมบัติ อธิ บดีกรมบัญชีกลาง ซึ่ งดารงตาแหน่งเป็ นประธานกรรมการธนาคารสยามกัมมา จลทุนจากัด (ธนาคารไทยพาณิ ชย์จากัด ในปั จจุบน) ได้ชกชวนให้ไปทางานธนาคาร จึงลาออกจากราชการไปดารงตาแหน่ง ั ั ผูช่วยสมุห์บญชีที่สานักงานกลางของธนาคารสยามกัมมาจล ถนนทรงวาด และต่อมาได้ยายไปเป็ นผูจดการธนาคารสยามกัม ้ ั ้ ้ั มาจล สาขาลาปาง เป็ นเวลา 8 ปี เป็ นผูจดการที่เป็ นคนไทยเป็ นคนแรกต่อจากผูจดการชาวอังกฤษ งานที่สาคัญงานหนึ่งคือ ้ั ้ั หาทางให้คนไทยหันมาใช้เงินบาทไทยแทนเงินรู ปีของพม่า ซึ่ งเคยเป็ นที่นิยมกันในหมู่คนไทยทางภาคเหนื อ ้่ เมื่อปี พ.ศ. 2486 พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าวิวฒนไชย ซึ่ งในขณะนั้นดารงตาแหน่งผูวาการธนาคารแห่งประเทศไทย ั ได้ขอตัว ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช จากธนาคารสยามกัมมาจล มาทางานในตาแหน่งหัวหน้าฝ่ ายสานักผูวาการธนาคารแห่ง ้่ ประเทศไทย โดยรับผิดชอบงานทุกอย่างที่ผวาการมอบหมายให้ ตั้งแต่ร่างกฎหมายให้คาปรึ กษาเรื่ องกฎหมายเกี่ยวกับ ู้ ่ กระทรวงการคลัง การพิมพ์ธนบัตร และการวางระบบต่าง ๆ งานชิ้นสาคัญที่ธนาคารแห่งประเทศไทยคือการริ เริ่ มพัฒนาระบบการธนาคารของไทยให้ทนสมัยและรวดเร็ ว ั โดยเฉพาะระบบการเคลียร์เช็ค (cheque clearing) ได้ใช้ให้ระบบการหักบัญขีระหว่างธนาคารตามพระราขกฤษฎีการกิจการ ธนาคารแห่งประเทศไทย พ.ศ.2485 จัดตั้งศูนย์กลางการหักบัญชีหนี้สินของแต่ละธนาคารที่ได้รับเช็คของกันและกัน ผลงานที่สาคัญอีกเรื่ องหนึ่งก็คือ บทบาทในการขัดขวางมิให้รัฐบาลในสมัยจอบพล ป.พิบูลสงคราม นา ธนบัตร “ดอลลาร์ไทย” ที่ทางรัฐบาลสั่งให้ธนาคารแห่งประเทศไทยจัดพิมพ์ เพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนธนบัตรระหว่าง สงคราม ออกมาจาหน่ายแก่ประชาชนตามที่ต้ งใจไว้ และบทบาทในการออกพระราชบัญญัติควบคุมเครดิตเพื่อป้ องกันภาวะ ั เงินเฟ้ ออันเนื่ องมาจากภาวะสงคราม และการใช้มาตรการจาหน่ายพันธบัตรทองคาเพื่อแก้ภาวะเงินเฟ้ อและรักษาค่าเงินบาท
  • 8. 4 ลาออกจากธนาคารแห่ งประเทศไทยเมื่อ พ.ศ.2489 ในระยะปลายสงครามโลกครั้งที่สอง และหลังสงครามโลกใหม่ ๆ ประเทศไทยมีธนาคารพาณิ ชย์เอกชนเกิดขึ้นหลาย ธนาคาร ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ มีบทบาทในการก่อตั้งธนาคารใหม่ 2 ธนาคารคือ ธนาคารกรุ งเทพฯพาณิ ชย์การ เมื่อ พ.ศ.2487 ใน ฐานะญาติของผูก่อตั้งและรับตาแหน่งรองประธานกรรมการ (พ.ศ. 2513-2524) โดยมี ม.ร.ว.หญิงบุญรับ พินิจชนคดีซ่ ึงเป็ น ้ พี่สาวดารงตาแหน่งประธานกรรมการ จนเมื่อ ม.ร.ว.หญิงบุญรับถึงแก่กรรม ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ จึงได้ดารงตาแหน่งประธาน กรรมการมาจนถึงแก่อสัญกรรม (พ.ศ. 2524-2538) ในปี พ.ศ.2491 มีส่วนร่ วมก่อตั้งธนาคารแหลมทองในฐานะที่คุนเคยกับกลุ่ม “นันทาภิวฒน์” ผูก่อตั้งในช่วงแรก ้ ั ้ การรับราชการทหาร ในระหว่างที่ทางานธนาคารสยามกัมมาจลสาขาลาปาง ถูกเกณฑ์ทหาร 2 ครั้งในระหว่างสงครามอินโดจีนและสงคราม มหาอาเชียบูรพา (พ.ศ. 2483-2484) เข้าร่ วมกองทัพไทยที่ไปตีเมืองเชียงตุง ได้รับพระราชทานยศสิ บตรี ในปี พ.ศ. 2531 ได้รับพระราชทานเลื่อนยศเป็ นพลตรี นายทหารพิเศษประจากรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษา พระองค์ งานทางการเมือง · เป็ นผูริเริ่ มตั้งพรรคการเมืองพรรคแรกในเมืองไทย โดยร่ วมกับเพื่อนๆ คือ นายสุ วชช พันธเศรษูฐ นายสอ เศรษฐ ้ ิ บุตร พระยาสุ รพันธเสนี ดร.โชติ คุมพันธุ์ และ ม.ร.ว.นิมิตมงคล นวรัตน์ จัดตั้งพรรคการเมืองชื่ อว่าพรรคก้าวหน้าเมื่อ พ.ศ. ้ 2488
