SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
Download to read offline
โครงงาน
เรื่อง แอปพลิเคชั่นบันทึกการตัดคะแนนนักเรียน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
เสนอ
ครูปรีชา กิจจาการ
จัดทำโดย
นายธราเวช คงสมบูรณ์ เลขที่ 1
นายมณฑล เปรมมานนท์ เลขที่ 4
นายอรรถกร เชาว์กีรติกุล เลขที่ 5
นางสาวบัวบูชา สาลีพัฒนผล เลขที่ 10
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8
โครงงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา ว32121 เทคโนโลยีสารสนเทศ
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562
โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว
เกี่ยวกับโครงงาน
โครงงานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง แอปพลิเคชั่นบันทึกการตัดคะแนนนักเรียน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ผู้จัดทำ นายธราเวช คงสมบูรณ์
นายมณฑล เปรมมานนท์
นายอรรถกร เชาว์กีรติกุล
นางสาวบัวบูชา สาลีพัฒนผล
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8
ครูที่ปรึกษา คุณครูปรีชา กิจจาการ
สถานศึกษา โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว
ปีการศึกษา 2562
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานนี้สามารถบรรลุผลสำเร็จได้ดี ด้วยความร่วมมือจากผู้ปกครอง คุณครู และเพื่อนร่วมชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 5 ผู้จัดทำขอขอบพระคุณพ่อ คุณแม่ ของคณะผู้จัดทำที่คอยช่วยอธิบาย เสนอแนะ เกี่ยวกับ
เนื้อหาของโครงงาน ขอขอบคุณครูที่ช่วยให้คำปรึกษาแนะนำในการจัดทำโครงงานครั้งนี้ ขอขอบคุณเพื่อนร่วน
ชั้นเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ช่วยกันแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ทำให้งานชิ้นนี้สำเร็จไปด้วยดี
ท้ายสุดนี้ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า โครงงานนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาการของผู้สนใจต่อไป
คณะผู้จัดทำ
หัวข้อโครงงาน : แอปพลิเคชั่นใบตัดคะแนน
ประเภทโครงงาน : โครงงานสำรวจ
ผู้เสนอโครงงาน : นายธราเวช คงสมบูรณ์
นายมณฑล เปรมมานนท์
นายอรรถกร เชาว์กีรติกุล
นางสาวบัวบูชา สาลีพัฒนผล
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8
ครูที่ปรึกษาโครงงาน : นายปรีชา กิจจาการ
ปีการศึกษา : 2562
บทคัดย่อ
การจัดทำโครงงานในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพิ่มความสะดวกสบายให้แก่ผู้ใช้งานแอปพลิเคชั่น
(2) ศึกษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้สร้าง (3) ศึกษาการจัดทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ผลการศึกษาและจัดทำโครงงานพบว่า การทำแอปพลิเคชั่นบันทึกการตัดคะแนนนักเรียนออนไลน์โดย
แค่พกโทรศัพท์มือถือก็สามารถตัดคะแนนได้ แอปพลิเคชั่นนี้สามารถเพิ่มความสะดวกแก่ผู้ใช้งานได้จริงโดยไม่
ต้องพกกระดาษ เพียงแค่เปิดแอปพลิเคชั่น อีกทั้งยังเป็นการลดการใช้กระดาษและยังไม่ต้องเพิ่มข้อมูลเข้าใน
ระบบคอมพิวเตอร์เพราะแอปพลิเคชั่นสามารถเชื่อมต่อกับระบบการตัดคะแนนได้อัตโนมัติ
สารบัญ
เรื่อง หน้า
เกี่ยวกับโครงงาน ก
กิตติกรรมประกาศ ข
บทคัดย่อ ค
บทที่ 1 บทนำ 1
-ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
-วัตถุประสงค์
-ขอบเขตการศึกษาค้นคว้า
-ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
บทที่ 2 เอกสารและโครงงานที่เกี่ยวข้อง 2
บทที่ 3 วิธีการจัดทำโครงงาน 11
บทที่ 4 ผลการศึกษา 13
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ 14
-สรุปผลของการศึกษา
-ประโยชน์ที่ได้จากโครงงาน
-ข้อเสนอแนะ
บรรณานุกรม 15
ภาคผนวก 16
ข้อมูลผู้จัดทำ 18
1
บทที่ 1
บทนำ
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
Application (แอพพลิเคชั่น) หรือที่ทุกคนเรียกกันสั้นๆ ว่า App (แอพ) มันคือ โปรแกรมที่
อำนวยความสะดวกในด้านต่างๆ ที่ออกแบบมาสำหรับ Mobile (โมบาย) Teblet (แท็บเล็ต) หรืออุปกรณ์
เคลื่อนที่ ที่เรารู้จักกัน ซึ่งในแต่ละระบบปฏิบัติการจะมีผู้พัฒนาแอพพลิเคชั่นขึ้นมามากมายเพื่อให้ตรงกับความ
ต้องการของผู้ใช้งาน ซึ่งจะมีให้ดาวน์โหลดทั้งฟรีและจ่ายเงิน ทั้งในด้านการศึกษา ด้านกรสื่อสารหรือแม้แต่
ด้านความบันเทิงต่างๆ เป็นต้น
โมบายแอพฯ จะแบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ Native Application, Hybrid Applicationและ Web
Application Native App (เนทีฟ แอพ) คือ Application ที่ถูกพัฒนามาด้วย Library (ไลบรารี่) หรือ SDK
(เอส ดี เค) เครื่องมือที่เอาไว้สำหรับพัฒนาโปรแกรมหรือแอพพิเคชั่น ของ OS Mobile (โอ เอส โมบาย) นั้นๆ
โดยเฉพาะ อาทิ Android (แอนดรอยด์) ใช้ Android SDK (แอนดรอยด์ เอส ดี เค), IOS (ไอ โอ เอส) ใช้
Objective c (ออปเจคทีฟ ซี), Windows Phone (วินโดว์ โฟน) ใช้ C# เป็นต้น
Hybrid Application (ไฮบริด แอพพลิเคชั่น) คือ Application ที่ถูกพัฒนาขึ้นมาด้วยจุดประสงค์
ที่ต้องการให้สามารถ รันบนระบบปฏิบัติการได้ทุก OS โดยใช้ Framework (เฟรมเวิร์ก) เข้าช่วย เพื่อให้
สามารถทำงานได้ทุกระบบปฏิบัติการ
Web Application (เว็บ แอพพลิเคชั่น) คือ Application ที่ถูกเขียนขึ้นมาเพื่อเป็น Browser
(บราวเซอร์) สำหรับการใช้งานเว็บเพจต่างๆ ซึ่งถูกปรับแต่งให้แสดงผลแต่ส่วนที่จำเป็น เพื่อเป็นการลด
ทรัพยากรในการประมวลผล ของตัวเครื่องสมาร์ทโฟน หรือ แท็บเล็ต ทำให้โหลดหน้าเว็บไซต์ได้เร็วขึ้น อีกทั้ง
ผู้ใช้งานยังสามารถใช้งานผ่าน อินเตอร์เน็ตและอินทราเน็ต ในความเร็วตํ่าได้
วัตถุประสงค์
1. เพิ่มความสะดวกสบายให้แก่ผู้ใช้งานแอปพลิเคชั่น
2. ศึกษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้สร้าง
3 .ศึกษาการจัดทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบเขตของการศึกษา นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ คาดว่าจะได้รับข้อมูลที่เป็นประโยชน์มีสาระความรู้และตรงจุดมุ่งหมาย
2
บทที่ 2
เอกสารและโครงงานที่เกี่ยวข้อง
ในการดำเนินโครงงานเรื่อง แอปพลิเคชั่นใบตัดคะแนน คณะผู้จัดทำได้ศึกษาค้นคว้าเอกสารที่
เกี่ยวข้อง ดังนี้
1. การสร้างแอปพลิเคชั่น
2. ใบตัดคะแนน
1. การสร้างแอปพลิเคชั่น
1.1 ศึกษาคู่แข่ง
หลังจากได้ไอเดียแล้ว เราก็ต้องมาวางแผนกัน เพื่อให้แอปเราประสบความสำเร็จให้ได้ จุดแรกสุดที่
เราควรเริ่มคือวิเคราะห์คู่แข่ง หาแอปที่มีจุดมุ่งหมายคล้ายคลึงกัน และดูข้อมูลของยอดดาวน์โหลด ดู
กลุ่มเป้าหมาย รีวิวและเรทติ้ง ดูว่ามีคนชอบแอปลักษณะนี้หรือไม่ ประวัติบริษัท ดูว่าบริษัทไปได้ดีไหม แล้ว
เจอปัญหาอะไรบ้างระหว่างทาง และดูว่าเค้ามีวิธีสร้างฐานผู้ใช้ยังไง
จุดประสงค์หลัก 2 ข้อ ของขั้นตอนนี้คือ
เรียนรู้ให้มากที่สุด เพราะความผิดพลาดมีราคาของมัน ไม่ว่าจะเป็นเวลา ความเครียด หรือเงิน ปกติ
คุณจะต้องลองผิดลองถูกหลายครั้ง กว่าจะเจอจุดที่ใช่จริงๆ การเรียนรู้จากคู่แข่ง ช่วยประหยัดเวลาไปได้เยอะ
มาก
เรียนรู้ว่าการจะเข้าไปแทรกในตลาดนี้ยากง่ายแค่ไหน ผู้คนอยากได้วิธีใหม่ในการแก้ปัญหานี้แค่ไหน มี
คนแค่ไหนที่ไม่ได้รับความพึงพอใจกับวิธีเดิม เข้าใจช่องว่างนี้ และปรับไอเดียของเราให้เหมาะกับช่องว่างตรง
นั้น
1.2 การหารายได้
วิธีหารายได้มีหลายแบบ เช่น in-app purchases, subscription รายเดือน, freemium/premium
feature, ติดโฆษณา, ขายข้อมูล หรือโมเดลสามัญคือเป็น paid app จ่ายก่อนโหลด วิธีเลือกคือดูว่าตลาด
อยากจะจ่ายแบบไหน และตอนนี้เค้าจ่ายกันแบบไหนอยู่กับบริการที่คล้ายๆกัน อีกอย่างที่ต้องคิดก็คือ เมื่อไหร่
ที่เราจะเริ่มเก็บตัง เพราะหลายๆแอปโดยเฉพาะ startup ข้ามขั้นตอนนี้ พอจะกลับมาคิดตังอีกทีก็ไม่ทันแล้ว
ไม่สามารถทำกำไรได้
1.3 การตลาด
ขั้นตอนนี้คือการระบุออกมาว่าเราจะทำการตลาดแอปเราได้ยังไง อะไรคืออุปสรรคใหญ่สุด หากว่า
คุณมีทีมดีไซน์เนอร์และ dev ที่สร้างแอปขั้นเทพออกมาได้ อุปสรรคขั้นต่อไปก็คือทำไงให้คนโหลด มันมีแอ
ปที่ออกแบบสวยงามและใช้งานได้ดีมากมายบน store ที่ไม่มีคนโหลด เพราะฉะนั้นต้องรู้งบประมาณของตน
และวิธีการทำการตลาด และเขียนออกมาให้ได้
3
1.4 Road Map
ขั้นตอนสุดท้ายของการวางแผนก็คือการวาง Roadmap ขั้นตอนนี้คือการทำให้ทุกคนในทีมเข้าใจว่า
แอปที่สร้างเสร็จจะเป็นแบบไหน และต้องการอะไรบ้างเพื่อที่จะประสบความสำเร็จในวันแรกของการปล่อย
product ซึ่งเราเรียก product เวอร์ชั่นแรกนี้ว่า Minimum Viable Product (MVP) ในขั้นตอนนี้เราจะเขียน
ทุกสิ่งที่เราอยากให้แอปทำได้ แล้วเอามาเรียงลำดับความสำคัญ ดูว่าอะไรคือหัวใจหลัก อะไรทำให้ดูดผู้ใช้งาน
มาเริ่มใช้ของเราได้ และอะไรไว้เพิ่มที่หลังก็ได้ ถ้าบางอย่างเราคิดว่าผู้ใช้น่าจะอยากได้ พวกนั้นสมควรเอาไปทำ
หลังๆได้เลย เพราะหลังจากเราได้ผู้ใช้มาระดับนึงกับ MVP เราสามารถรู้ได้ดีขึ้นว่า feature ต่อไปควรทำอะไร
จาก feedback ว่าผู้ใช้อยากได้จริงๆ และพวก analytics ที่เราติดไว้ก็มีส่วนช่วยมากๆ
2. ออกแบบ
2.1 ออกแบบ UX
ออกแบบโครงสร้างข้อมูล
เป็นขั้นตอนที่เราตัดสินใจว่าแอปเราต้องแสดงข้อมูลอะไรบ้าง และทำงานอะไรได้บ้าง ปกติเราจะลิสต์
มาว่าแอปมี feature อะไร ทำอะไรได้บ้าง และต้องแสดงข้อมูลอะไรที่หน้าไหนของแอป จากนั้นเราก็มาสร้าง
เป็น wireframe
Wireframe
ขั้นต่อไป เราจะเริ่มสร้างแต่ละ screen และกำหนดการทำงานและข้อมูลที่จะแสดง ต้องทำให้มั่นใจ
ว่าข้อมูลที่จะแสดงต้องมีที่อยู่ของมัน ควรเริ่มต้นในกระดาษเพราะมันจะแก้เยอะ และแก้บ่อย จะได้แก้ง่ายๆ
ดีกว่าไปแก้ใน process หลังๆ แล้วก็มาทำต่อด้วยพวกแอปแบบ Sketch หรือแอปสร้าง wireframe ที่เรา
ถนัด พอเรามี screen ครบแล้ว เราก็จะมาสร้างแอป workflow กัน
Workflows
Workflow คือเส้นทางที่ user สามารถท่องไปในแอปของเราได้ ทุกๆอย่างที่เราอยากให้ user ทำ
และเห็นได้ ต้องใช้กี่คลิกเพื่อที่จะทำมันได้สำเร็จ ต้องทำให้มั่นใจว่าทุกคลิกนั้นเข้าใจได้อย่างง่ายดาย โดยผู้ใช้
ไม่งง ถ้าบางอย่างใหญ่ๆ ใช้ไม่กี่คลิกเพื่อทำจนสำเร็จก็ยังถือว่าดี แต่บางอย่างง่ายๆก็ไม่ควรต้องใช้หลายคลิก
เกิน พอเราเจอปัญหาใน workflow เราก็ต้องกลับไปอัพเดท wireframe และก็ลองใหม่ด้วยการเทสทุก flow
ตั้งแต่ต้น เพื่อให้มั่นใจว่าการแก้ flow นี้ให้ง่ายขึ้น ไม่ได้ทำให้อีก flow ยากขึ้นแทน
Click-through model
Click-through model ช่วยให้เราทดสอบ wireframe และ workflow โดยการให้ user ได้ทดลอง
เหมือนเล่นจริง โดย user จะได้รับ link อันนึง เมืองเปิดบนมือถือ user จะสามารถคลิกที่ปุ่มต่างๆ และเปิดไป
ยังหน้า wireframe ต่างๆ ตาม workflow ได้เหมือนแอปจริงๆ ในขั้นตอนนี้จะยังไม่มีการทำงานใดๆทั้งสิ้น
เป็นแค่รูปภาพของแต่ละหน้าเพื่อทดสอบ navigation ของแอป เมื่อเราเจอปัญหาที่หน้าไหน ก็แก้ wireframe
หน้านั้น และทดลองใหม่จนกว่าจะพอใจ tools ที่ใช้ได้ก็มี invision, sketch, adobe xd
4
2.2. ออกแบบ UI
Style guide
Style guide หรือ UI Kit เป็นเหมือนต้นแบบของสิ่งต่างๆในแอป การมี style ที่ชัดเจนจะช่วยให้