  • 9. ได้รับเลือกเป็ นสมาชิกผูแทนราษฎรครั้งแรกในจังหวัดพระนคร เขต 3 ในการเลือกตั้งทัวไปเมื่อวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. ้ ่ 2489 · เป็ นกรรมาธิ การวิสามัญพิจารณาแก้ไขรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2489 (เป็ นงานชิ้นแรกในฐานะ สมาชิกสภาผูแทนราษฎร) ้ · เป็ นผูริเริ่ มและจัดตั้งพรรคประชาธิ ปัตย์ โดยยุบพรรคก้าวหน้ามารวมเป็ นพรรคการเมืองใหญ่ในปี พ.ศ.2490 โดยมี ้ นายควง อภัยวงศ์เป็ นหัวหน้าพรรค ม.ร.ว.เสนีย ์ ปราโมช เป็ นรองหัวหน้าพรรค และม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช เป็ นเลขาธิ การ พรรค · ดารงตาแหน่งรัฐมนตรี ในคณะรัฐบาลชุดนายควง อภัยวงศ์ (10 พฤศจิกายน 2490 ถึง 6 กุมภาพันธ์ 2491 ) · ได้รับเลือกตั้งเป็ นสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดพระนคร สังกัดพรรคประชาธิ ปัตย์ ในการเลือกตั้งทัวไปเมื่อ ้ ่ วันที่ 29 มกราคม พ.ศ.2491 · ดารงดาแหน่งรัฐมนตรี ช่วยราชการกระทรวงการคลัง ในคณะรัฐบาลชุดนายควง อภัยวงศ์ (2 กุมภาพันธ์ 2491 ถึง 8 ่ เมษายน 2491 ) โดยมีพระองค์เจ้าวิวฒนไชย เป็ นรัฐมนตรี วาการกระทรวงการคลัง ั · รัฐบาลชุดนายควง อภัยวงศ์ ถูกคณะรัฐประหารบังคับให้ลาออกและได้นาจอมพล ป.พิบูลสงครามขึ้นเป็ น นายกรัฐมนตรี แทนเมื่อ 8 เมษายน 2491 พรรคประชาธิปัตย์ จึงเป็ นฝ่ ายค้านในสภา · ลาออกจากสมาชิกภาพของสภาผูแทนราษฎรเมื่อวันที่ 16 กันยายน 2491 เหตุเพราะไม่เห็นด้วยกับการขึ้นเงินเดือน ้ สมาชิกสภาผูแทนราษฎร ้ · เป็ นรัฐมนตรี ช่วยว่าการกระทรวงพาณิ ชย์ เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2491 ในคณะรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงคราม และลาออกเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2492 · เป็ นสมาชิกสภาร่ างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2502-2511 · เป็ นสมาชิกสมัชชาแห่งชาติ พ.ศ. 2516 · เป็ นประธานสภานิ ติบญญัติแห่งชาติ พ.ศ. 2516-2517 (ลาออกจากตาแหน่งประธานสภาเมื่อ 10 ตุลาคม 2517) ั · เป็ นผูจดตั้งและดารงตาแหน่งหัวหน้าพรรคกิจสังคมเมื่อปี พ.ศ. 2517 มีนายบุญชู โรจนเสถียร เป็ นเลขาธิ การพรรค ้ั คนแรก · ลงสมัครรับเลือกตั้งในการเลือกตั้งทัวไปเมื่อ 26 มกราคม 2518 โดยได้รับเลือกตั้งเป็ นสมาชิกสภาผูแทนราษฎรเขต ่ ้ 1 (ดุสิต) · ดารงตาแหน่งเป็ นนายกรัฐมนตรี ตั้งแต่วนที่ 12 มีนาคม 2518 ประกาศยุบสภา เมื่อวันที่ 12 มกราคม 2519 และ ั รักษาการในตาแหน่งนายกรัฐมนตรี จนถึงวันที่ 4 เมษายน 2519 · ในคราวเลือกตั้งทัวไป 4 เมษายน 2519 สมัครรับเลือกตั้งในเขต 1 (ดุสิต) แต่ไม่ได้รับการเลือกตั้ง ่ · ดารงตาแหน่งกรรมาธิ การร่ างรัฐธรรมนูญหลังการปฏิวติ 20 ตุลาคม 2520 ั
  • 10. ได้รับเลือกตั้งเป็ นสมาชิกผูแทนราษฎร เขต 2 สัมพันธวงศ์ บางรัก พระนคร) ในการเลือกตั้งทัวไป เมื่อวันที่ 22 ้ ่ เมษายน พ.ศ. 2522 · ได้รับเลือกตั้งเป็ นสมาชิกสภาผูแทนราษฎรเขต 2 (สัมพันธวงศ์ บางรัก พระนคร และคลองสาน) ในการเลือกตั้ง ้ ทัวไปเมื่อวันที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2526 ่ · วันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2529 ลาออกจากตาแหน่งหัวหน้าพรรคกิจสังคม และไม่ได้ลงสมัครรับเลือกตั้ง เป็ นการยุติ บทบาททางการเมือง ในฐานะสมาชิกสภาผูแทนราษฎรนับแต่น้ นมา ้ ั · เมื่อวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2533 ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช ได้กลับเข้ามาดารงตาแหน่งหัวหน้าพรรคกิจสังคมอีก ชัวคราว และลาออกจากตาแหน่งหัวหน้าพรรคเป็ นการถาวร เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2534 ่ งานเขียนและงานหนังสื อพิมพ์ งานเขียนที่ได้รับการพิมพ์เผยแพร่ เป็ นครั้งแรกเริ่ มตั้งแต่ศึกษาอยู่ ณ ประเทศอังกฤษ โดยเป็ นบรรณาธิ การ หนังสื อ “สามัคคีสาร” ของนักเรี ยนไทยในประเทศอังกฤษ ต่อมาเมื่อกลับเมืองไทยแล้ว ได้เขียนบทความภาษาอังกฤษลงในหนังสื อพิมพ์ลิเบอร์ ต้ ี (Liberty) ซึ่งเป็ นหนังสื อใน เครื อศรี กรุ งและไทยราษฎร์ พ.ศ. 2487 มีนายสอ เศรษฐบุตร (หลวงมหาสิ ทธิโวหาร) เป็ นบรรณาธิการและแปลเป็ นภาคไทย ลงในหนังสื อพิมพ์ศรี กรุ ง ซึ่ งนายสละ ลิขิตกุล เป็ นผูช่วยบรรณาธิ การ และต่อมาได้เขียนบทความภาษาไทยลงใน ้ หนังสื อพิมพ์ศรี กรุ งด้วย ในปี พ.ศ. 2489 เขียนบทความลงในหนังสื อพิมพ์เกียรติศกดิ์ ตามคาขอของนายสละ ลิขิตกุล บรรณาธิ การในขณะนั้น ั ชีวตของการเป็ นนักเขียน นักหนังสื อพิมพ์เริ่ มขึ้นอย่างจริ งจัง เมื่อได้ก่อตั้งหนังสื อพิมพ์สยามรัฐ เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน ิ พ.ศ. 2493 มีนายสละ ลิขิตกุล เป็ นบรรณาธิ การ โดยมี ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช เป็ นทั้งเจ้าของ ผูอานวยการ และนักเขียน ้ ประจา งานเขียนมีท้ ง นวนิยาย บทความ รวมทั้งบทบรรณาธิ การด้วย ั
  • 11. 7 งานด้ านการศึกษา · เริ่ มชีวิตการเป็ นอาจารย์ครั้งแรกที่มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์ และการเมือง ระหว่างปี พ.ศ. 2484-2485 เป็ นอาจารย์ พิเศษสอนวิชาการธนาคารและเครดิตสถาน ในระดับปริ ญญาโททางเศรษฐศาสตร์ และสอนวิชาบัญชีและธนาคาร ในระดับ ประกาศนียบัตรชั้นสู งทางการบัญชี · เริ่ มสอนที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยครั้งแรกในปี พ.ศ.2487 โดยสอนวิชาเศรษฐศาสตร์ ที่คณะพาณิ ชยศาสตร์และการ บัญชี และได้สอนสื บต่อมาเป็ นเวลานานกว่าสิ บปี · ปี พ.ศ.2491 ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมชในูฐานะสมาขิกสภาพผูแทนราษฎรได้มีบทบาทร่ วมกับหลวงอังคณานุ รักษ์และ ้ นายใหญ่ ศวิตขาติ ในการเสนอพระราชบัญญัติจดตั้งคณะรัฐศาสตร์ ข้ ึน ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และได้รับเชิญเป็ นอาจารย์ ั พิเศษเมื่อคณะรัฐศาสตร์ เริ่ มเปิ ดการเรี ยนการสอนคือ ปี พ.