user ไม่งงกับการใช้งานแอปเรา เราไม่อยากจะให้แอปเรา หน้านึงมีปุ่ม ok สีฟ้าอยู่ข้างล่าง อีกหน้านึงเป็นสี
เขียวตรง header หรอก การมี style ที่จัดเจนและตรงกันทั้งแอปจะทำให้ user ใช้งานได้ลื่นขึ้น
การกำหนด Style guide ก็ต้องดูด้วยว่าลูกค้าและผู้ใช้เราเป็นใคร แอปจะใช้เวลาไหน ถ้าใช้กลางคืนก็
อาจจะต้องทำสีให้ dark หน่อย ถ้าถูกใช้โดยพนักงานบริษัทที่งานยุ่งมากๆ ก็อาจจะต้องลดขั้นตอนยุ่งยาก และ
ทำให้งานสำเร็จได้โดยไว designer ที่มีประสบการณ์จะต้องสามารถออกแบบผลงานออกมาให้เหมาะกับผู้ใช้
ให้มากที่สุด ผลลัพธ์ของขั้นตอนนี้ เราจะได้สี, fonts, และ widget เช่น ปุ่ม, ฟอร์ม, label ที่จะเอามาใช้ใน
แอปเราทั้งหมด
Rendered design
ขั้นนี้คือการเปลี่ยน wireframe สีขาวดำของเราให้กลายเป็นหน้าตาแอปจริงๆ โดยใช้ Style guide ที่
สร้างขั้นเมื่อขั้นตอนที่แล้ว พยายามอิงกับ Style guide ในทุกจุด แต่ถ้ามีจุดไหนต้องอัพเดทหรือเพิ่ม Style
guide ก็สามารถกลับไปอัพเดทได้ แต่ต้องให้มั่นใจว่าผลลัพ์ออกมามีความสอดคล้องกันทั้งแอป
Rendered click-through model
หลังได้หน้าตาแอปจริงทั้งหมดมาแล้ว ให้เรากลับมาทำ click-through model อีกรอบ ในขั้นตอนนี้
อาจจะต้องใช้เวลามากหน่อย เพื่อให้มั่นใจว่าจะไม่มีการแก้ไขใหญ่ๆอีกแล้ว เพราะหลังจากขั้นตอนนี้ การ
เปลี่ยนอะไรบางอย่างจะมีราคาแพงและใช้เวลานานขึ้น ให้คิดว่าขั้นตอนนี้คือการเช็คพื้นครั้งสุดท้ายก่อนที่จะ
เริ่มเทปูนซีเมน แน่นอนว่าหลังจากนี้ไม่ใช่ว่าจะเปลี่ยนอะไรไม่ได้เลย แต่การเปลี่ยนแต่ละครั้งจะมีราคาสูงขึ้น
มาก
การส่งไม้ต่อจาก Design ไปยัง Development
หลังจากใช้พลังงานอย่างมากไปในการออกแบบว่าแอปจะมีหน้าตายังไงและทำอะไรได้บ้าง มันจำเป็น
อย่างมากที่จะทำให้ dev team เข้าใจใน vision ตรงกัน หลายๆองค์กร ทำตรงนี้ได้แย่เพราะเหตุผลหลายๆ
อย่าง designer และ developer คล้ายๆกับอยู่กันคนละโลก บางที่อาจจะสื่อสารกันไม่เข้าใจเพราะแต่ละคน
ก็มองจากมุมตัวเอง ถ้าในองค์กร ทีม designer เข้าใจ technical ขึ้นนิดหน่อย และ dev team ก็ทำความ
เข้าใจกับมุมมองของ designer ขึ้นอีกนิด จะทำให้การทำงานราบรื่นขึ้นเยอะมาก Tool ที่แนะนำให้ใช้ก็คือ
Zeplin (ที่ GetLinks ก็ใช้อยู่) Designer จะเป็นคนอัพโหลด design ขึ้นไป แล้ว dev สามารถเอา Style
guide มาใช้ได้เลย dev ไม่ต้องเดา dimension ค่าสี hex และตำแหน่งที่แน่นอนบนหน้าจอ dev สามารถ
พัฒนา pixel-perfect แอปจาก design ได้ทันที
3. เขียน code
3.1 เลือก Tech stack
5
มันมีหลายวิธีและ technology ที่ใช้ในการพัฒนาแอปได้ แต่ละวิธีก็มีข้อดีข้อเสียต่างกัน บางอย่าง
อาจจะราคาถูก แต่ประสิทธิภาพของแอปตก บางอย่างอาจจะซับซ้อน และใช้เวลานานเกินไปสำหรับแอปที่เรา
จะทำ แต่ทางเลือกที่แย่ที่สุดคือการใช้ technology ที่กำลังจะตาย หรือไม่สเถียร ถ้าคุณทำผิดพลาดไปแบบ
นั้น คุณอาจจะต้องสร้างใหม่ทั้งหมด หรือไม่ก็จ่ายค่า maintanance สูงลิบลิ่ว
ฝั่ง Front-end
ในการทำ mobile app มี 3 ทางเลือก
Native ทำแอปแยกแต่ละ platform ไม่สามารถ reuse code ระหว่างกันได้ วิธีนี้ทำให้ปรับแต่งได้
สูงสุด UI เป็นของ platform 100% แอปเร็วและมีประสิทธิภาพสูง เป็นวิธีที่แพงที่สุด เพราะต้องทำแต่ละ
platform ใหม่ทั้งหมด
Cross-platform เป็นเทคโนโลยีที่มี code บางส่วนหรือทั้งหมดแชร์กัน แต่ก็ยัง build ไปรันเป็น
Native เช่น React Native, Xamarin อันนี้เป็นวิธีสายกลางที่ประหยัดเงินและเวลา ถ้าเราไม่ต้องการ
performance สูงสุดขนาดแบบแรก
Hybrid เป็นวิธีที่ใช้เทคโนโลยีของ web (HTML, CSS, Javascript) และ install ผ่าน native
wrapper เช่น Cordova, Phone Gap, Ionic วิธีนี้อาจจะราคาถูกสุด แต่แอปออกมาคุณภาพค่อนข้างต่ำ และ
ช้ามาก
ฝั่ง Back-end (Web API & Server)
Server มีผลอย่างมากกับประสิทธิภาพของแอป และการขยายจำนวนผู้ใช้ที่แอปรองรับได้ มีสิ่งที่ต้อง
ตัดสินใจก่อนจะเริ่มเขียน code ดังนี้
ภาษา Java, C#, Go-lang, Javascript, PHP, Python, Ruby แต่ละภาษาก็จะมี framework ที่ช่วย
ในการเขียนของตัวเอง
Database มี 2 ประเภทหลักๆ SQL และ noSQL SQL เป็นของดั้งเดิมที่มักจะเป็นทางเลือกที่ดีที่สุด
ในแทบทุกกรณี มีหลายยี่ห้อให้เลือก เช่น MSSQL, MySQL, PostgreSQL เป็นต้น noSQL มักใช้ใน
สถานการณ์ที่ต้องการเก็บข้อมูลปริมาณมหาศาลหรือไม่มีการแก้ไขข้อมูลเดิมบ่อยๆ นอกจากการเลือก
database แล้วยังมีเรื่องของการออกแบบ schema ว่าจะเก็บข้อมูลยังไง การออกแบบที่ดีจะส่งผลต่อ
ความสำเร็จในระยะยาว ดังนั้นในขั้นตอนนี้ต้องมั่นใจว่า database ได้ออกแบบไว้อย่างดี และรองรับอนาคต
Hosting environment (Infrastructure) เลือกว่าจะ host server เราไว้ที่ไหน ตัดสินใจจากราคา
ความสามารถในการขยายสเกล ความสามารถที่ทำได้ บริการเสริม การใช้งานง่าย ประสิทธิภาพ และความ
สเถียร มีหลายเจ้า เช่น AWS, Google Cloud, Heroku, Azure นอกเหนือจากนั้นเรายังต้องวางแผนเผื่อการ
สเกล เมื่อจำนวนผู้ใช้เพิ่มมากขั้น Cloud-base ทำให้เราสามารถจ่ายเงินเพื่อเพิ่มหรือลดได้ตามความจำเป็น
นอกจากนี้ยังมีบริการเสริม เช่น backup database, server uptime, update os และอีกมากมาย
6
3.2 Agile development process
คือการแตกย่อยงานที่ต้องพัฒนาทั้งหมดออกมาเป็น milestone ที่เล็กลง และเริ่มพัฒนาแอปเราเป็น
รอบๆ วนลูปไปเรื่อยๆ ในแต่ละรอบจะมีการวางแผน, การพัฒนา, การเทส, และการรีวิว เรื่อง Agile เป็นเรื่อง
ที่มีการเผยแพร่เยอะ และมีรายละเอียดเยอะ แต่ในบทความนี้จะเล่าแค่คร่าวๆ ในระดับที่เพียงพอต่อการ
ทำงานในแต่ละ step ก็พอ
การวางแผน
การวางแผนคือการแบ่งงานออกเป็นลิสต์ของ task ที่จะ code ในรอบ iteration นี้ แต่ละ task
จะต้องมี requirement ที่ชัดเจน หลังจากที่ developer เข้าใจ requirement ดีแล้ว developer ก็จะ
ประเมินเวลาที่ต้องใช้ในการทำแต่ละ task เพื่อที่จะกระจายงานกันไปทำได้อย่างสมดุลกับปริมาณงานที่ทีมทำ
ได้ในแต่ละ sprint
Developer จะเริ่มวางแผนว่าจะเขียน solution ยังไงเพื่อมาแก้ปัญหาในแต่ละ task developer
เก่งๆจะหาทาง reuse code ทั้งแอปให้มากที่สุด เช่นพวก style หรือ function ที่ใช้ร่วมกันได้ ถ้าต้องเปลี่ยน
design ก็แค่ไปอัพเดทที่เดียวก็จะเปลี่ยนทั้งหมด ไม่ต้องไปนั่งไล่อัพเดททุกๆที่
การพัฒนา
Developer จะเริ่ม code ตาม requirement ใน task ที่ได้รับมอบหมาย developer ต้องเข้าใจ
เป้าหมายสูงสุดของแอป และเจตนาของแต่ละ task ถ้าบางอย่างมันทำไปแล้วดูไม่ถูกต้อง developer ต้องรีบ
มาบอก PM เพื่อจะได้หาทางออกกัน เมื่อ task นั้นๆ เสร็จก็จะ deploy ขึ้น development version ให้
tester เทสได้
การเทส
การเทสควรทำโดยคนที่ไม่ใช่ developer ที่ code แอปนี้ขึ้นมา เพราะ developer จะรู้อยู่แล้วว่า
ตรงไหนทำอะไรได้ บางทีก็จะไม่เจอสิ่งที่ user ที่ใช้งานจริงจะเจอเมื่อใช้งานทั่วไป การเทสมีหลายประเภทใน
แต่ละความคืบหน้าของการพัฒนา
Functional Test การเทสว่า feature นี้ทำงานได้ถูกต้องตาม requirement หรือไม่ ทีม QA จะมี
test case, action step และผลลัพธ์ที่คาดหวังว่าจะให้มันเกิด
Usability Testing เทสว่าผู้ใช้ไม่งง และใช้งานง่ายพอมั้ย ตอนเทสควรเอาคนที่เคยเห็นแอปเป็นครั้ง
แรกมาเทส เพื่อจำลองว่าเค้าเป็นคนที่เพิ่งเริ่มใช้จริงๆ โดยกำหนด target group เพื่อนำมาเทส สัมภาษณ์ว่า
เค้ามี background ยังไง จากนั้นก็ให้เค้าใช้แอปเหมือนคนเพิ่งเห็นแอปนี้ครั้งแรกใน store ไม่ต้องแนะนำวิธีใช้
ดูว่าเค้าใช้แอปเรายังไง ติดตรงไหน หลังจากเสร็จก็ถาม feedback และนำมาปรับปรุงแอปต่อไป
Performance Testing ถ้าแอปใช้เวลา 20 วิในการเปิด ต่อให้ทำงานถูกต้องก็คงไม่มีใครใช้
Performance Testing ต้องทำก่อนปล่อยให้ user จริงใช้ แต่ถ้าเทสเจอตั้งแต่แรกๆ ก็อาจจะทำให้แก้ไขได้
ง่ายกว่าไปแก้ตอนท้าย
7
Regression Testing เทส feature ที่เคยทำเสร็จและเทสผ่านไปใน sprint ก่อนๆ เพราะการทำงาน
ใน sprint นี้อาจส่งผลกระทบกับ feature เก่าทำให้ทำงานผิดพลาดได้ tester ที่ดีควรจะมี list ของ test
case เพื่อมาเทสของ sprint ที่ผ่านไปแล้วด้วย
Device-Specific Testing เทสบนหลายๆ screen size และ OS version หรือ browser มีหลาย
tool ที่ช่วยจำลองเครื่องหลายๆรุ่นได้ แต่ก็ต้องเทสบนเครื่องจริงจำนวนนึง เพื่อให้มั่นใจว่ามันทำงานได้แน่ๆ
บนเครื่องส่วนใหญ่
User Acceptance Testing ให้ user จริงๆ เทส และเก็บ feedback จริง
เมื่อเจอบัคก็ต้องสร้าง task ให้ developer ไปแก้ไขและปิด issue task นี้
sprint รีวิว/retrospective
ตอนท้ายของทุก sprint จะมีประชุมเพื่อคุยกับทุกคนที่เกี่ยวข้องว่า sprint ที่ผ่านมาเป็นยังไงบ้าง
อะไรดี อะไรไม่ดี ถ้ามีปัญหาอะไรก็จะได้พยายามแก้ไขไม่ให้เกิดอีกใน sprint หน้า ถ้าบางอย่างมันดีในส่วน
ไหน ก็นำมาใช้กับส่วนอื่นๆ พอจบ sprint review ก็จะต้องวนกลับไป ขั้นตอนการวางแผน และทำวนไป
เรื่อยๆ จนแอปเสร็จ
Beta testing
เมื่อแอปเราเสร็จเรียบร้อย เราอาจจะทำ beta launch อีกรอบ beta launch คือการให้ผู้ใช้งานกลุ่ม
เล็กๆ ใช้งานจริงในสถานการณ์จริงเหมือนกับแอปเรา launch ไปแล้ว ส่วนใหญ่กลุ่มนี้จะเป็น power user,
early adopter หรือลูกค้าที่ชอบเราเป็นทุนเดิม ในขั้นตอนนี้เราจะได้ข้อมูลที่หลากหลายขึ้นอย่างมาก เรา
อาจจะเจอปัญหาที่ไม่เคยเทสเจอมาก่อนมากมาย ซึ่งดีกว่าปล่อยแอปและทำการตลาดแล้วเพิ่งมาเจอปัญหาที
หลัง
หลังจาก Beta testing แล้วแก้ปัญหาที่พบไปจนหมด และไม่มีปัญหาใหม่ๆ รายงานมาอีกแล้ว ก็เริ่ม step
ต่อไปได้
4. ปล่อยแอป
แอปทั่วไปจะมี 2 ส่วนที่สำคัญที่เราต้อง deploy ก็คือ web server กับ client ที่ไว้บน Google
Play หรือ Apple Store
Web API (Server)
ส่วนนี้คือการรับส่งและเก็บข้อมูลของ mobile app ถ้า server โดนใช้งานหนักเกิน หรือล่ม แอปก็
ทำงานไม่ได้ไปด้วย server ต้องสามารถ scale ได้เมื่อเกิดเหตุการณ์ไม่คาดฝันหรือแอปเกิดบูมขึ้นมา
เทคโนโลยีฝั่ง server ก็มีหลากหลาย ตั้งแต่ Infra ไปจนถึง programming ยกตัวอย่างเช่น AWS, Google
Cloud, Kubernetes, Docker, Node.js, RoR, etc.
8
App Store
การอัพแอปขึ้น store เราต้องมั่นใจว่าแอปได้ config ถูกต้องสำหรับ production มีขั้นตอนหลาย
ขั้นตอนในการทำ มีฟอร์มหลายอันที่ต้องกรอก ต้องทำ screenshot และเนื้อหาสำหรับ marketing ต้องเขียน
คำอธิบาย และเราก็ submit ขึ้นไป ฝั่ง Apple จะมีการตรวจที่ละเอียดกว่า Google Play ฝั่ง Apple จะใช้
เวลา 2–3 วัน ส่วน Google Play จะได้ในไม่กี่ชั่วโมงเลย
5. สังเกตการณ์ และวัดผล
เมื่อ submit app ขึ้นไปแล้ว งานของเรายังไม่จบ จะเห็นได้ว่าแอปดังๆทุกแอปมีลิสต์ของอัพเดทยาว
เป็นหางว่าว ไม่ว่าจะเป็น แก้บัค, เปลี่ยน เพิ่มฟีเจอร์ การสังเกตการณ์สำคัญมากๆ เพื่อเราจะได้รู้ว่าต้อง
อัพเดทอะไร นี่คือสิ่งที่ต้องสังเกตการณ์
Crashes
มีหลายเจ้าที่ track app crash ได้ Sentry, HockeyApp, Rollbar, Fabric ฯลฯ มันสามารถดูได้
ด้วยว่าก่อน crash user ทำอะไรอยู่หน้าไหน เครื่องรุ่นอะไร และข้อมูลแวดล้อมอื่นๆ และสามารถแจ้งเตือน