ค.2491 -2492 โดยสอนวิชาเศรษฐศาสตร์ นอกจาการสอนตามที่ หลักสู ตรกาหนด ยังได้เสริ มความรู ้นอกหลักสู ตรให้แก่นิสิตทั้งทางด้านประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ปรัชญาและการเมืองไทย · เมื่อมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้จดตั้งคณะศิลปศาสตร์ ข้ ึนในปี พ.ศ.2504 ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช มีบทบาทในการ ั ช่วยคณาจารย์ของคณะศิลปศาสตร์ ชี้แจงทาความเข้าใจทั้งกับนักศึกษาและต่อสาธารณชน ผ่านหนังสื อพิมพ์สยามรัฐ ถึง คุณค่าของการศึกษาวิชาความรู ้ทวไป (Liberal Arts) ก่อนเข้าสู่ การศึกษาทางวิชาชีพ และได้รับหน้าที่ลอนในูฐานะอาจารย์ ั่ พิเศษในหลักสู ตรวิชาพื้นฐานของคณะศิลปศาสตร์ เป็ นครั้งคราว นับแต่แรกที่เปิ ดการเรี ยนการสอนในปี พ.ศ.2505 เป็ นต้นมา โดยเป็ นผูสอนในวิชาศาสนาเปรี ยบเทียบ วิชาปรัชญาและวิชาวัฒนธรรมไทย ้ · ปี พ.ศ.2513 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้มีการปรับปรุ งหลักสู ตรวิชาพื้นฐาน พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิป พงศ์ประพันธ์ อธิ การบดีได้ประทานคาแนะนาแก่คณะกรรมการปรับปรุ งหลักสู ตรว่า ในการปรับปรุ งขอให้คานึงถึงการนา เรื่ องของไทยมาประยุกต์ให้มากขึ้น จึงเกิดมีวชาพื้นฐานอารยธรรมไทย ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช มาเป็ นผูวางหลักสู ตร และ ิ ้ วางแผนการสอน โดยแบ่งการสอนเป็ นส่ วน ๆ มีอาจารย์หลายคนร่ วมรับผิดชอบ รวมทั้งได้นิมนต์พระสาลนโสภณเจ้าอาวาส วัดบวรนิเวศ ปั จจุบนคือสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช มาสอนเรื่ องพุทธศาสนา ั หลักสู ตรวิชาพื้นฐานและวิชาพื้นฐานอารยธรรมไทยได้กลายเป็ นต้นแบบที่มหาวิทยาลัยอื่น ก็ได้นาไปปรับปรุ งการ เรี ยนการสอน จนในที่สุดทบวงมหาวิทยาลัยได้กาหนดเป็ นนโยบายให้ทุกมหาวิทยาลัยมีหลักสู ตรวิชาพื้นฐานรวมกันอย่าง น้อย 30 หน่วยกิต พร้อม ๆ กับการสอนวิชาอารยธรรมไทย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้ดาริ จดตั้งโครงการไทยคดีศึกษาขึ้น ตามพระ ั ดาริ ของพระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิ ปพงศ์ประพันธ์ อธิ การบดี ซึ่ งได้ทรงมอบหมายให้ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช มาทา หน้าที่ประธานคณะกรรมการบริ หารโครงการไทยคดีศึกษา ในปี พ.ศ.2514 รับผิดชอบในการกาหนดนโยบาย ทั้งในด้านการ บริ หารและการศึกษาวิจย การจัดสัมมนาทางวิชาการ สัมมนาสาธิตนาฏศิลป์ และดนตรี รวมถึงการจัดแสดงโขนธรรมศาสตร์ ั และได้มีบทบาทสาคัญในการจัดตั้งโครงการไทยคดีศึกษา ขึ้นเป็ นสถาบันไทยคดีศึกษา · ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช ดารงตาแหน่งประธานคณะกรรมการสถาบันไทยคดีศึกษาสื บต่อมาจนถึงวันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ.2518 จึงได้ขอลาออก เพื่อไปดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี
  • 12. 8 นอกจากที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยแล้ว ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช ยังได้รับเชิ ญเป็ น อาจารย์พิเศษ และผูบรรยายพิเศษในสถาบันอุดมศึกษา รวมทั้งวิทยาลัยนาฏศิลป์ ทัวประเทศในหัวข้อที่หลากหลาย : ปรัชญา ้ ่ การเมือง เศรษฐกิจ ดนตรี นาฏศิลป์ และวัฒนธรรมไทยแขนงอื่น · เมื่อ พ.ศ.2516 ได้รับพระราชเสาวณี ยจากสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชิ นีนาถให้ถวายการสอนเป็ นการส่ วน พระองค์แก่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี ซึ่ งทรงเข้าเรี ยนในชั้นปี ที่ 1 คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย งานด้านศิลปวัฒนธรรมไทย ่ ั · พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวทรงพระมหากรุ ณาทรงครอบครู พระพิราพแก่ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช ด้วยพระองค์เองในพิธีไหว้ครู และพิธีครอบโขนละคอนที่จด ั ขึ้น ณ พระที่นงวิมานเมฆ พระราชวังดุสิต เมื่อ พ.ค.2506 ั่ · อัจฉริ ยภาพทางด้านศิลปะของ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช ปรากฏในงานเขียนซึ่ง มีท้ งงานประพันธ์และงานวิจารณ์ งานแสดงนาฏศิลป์ ทั้งโดยตนเอง และโดยการ ั ส่ งเสริ มนาฏศิลปและดนตรี ประเภทต่าง ๆ ตั้งแต่นาฏศิลป์ ระดับสู ง คือ โขน ละคร ไป จนถึงศิลปะพื้นบ้าน เช่น การเล่นสักวา เพลงเรื อ เพลงฉ่อย งานส่ งเสริ มและอนุ รักษ์ ศิลปะและดนตรี ไทย ที่สาคัญที่สุดคือการจัดตั้ง “โขนธรรมศาสตร์ ” ขึ้นเมื่อ พ.ศ.2509 เพื่ออบรมให้เยาวชนไทยเข้าใจถึงเรื่ องของโขน ซึ่ งถือว่าเป็ นนาฏศิลป์ สู งสุ ดของไทย · ได้รับการยกย่องเป็ นศิลปิ นแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจาปี พ.ศ.2528
  • 13. 9 เกียรติประวัติด้านการศึกษาและศิลปวัฒนธรรม 25 ตุลาคม พ.ศ.2505 ได้รับพระราชทานปริ ญญาวารสารศาสตร์ ดุษฎีบณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ั พ.ศ.2514 ได้รับพระราชทานตาแหน่งศาสตราจารย์พิเศษ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 14 กรกฎาคม พ.ศ.2520 ได้รับพระราชทานปริ ญญาพาณิ ชยศาสตร์ ดุษฎีบณฑิตกิตติมศักดิ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ั 24 มกราคม พ.ศ.2522 ได้รับพระราชทานปริ ญญาศิลปศาสตร์ ดุษฎีบณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาปรัชญา ั มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 31 ตุลาคม พ.ศ.2528 ได้รับพระราชทานปริ ญญารัฐศาสตร์ ดุษฎีบณฑิตกิตติมศักดิ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ั 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2529 ได้รับพระราชทานเครื่ องหมายเชิ ดชูเกียรติ ศิลปิ นแห่งชาติ สาขาวรรณกรรมประจาปี พ.ศ. 2528 สานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ 11 พฤศจิกายน พ.ศ.2531 ได้รับพระราชทานพระเกี้ยวทองคาในฐานะผูมีผลงานดีเด่นทางด้านส่ งเสริ มภาษาไทย ้ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 16 ธันวาคม พ.ศ.2536 ได้รับพระราชทานปริ ญญาศิลปศาสตร์ ดุษฎีบณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ั 1 ธันวาคม พ.ศ.2537 ได้รับปริ ญญาเทคโนโลยีดุษฎีบณฑิตกิตติมศักดิ์ สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย ั อื่น ๆ · นายกกรรมการบริ หารช่วยนักเรี ยนที่ขาดแคลนในพระบรมราชิ นูปถัมภ์ ตั้งแต่ พ.ศ.2504-2530 · ประธานกรรมการอานวยการหอพักรัชดาภิเษก มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ.2514-2518 · ประธานกรรมการบริ ษทอุตสาหกรรมวิวฒน์ ั ั · ประธานกรรมการบริ ษทภูมิภวัน ั · ประธานกรรมการบริ ษทเงินทุนหลักทรัพย์ ไทยฟูจิ จากัด ั · ประธานกรรมการบริ ษทพรอพเพอร์ ต้ ี แคร์ เซอร์ วสเซส ั ิ
  • 14. 10 อสั ญกรรม การเจ็บป่ วยปรากฏเป็ นครั้งคราวนับแต่ปี พ.ศ.2525 เดินทางไปรับการตรวจและรักษาที่ประเทศสหรัฐอเมริ กา แพทย์ ต้องผ่าตัดแคลเซี ยมเกาะกระดูกไขสันหลัง จากนั้นต้องเข้ารับการตรวจสุ ขภาพเป็ นระยะ ๆ ด้วยโรคประจาตัวคือ เบาหวาน ในปี พ.ศ.2530 เข้ารับการผ่าตัดเส้นหลอดเลือดเลี้ยงหัวใจที่ประเทศ สหรัฐอเมริ กา ใช้เวลาในการรักษานานเดือนเศษ นับแต่น้ นมาอาการเจ็บป่ วยจากโรคเดิม และโรคแทรกซ้อนปรากฏ ั เป็ นระยะ ๆ จนกระทัง ครั้งหลังสุ ดเมื่อวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ.2538 ต้องเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลสมิติเวช ด้วยระบบการ ่ ทางานของอวัยวะภายในเสื่ อม และถึงแก่อสัญกรรมอย่างสงบด้วยโรคชรา เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2538 เวลา 10.58 น. สิ ริ อายุได้ 84 ปี 5 เดือน 20 วัน ต่อมาในปี พ.ศ. 2550 กระทรวงวัฒนธรรมได้เสนอชื่ อให้ท่านเป็ น บุคคลสาคัญของโลก กับ ทาง ยูเนสโก ประวัติการรับราชการและเครื่องราชอิสริยาภรณ์ วัน เดือน ปี ยศ ตาแหน่ง เครื่ องราชอิสริยาภรณ์ 11 พ.ย. 2490 รัฐมนตรี 25 ก.พ. 2491 รัฐมนตรี ชวยราชการ ่ กระทรวงการคลัง 30 พ.ย. 2491 รัฐมนตรี ชวยว่าการกระทรวง ่ พาณิชย์ 1 ม.ค. 2492 ลาออกจากรัฐมนตรี 3 ก.พ. 2502 สมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ 20 มิ.ย. 5511 16 ต.ค. 2502 - เหรี ยญรัตนาภรณ์ รัชกาลปั จจุบน ั ชันที่ 3 (ภ.ป.ร.3) ้ 5 พ.ค. 2503 - ทุตยจุลจอมเกล้ า (ท.จ.) ิ 5 ธ.ค. 2505 - ประถมาภรณ์มงกุฎไทย (ป.ม.) 4 ก.ค. 2511 สมาชิกวุฒิสภา
  • 15. 11 5 พ.ค. 2512 - ทุติยจุลจอมเกล้ าพิเศษ (ท.จ.ว.) 7 พ.ค. 2514 ศาสตราจารย์พิเศษ 16 ธ.ค. 2515 สมาชิกสภานิติบญญัตแห่งชาติ ั ิ 10 ธ.ค. 2514 สมาชิกสมัชชาแห่งชาติ 23 ธ.ค. 2516 สมาชิกสภานิติบญญัตแห่งชาติ ั ิ 28 ธ.ค. 2516 ประธานสภานิตบญญัตแห่งชาติ ิ ั ิ 5 ธ.ค. 2517 - มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) 12 มี.ค. 2518 นายกรัฐมนตรี 5 พ.ค. 2518 - ปฐมจุลจอมเกล้ า (ป.จ.) 6 ธ.ค. 2518 - มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) 30 ธ.ค. 258 - เหรี ยญพิทกษ์เสรี ขนซันที่ ั ้ 1 (ส.ช.ชัน 1 ) ้ 8 ม.ค. 2519 รัฐมนตรี วาการกระทรวงมหาดไทย ่ 29 ก.พ. 2519 นายกองใหญ่ 2528 ศิลปิ นแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ 27 พ.ค. 2530 - เหรี ยญดุษฎีมาลา เข็ม ศิลปวิทยา ร.ด.ม.(ศ.) ต.ค. 2530 - เหรี ยญรัตนาภรณ์ รัชกาล ปั จจุบนชันที่ 1 (ภ.ป.ร.1) ั ้ 26 ต.ค. 2531 พลตรี นายทหารพิเศษประจากรม ทหารราบที่ 1 มหาดเล็ก รักษา พระองค์