แบบ realtime ผ่าน email/sms ได้ทันทีที่ crash
Analytics
analytics ใหม่ๆสามารถ track ข้อมูลได้แทบทุกอย่างของ user ทำให้คุณเข้าใจว่า user คือใคร อายุ
เพศ สถานที่ ภาษา และเค้าใช้งานแอปเรายังไง เวลาที่เล่น เวลาที่ใช้ในแอป หน้าที่ดู และไปจนถึงพฤติกรรม
เช่น heatmap หรือปุ่มไหนโดนคลิกเยอะสุด ใช้ข้อมูลตรงนี้ทำความเข้าใจ user ให้มากที่สุด และดูว่าตรงไหน
ควรลงทุนลงแรงในอนาคต อย่าไปลงแรงกับส่วนที่ไม่ค่อยมีคนใช้ แต่ลงในส่วนที่มีความเป็นไปได้ว่าจะเกิดการ
เติบโตสูงที่สุด tool ที่ใช้ Facebook Analytics, Apptentive, Google Analytics, Appsee
Performance
แอปเปิดได้ไวแค่ไหน ทำงานได้ไวแค่ไหน เราจะดูได้ว่า action ไหนใช้เวลาเท่าไหร่ แล้วเราจะเจอจุด
ที่ต้องปรับปรุงที่นั่น เราสามารถตั้งให้ alert เมื่อเกิดเหตุการณ์ที่บาง action ใช้เวลานานผิดปกติ เราจะได้เข้า
ไปดูว่าเกิดปัญหาอะไรขึ้นหรือไม่ tool ที่ใช้ Prometheus, New Relic
App Store Management
Rating และ Review ใน Store เป็นสิ่งสำคัญมากๆ ทุกครั้งที่มี review ใหม่ ต้องมั่นใจว่าเราได้เข้าไป
ดูคนรีวิว ขอบคุณ หรือพยายามช่วยเหลือในสิ่งที่ทำให้เค้าโมโหจนให้ 1 ดาว ซึ่งหลายครั้งที่การ customer
support แค่เล็กน้อยทำให้เค้าเปลี่ยนจาก 1 ดาวเป็น 5 ดาวได้ และบริการที่ดีก็ทำให้ชื่อเสียงเราดีตามไปด้วย
9
Further Iteration and Improvement
เป้าหมายของการสังเกตการณ์คือจะได้รู้ว่าเราควรทำอะไรเป็นสิ่งต่อไป เพราะถ้าเราเปิดให้คนใช้ และ
ดูแลแอปนี้ไปสักพัก มันก็จะต้องมี feature ใหม่ๆเพิ่มเข้ามาเพื่อปรับปรุงให้ดีขึ้นไปเรื่อยๆ ใช้ข้อมูลจากผู้ใช้
และการ monitor แล้วเอาไปเข้า development process loop เพิ่ม conversion rate, install number,
และรายได้ไปเรื่อยๆ
2.ความประพฤติและลักษณะอันคุณประสงค์
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 6 และมาตรา 65 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ จึงวางระเบียบว่าด้วยการลงโทษนักเรียนและนักศึกษาไว้ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการลงโทษนักเรียนหรือนักศึกษา
พ.ศ.2548 ”
ข้อ 2 ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้น
ข้อ 3 ให้ยกเลิกระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยลงโทษนักเรียนหรือนักศึกษา พ.ศ.2543
ข้อ 4 ในระเบียบนี้
“ผู้บริหารโรงเรียนหรือสถานศึกษา” หมายความว่า ครูใหญ่ อาจารย์ใหญ่ ผู้อานวยการอธิการบดี หรือ
หัวหน้า ของโรงเรียน หรือสถานศึกษา หรือตาแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่นของโรงเรียนหรือสถานศึกษานั้น
“การกระทาผิด” หมายความว่า การที่นักเรียนหรือนักศึกษาประพฤติฝ่าฝืนระเบียบข้อบังคับของ
สถานศึกษา หรือของกระทรวงศึกษาธิการ หรือกฎกระทรวงว่าด้วยความประพฤติของนักเรียนและ
นักศึกษา
“การลงโทษ” หมายความว่า การลงโทษนักเรียนหรือนักศึกษาที่กระทาความผิด โดยมีความมุ่งหมาย
เพื่อการสั่งสอน
ข้อ 5 โทษที่จะลงโทษแก่นักเรียนหรือนักศึกษาที่กระทาผิดมี 4 สถาน ดังนี้
(1) ว่ากล่าวตักเตือน
(2) ทาทัณฑ์บน
(3) ตัดคะแนนประพฤติ
(4) ทากิจกรรมเพื่อให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ข้อ 6 ห้ามลงโทษนักเรียนและนักศึกษาด้วยวิธีรุนแรง หรือแบบกลั่นแกล้งหรือลงโทษด้วยความโกรธ
10
หรือด้วยความพยาบาท โดยคำนึงถึงอายุนักเรียนหรือนักศึกษา และความร้ายแรงของพฤติการณ์ประกอบการ
ลงโทษด้วยการลงโทษนักเรียนหรือนักศึกษาให้เป็นไปเพื่อเจตนาที่จะแก้นิสัยและความประพฤติไม่ดีของ
นักเรียน
หรือนักศึกษาให้รู้สานึกในความผิด และกลับประพฤติตนในทางที่ดีต่อไปให้ผู้บริหารโรงเรียนหรือ
สถานศึกษาหรือ ผู้ที่บริหารโรงเรียน หรือสถานศึกษามอบหมายเป็นผู้มีอำนาจในการลงโทษนักเรียน นักศึกษา
ข้อ 7 การว่ากล่าวตักเตือน ใช้ในกรณีนักเรียนหรือนักศึกษากระทาความผิดไม่ร้ายแรง
ข้อ 8 การทาทัณฑ์บนใช้ในกรณีนักเรียนหรือนักศึกษาที่ประพฤติตนไม่เหมาะสมกับสภาพนักเรียน
หรือนักศึกษา ตามกฎกระทรวงว่าด้วยความประพฤตินักเรียนและนักศึกษา หรือกรณีทาให้เสื่อมเสีย
ชื่อเสียง
และเกียรติศักดิ์ของสถานศึกษา / ฝ่าฝืนระเบียบของสถานศึกษา / ได้รับโทษว่ากล่าวตักเตือนแล้วแต่
ยังไม่เข็ด
หลาบการทาทัณฑ์บนให้ทาเป็นหนังสือ และเชิญบิดามารดา หรือผู้ปกครองมาบันทึกรับทราบ
ความผิดและรับรองการทาทัณฑ์บนไว้ด้วย
ข้อ 9 การตัดคะแนนความประพฤติให้เป็นไปตามระเบียบปฏิบัติว่าด้วยการตัดคะแนนความประพฤติ
นักเรียนและนักศึกษาของแต่ละสถานศึกษากำหนด และให้ทาบันทึกข้อมูลไว้เป็นหลักฐาน
ข้อ 10 ทากิจกรรมเพื่อให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ใช้ในกรณีที่นักเรียนและนักศึกษากระทาความผิด
ที่สมควรต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ข้อ 11 ให้ปลัดกระทรวงศึกษาธิการรักษาการให้เป็นไปตามระเบียบนี้ และให้มีอำนาจตีความและ
วินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้
11
บทที่ 3
วิธีการจัดทำโครงงาน
การจัดทำโครงงานเรื่องแอปพลิเคชั่นใบตัดคะแนน นี้ เริ่มดำเนินงานตั้งแต่ วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ.
2562 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ สำรวจความคิดเห็นในเรื่องการใช้เทคโนโลยีของนักเรียนในโรงเรียน ประชากร
ที่ใช้ นักเรียนมัธยมศึกษา โรงเรียนราชวินิตบางแก้วระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ปีการศึกษา 2562 คณะ
ผู้จัดทำได้ดำเนินการตามขั้นตอน ดังนี้
1.วิธีการดำเนินงาน
1.1 ตารางการดำเนินโครงงาน
ลำดับ การดำเนินงาน ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ หมายเหตุ
1 ประชุมเลือกหัวข้อการดำเนินงาน 1 ส.ค. 2562 คณะผู้จัดทำ
2 วางแผนการดำเนินงาน 2 ส.ค. 2562 คณะผู้จัดทำ
3 นำไปหาค่าเฉลี่ย 4 ส.ค. 2562 คณะผู้จัดทำ
4 ลงมือปฏิบัติตามแผนงานที่วางไว้ 7 ส.ค. 2562-9
ส.ค.2562
คณะผู้จัดทำ
5 ทำแบบสอบถาม 10 ส.ค.2562 คณะผู้จัดทำ
6 นำแบบสอบถามไปทดสอบกับกลุ่มตัวอย่าง 12-14ส.ค.
2562
คณะผู้จัดทำ
7 สรุปผลการทำงาน 20 ส.ค. 2562 คณะผู้จัดทำ
8 นำเสนอผลงาน 16 ส.ค.2562 คณะผู้จัดทำ
12
1.2 วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้
1. คอมพิวเตอร์
2. Microsoft Word
3. Printer
4. แบบสำรวจ
2. เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน
เครื่องมือที่ใช้ในการทำโครงงาน เรื่อง แอปพลิเคชั่นใบตัดคะแนน คือโปรแกรม thunkable
13
บทที่ 4
ผลการศึกษา
จากการวิจัยเรื่อง แอปพลิเคชั่นใบตัดคะแนน เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ( survey research ) โดย
วัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อศึกษาหาข้อมูลเกี่ยวกับความสะดวกสบายในการใช้แอปพลิเคชั่น ซึ่งข้อมูลที่ได้
จากการวิจัยครั้งนี้เป็นข้อมูลพื้นฐานที่มีความสำคัญต่อการทำโครงงานวิจัยครั้งนี้ คณะผู้จัดโครงงานเรื่อง
แอปพลิเคชั่นใบตัดคะแนน มีวัตถุประสงค์ ให้มีการแสดงความคิดเห็น เกิดการแลกเปลี่ยนกันระหว่างกลุ่ม
เกี่ยวกับความสะดวกสบายของการใช้แอปพลิเคชั่น ประชากรที่ใช้ มัธยมศึกษาปีที่ 5/2 - 4/5 มีวิธีดำเนินงาน
คือ
มีผลดำเนินงานตามตารางดังนี้
ลำดับ รายการ
ค่าร้อยละ ประสิทธิภาพ
5 4 3 2 1 x แปลผล
1 สถานที่ในการแจกแบบสอบถาม 66.6 33.3 - - - 4.6 มากที่สุด
2 สามารถอธิบายได้เข้าใจชัดเจน 60 40 - - - 4.6 มากที่สุด
3 อธิบายด้วยความสุภาพและเป็นมิตร 73.3 26.6 - - - 4.7 มากที่สุด
4 สามารถเข้าใจเนื้อหาได้โดยง่าย 60 40 - - - 4.6 มากที่สุด
5 ความถูกต้องของข้อความและเนื้อหา 46.6 53.3 - - - 4.4 มาก
6 สามารถนำไปแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
กับผู้อื่น
60 40 - - - 4.6 มากที่สุด
7 ได้รับประโยชน์จากแลกเปลี่ยนความ
คิดเห็น
66.6 33.3 - - - 4.6 มากที่สุด
8 สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน 53.3 46.6 - - - 4.5 มากที่สุด
9 ได้รับความสนุกสนานจากกิจกรรม 66.6 33.3 - - - 4.6 มากที่สุด
10 กิจกรรมและการนำเสนอมีความ
น่าสนใจ
60 40 - - - 4.6 มากที่สุด
จากตารางผลการดำเนินโครงงาน เรื่อง การไหว้ พบว่า นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีความพึง
พอใจในเรื่อง สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันระดับค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.7 ระดับความพึงพอใจ มากที่สุด
สามารถอธิบายได้เข้าใจชัดเจนระดับค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.6 ระดับความพึงพอใจ มากที่สุด และสถานที่ในการ
แจกแบบสอบถามระดับค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.6 ตามลำดับ
14
บทที่ 5
สรุปผลและข้อเสนอแนะ
สรุปผลการดำเนินโครงงาน
คณะผู้จัดได้จัดโครงงานเรื่อง แอปพลิเคชั่นใบตัดคะแนน ตั้งแต่วันที่ 1สิงหาคม พ.ศ.2562 มี
วัตถุประสงค์เพื่อ เพื่อจะได้ทราบถึงประโยชน์และความสะดวกในการเข้าถึงแอปพลิเคชั่น
อภิปรายผล
ผลการดำเนินโครงงาน กลุ่มประชากรที่ใช้ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี กิจกรรมดำเนินการไปได้อย่าง
ราบรื่น ผลการดำเนินโครงงานพบว่ากลุ่มประชากรได้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับผู้ชายในอุดมคติของตนได้
อย่างอิสระ
ปัญหาของการจัดทำโครงงาน
1. คนในกลุ่มมีเวลาว่างที่ไม่ตรงกัน
ประโยชน์ที่ได้รับ
1.รู้ว่าส่วนใหญ่ผู้หญิงมีทัศนคติอย่างไรต่อผู้ชายในอุดมคติ
2.สามารถนำข้อมูลไปต่อยอดในการทำเรื่องอื่นๆได้
3.ศึกษาการจัดทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ข้อเสนอแนะ
1. ประชุมหาเวลาที่ว่างตรงกัน เพื่อจัดทำโครงงานให้เสร็จสมบูรณ์
15
บรรณานุกรม
แอปพลิเคชั่นเบื้องต้น. (ม.ป.ป.). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
https://www.mindphp.com/%E0%B8%84%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0%B8%B7%
E0%B8%AD/73%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84
%E0%B8%A3/3647-
application%E0%B9%81%E0%B8%AD%E0%B8%9E%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0
%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%8A%E0%B8%B1%E0%B9%88%E0%B8%99-
%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%A3.ht
ml (วันที่ค้นข้อมูล : สิงหาคม 2562).
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ. (2552). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://person.mwit.ac.th/01-
Statutes/NationalEducation.pdf (วันที่ค้นข้อมูล :สิงหาคม 2562).
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน. (ม.ป.ป.). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
https://www.slideshare.net/AekapojPoosathan/5-31018403 (วันที่ค้นข้อมูล สิงหาคม 2562).
16
ภาคผนวก
17
18
ข้อมูลผู้จัดทำ
นายธราเวช คงสมบูรณ์ เลขที่ 1
นายมณฑล เปรมมานนท์ เลขที่ 4
นายอรรถกร เชาว์กีรติกุล เลขที่ 5
นางสาวบัวบูชา สาลีพัฒนผล เลขที่ 10
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8