  • 16. 12 เครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ ได้รับเมื่อคราวตามเสด็จพระราชดาเนินเยือนต่างประเทศ พ.ศ.2503 1. KING OF BELGIUM - Grand officer 2. KINGDOM OF DENMARK The order of the Dannebrog - Commander 1st Degree 3. REPUBLIC OF FRANCE The order of the BIack Star (Ordre de 1’Etoile Noir du Benin) - Commander with Star 4. REPUBLIC OF ITALY The order of Merit (A1 Merito della Republica Italiana) - Grand officer 5. GRAND DUCHY OF LUXEMBOURG The Civil and Military Order of Adolph of Nassau (Ordre du Merite Civil et Militaire d' Adolphe du Nassau) - Grand Officer 6. MALAYSIA Darjah Yang Mucia Pangkuan Negara seri Maharaya Mangku Negara. (The Grand Knight of the Most Distinguished Order of the Defender of the Realm.) 7. KINGDOM OF THE NETHERLANDS The Order Orange-Nassau (De Ordre van Orange-Nassau) - Grand Cross 8. KINGDOM OF NORWAY The Order of Saint Olaf (Sanct Olavs Orden) - Commander with Star
  • 17. 13 9. KINGDOM OF SPAIN The civil order of Merit (order deI Merito Civil) - Grand Cross 10. KINGDOM OF SWEDEN The Royal order of the Northern Star (Kunglige Nordstjarnneorden) - Commander 1st Class ผลงานด้ านวรรณศิลป์ บทความ ข้อเขียน เรื่ องสั้น เรื่ องยาว เรื่ องแปล สารคดี บทปาฐกถา คาอภิปราย คาสนทนา ที่ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช เขียนหรื อพูดในวาระต่าง ๆ มานับเป็ นเวลาสิ บ ๆ ปี นั้น ได้มีผรวบรวมพิมพ์เป็ น ู้ หนังสื อเล่มไว้ท้ งหมดไม่นอยกว่า ๑๑๕ เล่ม บางเล่มได้รับการตีพิมพ์หลายครั้ง เช่น นวนิยายเรื่ อง สี่ แผ่นดิน ไผ่แดง หลาย ั ้ ชีวต ซูสีไทเฮา เป็ นต้น ิ หนังสื อเล่มแรกที่ได้รับการตีพิมพ์คือหนังสื อชื่ อ "บทความบางเรื่ อง" จัดพิมพ์โดยโรงพิมพ์เขษม เมื่อ ปี พ.ศ. ๒๔๙๗ เป็ นหนังสื อรวมบทความทางเศรษฐกิจ หนังสื อที่ได้รับการตีพิมพ์ในโอกาสฉลองอายุครบ ๗๔ ปี คือ "ชรากถา" จัดพิมพ์โดย โรงพิมพ์สยามรัฐ เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๒๘ รายชื่อหนังสื อประมาณ ๑๑๕ เล่มที่รวบรวมนาเสนอต่อไปนี้ได้จากการค้นคว้าในห้องสมุดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ห้องสมุดมหาวิทยาลัยรามคาแหง และห้องสมุดอื่น ๆ อีกบางแห่ง ๑. หนังสื อประเภทสังคม เมืองไทยกับคึกฤทธิ์ ปั จจุบนและอนาคตของสังคมไทย วัยรุ่ น การอภิปรายหน้าพระที่นง ข้อคิดเห็นทัวไปเกี่ยวกับ ั ั่ ่ ประชากร ๒. บทความและบทวิจารณ์ คึกฤทธิ์ จากหน้า ๕ สยามรัฐ ๒๕๐๘ ๒๕๑๐ - ๒๕๑๖ และ ๒๕๑๘ บทความบางเรื่ อง ข้าวนอกนา คึกฤทธิ์ กบ ั นักศึกษา เก็บเล็กผสมน้อย ตอบปั ญหาหัวใจ ปั ญหาประจาวัน โลกกับคน รวมนิ ราศตอนใหม่และบทวิจารณ์ พรหมปกรณ์กิจ อนุสรณ์ ตอบปั ญหาประจาวัน ๓. ประเพณี และวัฒนธรรม ประเพณี การตาย ประเพณี การบวชและประเพณี การแต่งงาน พระราชพิธีถือน้ าพระพิพฒน์สัตยา วรรณคดีไทยกับ ั นาฏศิลป์ ไทย โครงกระดูกในตู้ ๔. ประเภทเรื่ องแปล