More Related Content

What's hot

หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานSiriporn Kusolpiamsuk
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรมkrupornpana55
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5kessara61977
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)Pongpan Pairojana
 
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องkrupornpana55
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้thanapisit marakul na ayudhya
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มGuntima NaLove
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศmaerimwittayakom school
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนพัน พัน
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58renusaowiang
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 

What's hot (20)

ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
 
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 

Similar to โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน

บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3
บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3
บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3Nataya Younyee
 
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์Mintra Pudprom
 
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์KaRn Tik Tok
 
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์Soldic Kalayanee
 
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”Justice MengKing
 
การแก้ปัญหาด้วยด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศpuppypingpong
 
(ใบงานที่ 2)
(ใบงานที่ 2)(ใบงานที่ 2)
(ใบงานที่ 2)Aungkana Na Na
 
(ใบงานที่ 2)
(ใบงานที่ 2)(ใบงานที่ 2)
(ใบงานที่ 2)Aungkana Na Na
 
(ใบงานที่ 2)
(ใบงานที่ 2)(ใบงานที่ 2)
(ใบงานที่ 2)Aungkana Na Na
 
(ใบงานที่ 2)
(ใบงานที่ 2)(ใบงานที่ 2)
(ใบงานที่ 2)Aungkana Na Na
 
(ใบงานที่ 2)
(ใบงานที่ 2)(ใบงานที่ 2)
(ใบงานที่ 2)Aungkana Na Na
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Pro desktop
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Pro desktopความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Pro desktop
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Pro desktopThaNit YiamRam
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
ใบความรู้ที่ 11
ใบความรู้ที่ 11ใบความรู้ที่ 11
ใบความรู้ที่ 11chaiwat vichianchai
 
โครงงานเรื่อง ระบบปฎิบัติการ
โครงงานเรื่อง ระบบปฎิบัติการโครงงานเรื่อง ระบบปฎิบัติการ
โครงงานเรื่อง ระบบปฎิบัติการpeepee kullabut
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์Pum Pep
 

Similar to โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน (20)

บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3
บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3
บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3
 
ใบงาน 7
ใบงาน 7ใบงาน 7
ใบงาน 7
 
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
 
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
 
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
 
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
 
การแก้ปัญหาด้วยด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Unemployment
UnemploymentUnemployment
Unemployment
 
(ใบงานที่ 2)
(ใบงานที่ 2)(ใบงานที่ 2)
(ใบงานที่ 2)
 
(ใบงานที่ 2)
(ใบงานที่ 2)(ใบงานที่ 2)
(ใบงานที่ 2)
 
(ใบงานที่ 2)
(ใบงานที่ 2)(ใบงานที่ 2)
(ใบงานที่ 2)
 
(ใบงานที่ 2)
(ใบงานที่ 2)(ใบงานที่ 2)
(ใบงานที่ 2)
 
(ใบงานที่ 2)
(ใบงานที่ 2)(ใบงานที่ 2)
(ใบงานที่ 2)
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Pro desktop
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Pro desktopความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Pro desktop
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Pro desktop
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
K2
K2K2
K2
 
ใบความรู้ที่ 11
ใบความรู้ที่ 11ใบความรู้ที่ 11
ใบความรู้ที่ 11
 
Unemployment
UnemploymentUnemployment
Unemployment
 
โครงงานเรื่อง ระบบปฎิบัติการ
โครงงานเรื่อง ระบบปฎิบัติการโครงงานเรื่อง ระบบปฎิบัติการ
โครงงานเรื่อง ระบบปฎิบัติการ
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
 

โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน

  • 1. โครงงาน เรื่อง แอปพลิเคชั่นบันทึกการตัดคะแนนนักเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี เสนอ ครูปรีชา กิจจาการ จัดทำโดย นายธราเวช คงสมบูรณ์ เลขที่ 1 นายมณฑล เปรมมานนท์ เลขที่ 4 นายอรรถกร เชาว์กีรติกุล เลขที่ 5 นางสาวบัวบูชา สาลีพัฒนผล เลขที่ 10 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 โครงงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา ว32121 เทคโนโลยีสารสนเทศ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว
  • 2. เกี่ยวกับโครงงาน โครงงานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง แอปพลิเคชั่นบันทึกการตัดคะแนนนักเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ผู้จัดทำ นายธราเวช คงสมบูรณ์ นายมณฑล เปรมมานนท์ นายอรรถกร เชาว์กีรติกุล นางสาวบัวบูชา สาลีพัฒนผล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ครูที่ปรึกษา คุณครูปรีชา กิจจาการ สถานศึกษา โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว ปีการศึกษา 2562
  • 3. กิตติกรรมประกาศ โครงงานนี้สามารถบรรลุผลสำเร็จได้ดี ด้วยความร่วมมือจากผู้ปกครอง คุณครู และเพื่อนร่วมชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5 ผู้จัดทำขอขอบพระคุณพ่อ คุณแม่ ของคณะผู้จัดทำที่คอยช่วยอธิบาย เสนอแนะ เกี่ยวกับ เนื้อหาของโครงงาน ขอขอบคุณครูที่ช่วยให้คำปรึกษาแนะนำในการจัดทำโครงงานครั้งนี้ ขอขอบคุณเพื่อนร่วน ชั้นเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ช่วยกันแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ทำให้งานชิ้นนี้สำเร็จไปด้วยดี ท้ายสุดนี้ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า โครงงานนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาการของผู้สนใจต่อไป คณะผู้จัดทำ
  • 4. หัวข้อโครงงาน : แอปพลิเคชั่นใบตัดคะแนน ประเภทโครงงาน : โครงงานสำรวจ ผู้เสนอโครงงาน : นายธราเวช คงสมบูรณ์ นายมณฑล เปรมมานนท์ นายอรรถกร เชาว์กีรติกุล นางสาวบัวบูชา สาลีพัฒนผล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ครูที่ปรึกษาโครงงาน : นายปรีชา กิจจาการ ปีการศึกษา : 2562 บทคัดย่อ การจัดทำโครงงานในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพิ่มความสะดวกสบายให้แก่ผู้ใช้งานแอปพลิเคชั่น (2) ศึกษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้สร้าง (3) ศึกษาการจัดทำโครงงานคอมพิวเตอร์ ผลการศึกษาและจัดทำโครงงานพบว่า การทำแอปพลิเคชั่นบันทึกการตัดคะแนนนักเรียนออนไลน์โดย แค่พกโทรศัพท์มือถือก็สามารถตัดคะแนนได้ แอปพลิเคชั่นนี้สามารถเพิ่มความสะดวกแก่ผู้ใช้งานได้จริงโดยไม่ ต้องพกกระดาษ เพียงแค่เปิดแอปพลิเคชั่น อีกทั้งยังเป็นการลดการใช้กระดาษและยังไม่ต้องเพิ่มข้อมูลเข้าใน ระบบคอมพิวเตอร์เพราะแอปพลิเคชั่นสามารถเชื่อมต่อกับระบบการตัดคะแนนได้อัตโนมัติ
  • 5. สารบัญ เรื่อง หน้า เกี่ยวกับโครงงาน ก กิตติกรรมประกาศ ข บทคัดย่อ ค บทที่ 1 บทนำ 1 -ที่มาและความสำคัญของโครงงาน -วัตถุประสงค์ -ขอบเขตการศึกษาค้นคว้า -ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 เอกสารและโครงงานที่เกี่ยวข้อง 2 บทที่ 3 วิธีการจัดทำโครงงาน 11 บทที่ 4 ผลการศึกษา 13 บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ 14 -สรุปผลของการศึกษา -ประโยชน์ที่ได้จากโครงงาน -ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม 15 ภาคผนวก 16 ข้อมูลผู้จัดทำ 18
  • 6. 1 บทที่ 1 บทนำ ที่มาและความสำคัญของโครงงาน Application (แอพพลิเคชั่น) หรือที่ทุกคนเรียกกันสั้นๆ ว่า App (แอพ) มันคือ โปรแกรมที่ อำนวยความสะดวกในด้านต่างๆ ที่ออกแบบมาสำหรับ Mobile (โมบาย) Teblet (แท็บเล็ต) หรืออุปกรณ์ เคลื่อนที่ ที่เรารู้จักกัน ซึ่งในแต่ละระบบปฏิบัติการจะมีผู้พัฒนาแอพพลิเคชั่นขึ้นมามากมายเพื่อให้ตรงกับความ ต้องการของผู้ใช้งาน ซึ่งจะมีให้ดาวน์โหลดทั้งฟรีและจ่ายเงิน ทั้งในด้านการศึกษา ด้านกรสื่อสารหรือแม้แต่ ด้านความบันเทิงต่างๆ เป็นต้น โมบายแอพฯ จะแบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ Native Application, Hybrid Applicationและ Web Application Native App (เนทีฟ แอพ) คือ Application ที่ถูกพัฒนามาด้วย Library (ไลบรารี่) หรือ SDK (เอส ดี เค) เครื่องมือที่เอาไว้สำหรับพัฒนาโปรแกรมหรือแอพพิเคชั่น ของ OS Mobile (โอ เอส โมบาย) นั้นๆ โดยเฉพาะ อาทิ Android (แอนดรอยด์) ใช้ Android SDK (แอนดรอยด์ เอส ดี เค), IOS (ไอ โอ เอส) ใช้ Objective c (ออปเจคทีฟ ซี), Windows Phone (วินโดว์ โฟน) ใช้ C# เป็นต้น Hybrid Application (ไฮบริด แอพพลิเคชั่น) คือ Application ที่ถูกพัฒนาขึ้นมาด้วยจุดประสงค์ ที่ต้องการให้สามารถ รันบนระบบปฏิบัติการได้ทุก OS โดยใช้ Framework (เฟรมเวิร์ก) เข้าช่วย เพื่อให้ สามารถทำงานได้ทุกระบบปฏิบัติการ Web Application (เว็บ แอพพลิเคชั่น) คือ Application ที่ถูกเขียนขึ้นมาเพื่อเป็น Browser (บราวเซอร์) สำหรับการใช้งานเว็บเพจต่างๆ ซึ่งถูกปรับแต่งให้แสดงผลแต่ส่วนที่จำเป็น เพื่อเป็นการลด ทรัพยากรในการประมวลผล ของตัวเครื่องสมาร์ทโฟน หรือ แท็บเล็ต ทำให้โหลดหน้าเว็บไซต์ได้เร็วขึ้น อีกทั้ง ผู้ใช้งานยังสามารถใช้งานผ่าน อินเตอร์เน็ตและอินทราเน็ต ในความเร็วตํ่าได้ วัตถุประสงค์ 1. เพิ่มความสะดวกสบายให้แก่ผู้ใช้งานแอปพลิเคชั่น 2. ศึกษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้สร้าง 3 .ศึกษาการจัดทำโครงงานคอมพิวเตอร์ ขอบเขตของการศึกษา นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ คาดว่าจะได้รับข้อมูลที่เป็นประโยชน์มีสาระความรู้และตรงจุดมุ่งหมาย
  • 7. 2 บทที่ 2 เอกสารและโครงงานที่เกี่ยวข้อง ในการดำเนินโครงงานเรื่อง แอปพลิเคชั่นใบตัดคะแนน คณะผู้จัดทำได้ศึกษาค้นคว้าเอกสารที่ เกี่ยวข้อง ดังนี้ 1. การสร้างแอปพลิเคชั่น 2. ใบตัดคะแนน 1. การสร้างแอปพลิเคชั่น 1.1 ศึกษาคู่แข่ง หลังจากได้ไอเดียแล้ว เราก็ต้องมาวางแผนกัน เพื่อให้แอปเราประสบความสำเร็จให้ได้ จุดแรกสุดที่ เราควรเริ่มคือวิเคราะห์คู่แข่ง หาแอปที่มีจุดมุ่งหมายคล้ายคลึงกัน และดูข้อมูลของยอดดาวน์โหลด ดู กลุ่มเป้าหมาย รีวิวและเรทติ้ง ดูว่ามีคนชอบแอปลักษณะนี้หรือไม่ ประวัติบริษัท ดูว่าบริษัทไปได้ดีไหม แล้ว เจอปัญหาอะไรบ้างระหว่างทาง และดูว่าเค้ามีวิธีสร้างฐานผู้ใช้ยังไง จุดประสงค์หลัก 2 ข้อ ของขั้นตอนนี้คือ เรียนรู้ให้มากที่สุด เพราะความผิดพลาดมีราคาของมัน ไม่ว่าจะเป็นเวลา ความเครียด หรือเงิน ปกติ คุณจะต้องลองผิดลองถูกหลายครั้ง กว่าจะเจอจุดที่ใช่จริงๆ การเรียนรู้จากคู่แข่ง ช่วยประหยัดเวลาไปได้เยอะ มาก เรียนรู้ว่าการจะเข้าไปแทรกในตลาดนี้ยากง่ายแค่ไหน ผู้คนอยากได้วิธีใหม่ในการแก้ปัญหานี้แค่ไหน มี คนแค่ไหนที่ไม่ได้รับความพึงพอใจกับวิธีเดิม เข้าใจช่องว่างนี้ และปรับไอเดียของเราให้เหมาะกับช่องว่างตรง นั้น 1.2 การหารายได้ วิธีหารายได้มีหลายแบบ เช่น in-app purchases, subscription รายเดือน, freemium/premium feature, ติดโฆษณา, ขายข้อมูล หรือโมเดลสามัญคือเป็น paid app จ่ายก่อนโหลด วิธีเลือกคือดูว่าตลาด อยากจะจ่ายแบบไหน และตอนนี้เค้าจ่ายกันแบบไหนอยู่กับบริการที่คล้ายๆกัน อีกอย่างที่ต้องคิดก็คือ เมื่อไหร่ ที่เราจะเริ่มเก็บตัง เพราะหลายๆแอปโดยเฉพาะ startup ข้ามขั้นตอนนี้ พอจะกลับมาคิดตังอีกทีก็ไม่ทันแล้ว ไม่สามารถทำกำไรได้ 1.3 การตลาด ขั้นตอนนี้คือการระบุออกมาว่าเราจะทำการตลาดแอปเราได้ยังไง อะไรคืออุปสรรคใหญ่สุด หากว่า คุณมีทีมดีไซน์เนอร์และ dev ที่สร้างแอปขั้นเทพออกมาได้ อุปสรรคขั้นต่อไปก็คือทำไงให้คนโหลด มันมีแอ ปที่ออกแบบสวยงามและใช้งานได้ดีมากมายบน store ที่ไม่มีคนโหลด เพราะฉะนั้นต้องรู้งบประมาณของตน และวิธีการทำการตลาด และเขียนออกมาให้ได้
  • 8. 3 1.4 Road Map ขั้นตอนสุดท้ายของการวางแผนก็คือการวาง Roadmap ขั้นตอนนี้คือการทำให้ทุกคนในทีมเข้าใจว่า แอปที่สร้างเสร็จจะเป็นแบบไหน และต้องการอะไรบ้างเพื่อที่จะประสบความสำเร็จในวันแรกของการปล่อย product ซึ่งเราเรียก product เวอร์ชั่นแรกนี้ว่า Minimum Viable Product (MVP) ในขั้นตอนนี้เราจะเขียน ทุกสิ่งที่เราอยากให้แอปทำได้ แล้วเอามาเรียงลำดับความสำคัญ ดูว่าอะไรคือหัวใจหลัก อะไรทำให้ดูดผู้ใช้งาน มาเริ่มใช้ของเราได้ และอะไรไว้เพิ่มที่หลังก็ได้ ถ้าบางอย่างเราคิดว่าผู้ใช้น่าจะอยากได้ พวกนั้นสมควรเอาไปทำ หลังๆได้เลย เพราะหลังจากเราได้ผู้ใช้มาระดับนึงกับ MVP เราสามารถรู้ได้ดีขึ้นว่า feature ต่อไปควรทำอะไร จาก feedback ว่าผู้ใช้อยากได้จริงๆ และพวก analytics ที่เราติดไว้ก็มีส่วนช่วยมากๆ 2. ออกแบบ 2.1 ออกแบบ UX ออกแบบโครงสร้างข้อมูล เป็นขั้นตอนที่เราตัดสินใจว่าแอปเราต้องแสดงข้อมูลอะไรบ้าง และทำงานอะไรได้บ้าง ปกติเราจะลิสต์ มาว่าแอปมี feature อะไร ทำอะไรได้บ้าง และต้องแสดงข้อมูลอะไรที่หน้าไหนของแอป จากนั้นเราก็มาสร้าง เป็น wireframe Wireframe ขั้นต่อไป เราจะเริ่มสร้างแต่ละ screen และกำหนดการทำงานและข้อมูลที่จะแสดง ต้องทำให้มั่นใจ ว่าข้อมูลที่จะแสดงต้องมีที่อยู่ของมัน ควรเริ่มต้นในกระดาษเพราะมันจะแก้เยอะ และแก้บ่อย จะได้แก้ง่ายๆ ดีกว่าไปแก้ใน process หลังๆ แล้วก็มาทำต่อด้วยพวกแอปแบบ Sketch หรือแอปสร้าง wireframe ที่เรา ถนัด พอเรามี screen ครบแล้ว เราก็จะมาสร้างแอป workflow กัน Workflows Workflow คือเส้นทางที่ user สามารถท่องไปในแอปของเราได้ ทุกๆอย่างที่เราอยากให้ user ทำ และเห็นได้ ต้องใช้กี่คลิกเพื่อที่จะทำมันได้สำเร็จ ต้องทำให้มั่นใจว่าทุกคลิกนั้นเข้าใจได้อย่างง่ายดาย โดยผู้ใช้ ไม่งง ถ้าบางอย่างใหญ่ๆ ใช้ไม่กี่คลิกเพื่อทำจนสำเร็จก็ยังถือว่าดี แต่บางอย่างง่ายๆก็ไม่ควรต้องใช้หลายคลิก เกิน พอเราเจอปัญหาใน workflow เราก็ต้องกลับไปอัพเดท wireframe และก็ลองใหม่ด้วยการเทสทุก flow ตั้งแต่ต้น เพื่อให้มั่นใจว่าการแก้ flow นี้ให้ง่ายขึ้น ไม่ได้ทำให้อีก flow ยากขึ้นแทน Click-through model Click-through model ช่วยให้เราทดสอบ wireframe และ workflow โดยการให้ user ได้ทดลอง เหมือนเล่นจริง โดย user จะได้รับ link อันนึง เมืองเปิดบนมือถือ user จะสามารถคลิกที่ปุ่มต่างๆ และเปิดไป ยังหน้า wireframe ต่างๆ ตาม workflow ได้เหมือนแอปจริงๆ ในขั้นตอนนี้จะยังไม่มีการทำงานใดๆทั้งสิ้น เป็นแค่รูปภาพของแต่ละหน้าเพื่อทดสอบ navigation ของแอป เมื่อเราเจอปัญหาที่หน้าไหน ก็แก้ wireframe หน้านั้น และทดลองใหม่จนกว่าจะพอใจ tools ที่ใช้ได้ก็มี invision, sketch, adobe xd