  • 18. 14 อากิตางากะ สิ วโนสุ เกะ ราโชมอน หรื อประตูผี จอนะธัน ลิฟวิงส์ตน นางนวล ั ๔. ประเภทการศึกษา ห้วงมหรรณพ การศึกษากับการสื บทอดและเสริ มสร้างวัฒนธรรม ๕. ประเภทศาสนา ปั ญหาเกี่ยวกับพุทธศาสนาเซ็นและนิกายวัชรยาน ญี่ปุ่น - พุทธศาสนา คึกฤทธิ์ กบพุทธศาสนา วิวาทะระหว่าง ั ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ กับท่านพุทธทาสภิกขุ พุทธศาสนากับสังคมไทย พระพุทธศาสนากับคึกฤทธิ์ ฯลฯ ๖. ประเภทประวัติศาสตร์ กฤษฎาภินิหารอันบดบังมิได้ สังคมสมัยอยุธยา พม่าเสี ยเมือง พื้นฐานทางวัฒนธรรมไทย พระสาสนโสภณโบราณ - อคติโบราณคดี ๗. ประเภทเศรษฐกิจ การธนาคารพาณิ ชย์ การอภิปรายเรื่ องเศรษฐกิจของไทย นิ ราศต่างแดน ๘. ประเภทสารคดี เมืองมายา ครอบจักรวาล โลกส่ วนตัวของผม รายละเอียดในการเสด็จพระราชดาเนินเยือนสหรัฐ ถกเขมร คึกฤทธิ์ ช่วย...ในโอกาสทาบุญฉลองครบ ๕ รอบของคุณธนิ ต อยูโพธิ์ ่ ๙. ประเภทการเมือง มลายูรากริ ช เมืองในเมืองนอก ยิว รายงานประชาชนทางสถานีกระจายเสี ยงและโทรทัศน์ คนของโลก เขมร สี หนุ ชวาซูการ์ โน ประมวลจากรายการเพื่อนนอนทางวิทยุ คึกฤทธิ์ กบสังคมเมืองไทย รู ้จกเพื่อนบ้าน ฉากญี่ปุ่น ถอดหัวโขน ั ั ประชาธิปไตยของชาวบ้าน ประชาธิปไตยเพื่อประชาชน ประชุมพงศาวดารประชาธิปไตย ปี ศาจการเมือง พระนคร สถานการณ์รอบบ้านเรา สงครามผิว สงครามร้อน สงครามเย็น สัปดาห์จร อเมริ กาในเอเซียอาคเนย์ เมืองไทยในสังคมโลก เรื่ องของโลกตะวันตก คึกฤทธิ์ ถกเมืองไทย คึกฤทธิ์ พด คึกฤทธิ์ วา คึกฤทธิ์ วจารณ์ เจ้าโลก การเมืองในปั จจุบนและอนาคต ู ่ ิ ั ของสังคมไทย ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับกลุ่มประเทศคอมมูนิสต์ คึกฤทธิ์ กบปั ญหาของไทยสมัยเลือกตั้งไม่เรี ยบร้อย โลกส่ วนตัวของคอมมูนิสต์ โลก ๔ ทวีป สงครามปาก สงคราม ั เวียดนาม โลกใหม่ สถานการณ์รอบบ้านเรา เพื่อนคุยวัฒนธรรมและกษัยธรรม ทรรศนะคึกฤทธิ์ ทุนนิยม สังคม ประชาธิ ปไตย เบ้งเฮ็ก ฝรั่งศักดินา การบ้านสาคัญกว่าการเมือง ปาฐกถาของคึกฤทธิ์ ปาฐกถาสองเรื่ อง ๑๐. ประเภทนวนิยาย ซูสีไทเฮา สามก๊ก สี่ แผ่นดิน หลายชีวต สายฝน ไผ่แดง ิ ๑๑. ประเภทเรื่ องสั้น สวัสดีลมร้อน รวมเรื่ องสั้น เรื่ องของคนรักหมา คึกฤทธิ์ พอครัวหัวป่ าก์ หยดหนึ่งของทะเล ่
  • 20. 16
  • 21. 17
  • 22. 18
  • 23. 19
  • 24. 20 บรรณานุกรม ประพันธ์สาส์น.//"ประวัติ,"/ประวัตินกเขียน ชื่อ : ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช .// 12 กรกฎาคม 2554.// ั <http://www.praphansarn.com/new/c_writer/detail.asp?ID=225> //12 กรกฎาคม 2554. วิกีพีเดียสารานุกรมเสรี .//"หม่อมหลวงคึกฤทธิ์ ปราโมช,"/ประวัติ .// 12 กรกฎาคม 2554.// < http://th.wikipedia.org/wiki > //12 กรกฎาคม 2554. วิชาการ.คอม.//"ครู -อาจารย์,"/หม่อมหลวงคึกฤทธิ์ ปราโมช ปูชนียบุคคลท่านหนึ่งของไทย.// 12 กรกฎาคม 2554.// <http://www.vcharkarn.com/varticle/38568 > //12 กรกฎาคม 2554. Bombik.com//"Home,"/พาเที่ยวบ้าน ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช.// 12 กรกฎาคม2554.// <http://bombik.com/node/15/ > //12 กรกฎาคม 2554. Bombik.com//"ประตูสู่ธรรม,"/ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช.// 12 กรกฎาคม2554.// <http://www.dharma- gateway.com/ubasok/ubasok_hist/ubasok-kukrit.htm > //12 กรกฎาคม 2554.