  • 9. 4 2.2. ออกแบบ UI Style guide Style guide หรือ UI Kit เป็นเหมือนต้นแบบของสิ่งต่างๆในแอป การมี style ที่ชัดเจนจะช่วยให้ user ไม่งงกับการใช้งานแอปเรา เราไม่อยากจะให้แอปเรา หน้านึงมีปุ่ม ok สีฟ้าอยู่ข้างล่าง อีกหน้านึงเป็นสี เขียวตรง header หรอก การมี style ที่จัดเจนและตรงกันทั้งแอปจะทำให้ user ใช้งานได้ลื่นขึ้น การกำหนด Style guide ก็ต้องดูด้วยว่าลูกค้าและผู้ใช้เราเป็นใคร แอปจะใช้เวลาไหน ถ้าใช้กลางคืนก็ อาจจะต้องทำสีให้ dark หน่อย ถ้าถูกใช้โดยพนักงานบริษัทที่งานยุ่งมากๆ ก็อาจจะต้องลดขั้นตอนยุ่งยาก และ ทำให้งานสำเร็จได้โดยไว designer ที่มีประสบการณ์จะต้องสามารถออกแบบผลงานออกมาให้เหมาะกับผู้ใช้ ให้มากที่สุด ผลลัพธ์ของขั้นตอนนี้ เราจะได้สี, fonts, และ widget เช่น ปุ่ม, ฟอร์ม, label ที่จะเอามาใช้ใน แอปเราทั้งหมด Rendered design ขั้นนี้คือการเปลี่ยน wireframe สีขาวดำของเราให้กลายเป็นหน้าตาแอปจริงๆ โดยใช้ Style guide ที่ สร้างขั้นเมื่อขั้นตอนที่แล้ว พยายามอิงกับ Style guide ในทุกจุด แต่ถ้ามีจุดไหนต้องอัพเดทหรือเพิ่ม Style guide ก็สามารถกลับไปอัพเดทได้ แต่ต้องให้มั่นใจว่าผลลัพ์ออกมามีความสอดคล้องกันทั้งแอป Rendered click-through model หลังได้หน้าตาแอปจริงทั้งหมดมาแล้ว ให้เรากลับมาทำ click-through model อีกรอบ ในขั้นตอนนี้ อาจจะต้องใช้เวลามากหน่อย เพื่อให้มั่นใจว่าจะไม่มีการแก้ไขใหญ่ๆอีกแล้ว เพราะหลังจากขั้นตอนนี้ การ เปลี่ยนอะไรบางอย่างจะมีราคาแพงและใช้เวลานานขึ้น ให้คิดว่าขั้นตอนนี้คือการเช็คพื้นครั้งสุดท้ายก่อนที่จะ เริ่มเทปูนซีเมน แน่นอนว่าหลังจากนี้ไม่ใช่ว่าจะเปลี่ยนอะไรไม่ได้เลย แต่การเปลี่ยนแต่ละครั้งจะมีราคาสูงขึ้น มาก การส่งไม้ต่อจาก Design ไปยัง Development หลังจากใช้พลังงานอย่างมากไปในการออกแบบว่าแอปจะมีหน้าตายังไงและทำอะไรได้บ้าง มันจำเป็น อย่างมากที่จะทำให้ dev team เข้าใจใน vision ตรงกัน หลายๆองค์กร ทำตรงนี้ได้แย่เพราะเหตุผลหลายๆ อย่าง designer และ developer คล้ายๆกับอยู่กันคนละโลก บางที่อาจจะสื่อสารกันไม่เข้าใจเพราะแต่ละคน ก็มองจากมุมตัวเอง ถ้าในองค์กร ทีม designer เข้าใจ technical ขึ้นนิดหน่อย และ dev team ก็ทำความ เข้าใจกับมุมมองของ designer ขึ้นอีกนิด จะทำให้การทำงานราบรื่นขึ้นเยอะมาก Tool ที่แนะนำให้ใช้ก็คือ Zeplin (ที่ GetLinks ก็ใช้อยู่) Designer จะเป็นคนอัพโหลด design ขึ้นไป แล้ว dev สามารถเอา Style guide มาใช้ได้เลย dev ไม่ต้องเดา dimension ค่าสี hex และตำแหน่งที่แน่นอนบนหน้าจอ dev สามารถ พัฒนา pixel-perfect แอปจาก design ได้ทันที 3. เขียน code 3.1 เลือก Tech stack
  • 10. 5 มันมีหลายวิธีและ technology ที่ใช้ในการพัฒนาแอปได้ แต่ละวิธีก็มีข้อดีข้อเสียต่างกัน บางอย่าง อาจจะราคาถูก แต่ประสิทธิภาพของแอปตก บางอย่างอาจจะซับซ้อน และใช้เวลานานเกินไปสำหรับแอปที่เรา จะทำ แต่ทางเลือกที่แย่ที่สุดคือการใช้ technology ที่กำลังจะตาย หรือไม่สเถียร ถ้าคุณทำผิดพลาดไปแบบ นั้น คุณอาจจะต้องสร้างใหม่ทั้งหมด หรือไม่ก็จ่ายค่า maintanance สูงลิบลิ่ว ฝั่ง Front-end ในการทำ mobile app มี 3 ทางเลือก Native ทำแอปแยกแต่ละ platform ไม่สามารถ reuse code ระหว่างกันได้ วิธีนี้ทำให้ปรับแต่งได้ สูงสุด UI เป็นของ platform 100% แอปเร็วและมีประสิทธิภาพสูง เป็นวิธีที่แพงที่สุด เพราะต้องทำแต่ละ platform ใหม่ทั้งหมด Cross-platform เป็นเทคโนโลยีที่มี code บางส่วนหรือทั้งหมดแชร์กัน แต่ก็ยัง build ไปรันเป็น Native เช่น React Native, Xamarin อันนี้เป็นวิธีสายกลางที่ประหยัดเงินและเวลา ถ้าเราไม่ต้องการ performance สูงสุดขนาดแบบแรก Hybrid เป็นวิธีที่ใช้เทคโนโลยีของ web (HTML, CSS, Javascript) และ install ผ่าน native wrapper เช่น Cordova, Phone Gap, Ionic วิธีนี้อาจจะราคาถูกสุด แต่แอปออกมาคุณภาพค่อนข้างต่ำ และ ช้ามาก ฝั่ง Back-end (Web API & Server) Server มีผลอย่างมากกับประสิทธิภาพของแอป และการขยายจำนวนผู้ใช้ที่แอปรองรับได้ มีสิ่งที่ต้อง ตัดสินใจก่อนจะเริ่มเขียน code ดังนี้ ภาษา Java, C#, Go-lang, Javascript, PHP, Python, Ruby แต่ละภาษาก็จะมี framework ที่ช่วย ในการเขียนของตัวเอง Database มี 2 ประเภทหลักๆ SQL และ noSQL SQL เป็นของดั้งเดิมที่มักจะเป็นทางเลือกที่ดีที่สุด ในแทบทุกกรณี มีหลายยี่ห้อให้เลือก เช่น MSSQL, MySQL, PostgreSQL เป็นต้น noSQL มักใช้ใน สถานการณ์ที่ต้องการเก็บข้อมูลปริมาณมหาศาลหรือไม่มีการแก้ไขข้อมูลเดิมบ่อยๆ นอกจากการเลือก database แล้วยังมีเรื่องของการออกแบบ schema ว่าจะเก็บข้อมูลยังไง การออกแบบที่ดีจะส่งผลต่อ ความสำเร็จในระยะยาว ดังนั้นในขั้นตอนนี้ต้องมั่นใจว่า database ได้ออกแบบไว้อย่างดี และรองรับอนาคต Hosting environment (Infrastructure) เลือกว่าจะ host server เราไว้ที่ไหน ตัดสินใจจากราคา ความสามารถในการขยายสเกล ความสามารถที่ทำได้ บริการเสริม การใช้งานง่าย ประสิทธิภาพ และความ สเถียร มีหลายเจ้า เช่น AWS, Google Cloud, Heroku, Azure นอกเหนือจากนั้นเรายังต้องวางแผนเผื่อการ สเกล เมื่อจำนวนผู้ใช้เพิ่มมากขั้น Cloud-base ทำให้เราสามารถจ่ายเงินเพื่อเพิ่มหรือลดได้ตามความจำเป็น นอกจากนี้ยังมีบริการเสริม เช่น backup database, server uptime, update os และอีกมากมาย
  • 11. 6 3.2 Agile development process คือการแตกย่อยงานที่ต้องพัฒนาทั้งหมดออกมาเป็น milestone ที่เล็กลง และเริ่มพัฒนาแอปเราเป็น รอบๆ วนลูปไปเรื่อยๆ ในแต่ละรอบจะมีการวางแผน, การพัฒนา, การเทส, และการรีวิว เรื่อง Agile เป็นเรื่อง ที่มีการเผยแพร่เยอะ และมีรายละเอียดเยอะ แต่ในบทความนี้จะเล่าแค่คร่าวๆ ในระดับที่เพียงพอต่อการ ทำงานในแต่ละ step ก็พอ การวางแผน การวางแผนคือการแบ่งงานออกเป็นลิสต์ของ task ที่จะ code ในรอบ iteration นี้ แต่ละ task จะต้องมี requirement ที่ชัดเจน หลังจากที่ developer เข้าใจ requirement ดีแล้ว developer ก็จะ ประเมินเวลาที่ต้องใช้ในการทำแต่ละ task เพื่อที่จะกระจายงานกันไปทำได้อย่างสมดุลกับปริมาณงานที่ทีมทำ ได้ในแต่ละ sprint Developer จะเริ่มวางแผนว่าจะเขียน solution ยังไงเพื่อมาแก้ปัญหาในแต่ละ task developer เก่งๆจะหาทาง reuse code ทั้งแอปให้มากที่สุด เช่นพวก style หรือ function ที่ใช้ร่วมกันได้ ถ้าต้องเปลี่ยน design ก็แค่ไปอัพเดทที่เดียวก็จะเปลี่ยนทั้งหมด ไม่ต้องไปนั่งไล่อัพเดททุกๆที่ การพัฒนา Developer จะเริ่ม code ตาม requirement ใน task ที่ได้รับมอบหมาย developer ต้องเข้าใจ เป้าหมายสูงสุดของแอป และเจตนาของแต่ละ task ถ้าบางอย่างมันทำไปแล้วดูไม่ถูกต้อง developer ต้องรีบ มาบอก PM เพื่อจะได้หาทางออกกัน เมื่อ task นั้นๆ เสร็จก็จะ deploy ขึ้น development version ให้ tester เทสได้ การเทส การเทสควรทำโดยคนที่ไม่ใช่ developer ที่ code แอปนี้ขึ้นมา เพราะ developer จะรู้อยู่แล้วว่า ตรงไหนทำอะไรได้ บางทีก็จะไม่เจอสิ่งที่ user ที่ใช้งานจริงจะเจอเมื่อใช้งานทั่วไป การเทสมีหลายประเภทใน แต่ละความคืบหน้าของการพัฒนา Functional Test การเทสว่า feature นี้ทำงานได้ถูกต้องตาม requirement หรือไม่ ทีม QA จะมี test case, action step และผลลัพธ์ที่คาดหวังว่าจะให้มันเกิด Usability Testing เทสว่าผู้ใช้ไม่งง และใช้งานง่ายพอมั้ย ตอนเทสควรเอาคนที่เคยเห็นแอปเป็นครั้ง แรกมาเทส เพื่อจำลองว่าเค้าเป็นคนที่เพิ่งเริ่มใช้จริงๆ โดยกำหนด target group เพื่อนำมาเทส สัมภาษณ์ว่า เค้ามี background ยังไง จากนั้นก็ให้เค้าใช้แอปเหมือนคนเพิ่งเห็นแอปนี้ครั้งแรกใน store ไม่ต้องแนะนำวิธีใช้ ดูว่าเค้าใช้แอปเรายังไง ติดตรงไหน หลังจากเสร็จก็ถาม feedback และนำมาปรับปรุงแอปต่อไป Performance Testing ถ้าแอปใช้เวลา 20 วิในการเปิด ต่อให้ทำงานถูกต้องก็คงไม่มีใครใช้ Performance Testing ต้องทำก่อนปล่อยให้ user จริงใช้ แต่ถ้าเทสเจอตั้งแต่แรกๆ ก็อาจจะทำให้แก้ไขได้ ง่ายกว่าไปแก้ตอนท้าย
  • 12. 7 Regression Testing เทส feature ที่เคยทำเสร็จและเทสผ่านไปใน sprint ก่อนๆ เพราะการทำงาน ใน sprint นี้อาจส่งผลกระทบกับ feature เก่าทำให้ทำงานผิดพลาดได้ tester ที่ดีควรจะมี list ของ test case เพื่อมาเทสของ sprint ที่ผ่านไปแล้วด้วย Device-Specific Testing เทสบนหลายๆ screen size และ OS version หรือ browser มีหลาย tool ที่ช่วยจำลองเครื่องหลายๆรุ่นได้ แต่ก็ต้องเทสบนเครื่องจริงจำนวนนึง เพื่อให้มั่นใจว่ามันทำงานได้แน่ๆ บนเครื่องส่วนใหญ่ User Acceptance Testing ให้ user จริงๆ เทส และเก็บ feedback จริง เมื่อเจอบัคก็ต้องสร้าง task ให้ developer ไปแก้ไขและปิด issue task นี้ sprint รีวิว/retrospective ตอนท้ายของทุก sprint จะมีประชุมเพื่อคุยกับทุกคนที่เกี่ยวข้องว่า sprint ที่ผ่านมาเป็นยังไงบ้าง อะไรดี อะไรไม่ดี ถ้ามีปัญหาอะไรก็จะได้พยายามแก้ไขไม่ให้เกิดอีกใน sprint หน้า ถ้าบางอย่างมันดีในส่วน ไหน ก็นำมาใช้กับส่วนอื่นๆ พอจบ sprint review ก็จะต้องวนกลับไป ขั้นตอนการวางแผน และทำวนไป เรื่อยๆ จนแอปเสร็จ Beta testing เมื่อแอปเราเสร็จเรียบร้อย เราอาจจะทำ beta launch อีกรอบ beta launch คือการให้ผู้ใช้งานกลุ่ม เล็กๆ ใช้งานจริงในสถานการณ์จริงเหมือนกับแอปเรา launch ไปแล้ว ส่วนใหญ่กลุ่มนี้จะเป็น power user, early adopter หรือลูกค้าที่ชอบเราเป็นทุนเดิม ในขั้นตอนนี้เราจะได้ข้อมูลที่หลากหลายขึ้นอย่างมาก เรา อาจจะเจอปัญหาที่ไม่เคยเทสเจอมาก่อนมากมาย ซึ่งดีกว่าปล่อยแอปและทำการตลาดแล้วเพิ่งมาเจอปัญหาที หลัง หลังจาก Beta testing แล้วแก้ปัญหาที่พบไปจนหมด และไม่มีปัญหาใหม่ๆ รายงานมาอีกแล้ว ก็เริ่ม step ต่อไปได้ 4. ปล่อยแอป แอปทั่วไปจะมี 2 ส่วนที่สำคัญที่เราต้อง deploy ก็คือ web server กับ client ที่ไว้บน Google Play หรือ Apple Store Web API (Server) ส่วนนี้คือการรับส่งและเก็บข้อมูลของ mobile app ถ้า server โดนใช้งานหนักเกิน หรือล่ม แอปก็ ทำงานไม่ได้ไปด้วย server ต้องสามารถ scale ได้เมื่อเกิดเหตุการณ์ไม่คาดฝันหรือแอปเกิดบูมขึ้นมา เทคโนโลยีฝั่ง server ก็มีหลากหลาย ตั้งแต่ Infra ไปจนถึง programming ยกตัวอย่างเช่น AWS, Google Cloud, Kubernetes, Docker, Node.js, RoR, etc.
  • 13. 8 App Store การอัพแอปขึ้น store เราต้องมั่นใจว่าแอปได้ config ถูกต้องสำหรับ production มีขั้นตอนหลาย ขั้นตอนในการทำ มีฟอร์มหลายอันที่ต้องกรอก ต้องทำ screenshot และเนื้อหาสำหรับ marketing ต้องเขียน คำอธิบาย และเราก็ submit ขึ้นไป ฝั่ง Apple จะมีการตรวจที่ละเอียดกว่า Google Play ฝั่ง Apple จะใช้ เวลา 2–3 วัน ส่วน Google Play จะได้ในไม่กี่ชั่วโมงเลย 5. สังเกตการณ์ และวัดผล เมื่อ submit app ขึ้นไปแล้ว งานของเรายังไม่จบ จะเห็นได้ว่าแอปดังๆทุกแอปมีลิสต์ของอัพเดทยาว เป็นหางว่าว ไม่ว่าจะเป็น แก้บัค, เปลี่ยน เพิ่มฟีเจอร์ การสังเกตการณ์สำคัญมากๆ เพื่อเราจะได้รู้ว่าต้อง อัพเดทอะไร นี่คือสิ่งที่ต้องสังเกตการณ์ Crashes มีหลายเจ้าที่ track app crash ได้ Sentry, HockeyApp, Rollbar, Fabric ฯลฯ มันสามารถดูได้ ด้วยว่าก่อน crash user ทำอะไรอยู่หน้าไหน เครื่องรุ่นอะไร และข้อมูลแวดล้อมอื่นๆ และสามารถแจ้งเตือน แบบ realtime ผ่าน email/sms ได้ทันทีที่ crash Analytics analytics ใหม่ๆสามารถ track ข้อมูลได้แทบทุกอย่างของ user ทำให้คุณเข้าใจว่า user คือใคร อายุ เพศ สถานที่ ภาษา และเค้าใช้งานแอปเรายังไง เวลาที่เล่น เวลาที่ใช้ในแอป หน้าที่ดู และไปจนถึงพฤติกรรม เช่น heatmap หรือปุ่มไหนโดนคลิกเยอะสุด ใช้ข้อมูลตรงนี้ทำความเข้าใจ user ให้มากที่สุด และดูว่าตรงไหน ควรลงทุนลงแรงในอนาคต อย่าไปลงแรงกับส่วนที่ไม่ค่อยมีคนใช้ แต่ลงในส่วนที่มีความเป็นไปได้ว่าจะเกิดการ เติบโตสูงที่สุด tool ที่ใช้ Facebook Analytics, Apptentive, Google Analytics, Appsee Performance แอปเปิดได้ไวแค่ไหน ทำงานได้ไวแค่ไหน เราจะดูได้ว่า action ไหนใช้เวลาเท่าไหร่ แล้วเราจะเจอจุด ที่ต้องปรับปรุงที่นั่น เราสามารถตั้งให้ alert เมื่อเกิดเหตุการณ์ที่บาง action ใช้เวลานานผิดปกติ เราจะได้เข้า ไปดูว่าเกิดปัญหาอะไรขึ้นหรือไม่ tool ที่ใช้ Prometheus, New Relic App Store Management Rating และ Review ใน Store เป็นสิ่งสำคัญมากๆ ทุกครั้งที่มี review ใหม่ ต้องมั่นใจว่าเราได้เข้าไป ดูคนรีวิว ขอบคุณ หรือพยายามช่วยเหลือในสิ่งที่ทำให้เค้าโมโหจนให้ 1 ดาว ซึ่งหลายครั้งที่การ customer support แค่เล็กน้อยทำให้เค้าเปลี่ยนจาก 1 ดาวเป็น 5 ดาวได้ และบริการที่ดีก็ทำให้ชื่อเสียงเราดีตามไปด้วย
  • 14. 9 Further Iteration and Improvement เป้าหมายของการสังเกตการณ์คือจะได้รู้ว่าเราควรทำอะไรเป็นสิ่งต่อไป เพราะถ้าเราเปิดให้คนใช้ และ ดูแลแอปนี้ไปสักพัก มันก็จะต้องมี feature ใหม่ๆเพิ่มเข้ามาเพื่อปรับปรุงให้ดีขึ้นไปเรื่อยๆ ใช้ข้อมูลจากผู้ใช้ และการ monitor แล้วเอาไปเข้า development process loop เพิ่ม conversion rate, install number, และรายได้ไปเรื่อยๆ 2.ความประพฤติและลักษณะอันคุณประสงค์ อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 6 และมาตรา 65 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ จึงวางระเบียบว่าด้วยการลงโทษนักเรียนและนักศึกษาไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการลงโทษนักเรียนหรือนักศึกษา พ.ศ.2548 ” ข้อ 2 ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้น ข้อ 3 ให้ยกเลิกระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยลงโทษนักเรียนหรือนักศึกษา พ.ศ.2543 ข้อ 4 ในระเบียบนี้ “ผู้บริหารโรงเรียนหรือสถานศึกษา” หมายความว่า ครูใหญ่ อาจารย์ใหญ่ ผู้อานวยการอธิการบดี หรือ หัวหน้า ของโรงเรียน หรือสถานศึกษา หรือตาแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่นของโรงเรียนหรือสถานศึกษานั้น “การกระทาผิด” หมายความว่า การที่นักเรียนหรือนักศึกษาประพฤติฝ่าฝืนระเบียบข้อบังคับของ สถานศึกษา หรือของกระทรวงศึกษาธิการ หรือกฎกระทรวงว่าด้วยความประพฤติของนักเรียนและ นักศึกษา “การลงโทษ” หมายความว่า การลงโทษนักเรียนหรือนักศึกษาที่กระทาความผิด โดยมีความมุ่งหมาย เพื่อการสั่งสอน ข้อ 5 โทษที่จะลงโทษแก่นักเรียนหรือนักศึกษาที่กระทาผิดมี 4 สถาน ดังนี้ (1) ว่ากล่าวตักเตือน (2) ทาทัณฑ์บน (3) ตัดคะแนนประพฤติ (4) ทากิจกรรมเพื่อให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ข้อ 6 ห้ามลงโทษนักเรียนและนักศึกษาด้วยวิธีรุนแรง หรือแบบกลั่นแกล้งหรือลงโทษด้วยความโกรธ
  • 15. 10 หรือด้วยความพยาบาท โดยคำนึงถึงอายุนักเรียนหรือนักศึกษา และความร้ายแรงของพฤติการณ์ประกอบการ ลงโทษด้วยการลงโทษนักเรียนหรือนักศึกษาให้เป็นไปเพื่อเจตนาที่จะแก้นิสัยและความประพฤติไม่ดีของ นักเรียน หรือนักศึกษาให้รู้สานึกในความผิด และกลับประพฤติตนในทางที่ดีต่อไปให้ผู้บริหารโรงเรียนหรือ สถานศึกษาหรือ ผู้ที่บริหารโรงเรียน หรือสถานศึกษามอบหมายเป็นผู้มีอำนาจในการลงโทษนักเรียน นักศึกษา ข้อ 7 การว่ากล่าวตักเตือน ใช้ในกรณีนักเรียนหรือนักศึกษากระทาความผิดไม่ร้ายแรง ข้อ 8 การทาทัณฑ์บนใช้ในกรณีนักเรียนหรือนักศึกษาที่ประพฤติตนไม่เหมาะสมกับสภาพนักเรียน หรือนักศึกษา ตามกฎกระทรวงว่าด้วยความประพฤตินักเรียนและนักศึกษา หรือกรณีทาให้เสื่อมเสีย ชื่อเสียง และเกียรติศักดิ์ของสถานศึกษา / ฝ่าฝืนระเบียบของสถานศึกษา / ได้รับโทษว่ากล่าวตักเตือนแล้วแต่ ยังไม่เข็ด หลาบการทาทัณฑ์บนให้ทาเป็นหนังสือ และเชิญบิดามารดา หรือผู้ปกครองมาบันทึกรับทราบ ความผิดและรับรองการทาทัณฑ์บนไว้ด้วย ข้อ 9 การตัดคะแนนความประพฤติให้เป็นไปตามระเบียบปฏิบัติว่าด้วยการตัดคะแนนความประพฤติ นักเรียนและนักศึกษาของแต่ละสถานศึกษากำหนด และให้ทาบันทึกข้อมูลไว้เป็นหลักฐาน ข้อ 10 ทากิจกรรมเพื่อให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ใช้ในกรณีที่นักเรียนและนักศึกษากระทาความผิด ที่สมควรต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ข้อ 11 ให้ปลัดกระทรวงศึกษาธิการรักษาการให้เป็นไปตามระเบียบนี้ และให้มีอำนาจตีความและ วินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้
  • 16. 11 บทที่ 3 วิธีการจัดทำโครงงาน การจัดทำโครงงานเรื่องแอปพลิเคชั่นใบตัดคะแนน นี้ เริ่มดำเนินงานตั้งแต่ วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2562 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ สำรวจความคิดเห็นในเรื่องการใช้เทคโนโลยีของนักเรียนในโรงเรียน ประชากร ที่ใช้ นักเรียนมัธยมศึกษา โรงเรียนราชวินิตบางแก้วระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ปีการศึกษา 2562 คณะ ผู้จัดทำได้ดำเนินการตามขั้นตอน ดังนี้ 1.วิธีการดำเนินงาน 1.1 ตารางการดำเนินโครงงาน ลำดับ การดำเนินงาน ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ หมายเหตุ 1 ประชุมเลือกหัวข้อการดำเนินงาน 1 ส.ค. 2562 คณะผู้จัดทำ 2 วางแผนการดำเนินงาน 2 ส.ค. 2562 คณะผู้จัดทำ 3 นำไปหาค่าเฉลี่ย 4 ส.ค. 2562 คณะผู้จัดทำ 4 ลงมือปฏิบัติตามแผนงานที่วางไว้ 7 ส.ค. 2562-9 ส.ค.2562 คณะผู้จัดทำ 5 ทำแบบสอบถาม 10 ส.ค.2562 คณะผู้จัดทำ 6 นำแบบสอบถามไปทดสอบกับกลุ่มตัวอย่าง 12-14ส.ค. 2562 คณะผู้จัดทำ 7 สรุปผลการทำงาน 20 ส.ค. 2562 คณะผู้จัดทำ 8 นำเสนอผลงาน 16 ส.ค.2562 คณะผู้จัดทำ
  • 17. 12 1.2 วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ 1. คอมพิวเตอร์ 2. Microsoft Word 3. Printer 4. แบบสำรวจ 2. เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน เครื่องมือที่ใช้ในการทำโครงงาน เรื่อง แอปพลิเคชั่นใบตัดคะแนน คือโปรแกรม thunkable
  • 18. 13 บทที่ 4 ผลการศึกษา จากการวิจัยเรื่อง แอปพลิเคชั่นใบตัดคะแนน เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ( survey research ) โดย วัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อศึกษาหาข้อมูลเกี่ยวกับความสะดวกสบายในการใช้แอปพลิเคชั่น ซึ่งข้อมูลที่ได้ จากการวิจัยครั้งนี้เป็นข้อมูลพื้นฐานที่มีความสำคัญต่อการทำโครงงานวิจัยครั้งนี้ คณะผู้จัดโครงงานเรื่อง แอปพลิเคชั่นใบตัดคะแนน มีวัตถุประสงค์ ให้มีการแสดงความคิดเห็น เกิดการแลกเปลี่ยนกันระหว่างกลุ่ม เกี่ยวกับความสะดวกสบายของการใช้แอปพลิเคชั่น ประชากรที่ใช้ มัธยมศึกษาปีที่ 5/2 - 4/5 มีวิธีดำเนินงาน คือ มีผลดำเนินงานตามตารางดังนี้ ลำดับ รายการ ค่าร้อยละ ประสิทธิภาพ 5 4 3 2 1 x แปลผล 1 สถานที่ในการแจกแบบสอบถาม 66.6 33.3 - - - 4.6 มากที่สุด 2 สามารถอธิบายได้เข้าใจชัดเจน 60 40 - - - 4.6 มากที่สุด 3 อธิบายด้วยความสุภาพและเป็นมิตร 73.3 26.6 - - - 4.7 มากที่สุด 4 สามารถเข้าใจเนื้อหาได้โดยง่าย 60 40 - - - 4.6 มากที่สุด 5 ความถูกต้องของข้อความและเนื้อหา 46.6 53.3 - - - 4.4 มาก 6 สามารถนำไปแลกเปลี่ยนความคิดเห็น กับผู้อื่น 60 40 - - - 4.6 มากที่สุด 7 ได้รับประโยชน์จากแลกเปลี่ยนความ คิดเห็น 66.6 33.3 - - - 4.6 มากที่สุด 8 สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน 53.3 46.6 - - - 4.5 มากที่สุด 9 ได้รับความสนุกสนานจากกิจกรรม 66.6 33.3 - - - 4.6 มากที่สุด 10 กิจกรรมและการนำเสนอมีความ น่าสนใจ 60 40 - - - 4.6 มากที่สุด จากตารางผลการดำเนินโครงงาน เรื่อง การไหว้ พบว่า นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีความพึง พอใจในเรื่อง สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันระดับค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.7 ระดับความพึงพอใจ มากที่สุด สามารถอธิบายได้เข้าใจชัดเจนระดับค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.6 ระดับความพึงพอใจ มากที่สุด และสถานที่ในการ แจกแบบสอบถามระดับค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.6 ตามลำดับ
  • 19. 14 บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ สรุปผลการดำเนินโครงงาน คณะผู้จัดได้จัดโครงงานเรื่อง แอปพลิเคชั่นใบตัดคะแนน ตั้งแต่วันที่ 1สิงหาคม พ.ศ.2562 มี วัตถุประสงค์เพื่อ เพื่อจะได้ทราบถึงประโยชน์และความสะดวกในการเข้าถึงแอปพลิเคชั่น อภิปรายผล ผลการดำเนินโครงงาน กลุ่มประชากรที่ใช้ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี กิจกรรมดำเนินการไปได้อย่าง ราบรื่น ผลการดำเนินโครงงานพบว่ากลุ่มประชากรได้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับผู้ชายในอุดมคติของตนได้ อย่างอิสระ ปัญหาของการจัดทำโครงงาน 1. คนในกลุ่มมีเวลาว่างที่ไม่ตรงกัน ประโยชน์ที่ได้รับ 1.รู้ว่าส่วนใหญ่ผู้หญิงมีทัศนคติอย่างไรต่อผู้ชายในอุดมคติ 2.สามารถนำข้อมูลไปต่อยอดในการทำเรื่องอื่นๆได้ 3.ศึกษาการจัดทำโครงงานคอมพิวเตอร์ ข้อเสนอแนะ 1. ประชุมหาเวลาที่ว่างตรงกัน เพื่อจัดทำโครงงานให้เสร็จสมบูรณ์
  • 20. 15 บรรณานุกรม แอปพลิเคชั่นเบื้องต้น. (ม.ป.ป.). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.mindphp.com/%E0%B8%84%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0%B8%B7% E0%B8%AD/73%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84 %E0%B8%A3/3647- application%E0%B9%81%E0%B8%AD%E0%B8%9E%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0 %B9%80%E0%B8%84%E0%B8%8A%E0%B8%B1%E0%B9%88%E0%B8%99- %E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%A3.ht ml (วันที่ค้นข้อมูล : สิงหาคม 2562). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ. (2552). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://person.mwit.ac.th/01- Statutes/NationalEducation.pdf (วันที่ค้นข้อมูล :สิงหาคม 2562). รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน. (ม.ป.ป.). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.slideshare.net/AekapojPoosathan/5-31018403 (วันที่ค้นข้อมูล สิงหาคม 2562).
  • 22. 17
  • 23. 18 ข้อมูลผู้จัดทำ นายธราเวช คงสมบูรณ์ เลขที่ 1 นายมณฑล เปรมมานนท์ เลขที่ 4 นายอรรถกร เชาว์กีรติกุล เลขที่ 5 นางสาวบัวบูชา สาลีพัฒนผล เลขที่ 10 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/8