SlideShare a Scribd company logo
1 of 31
หลักการและทฤษฎี
ขอบเขตโครงงาน สมาชิกในกลุ่ม
วัตถุประสงค์
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
วิธีดาเนินงาน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องสถานที่ดาเนินการ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
แหล่งอ้างอิง
สารบัญ
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ในปัจจุบันมีกล้วยมากมายหลากหลายในชุมชนของในแต่ละชุมชนที่นิยมปลูกกัน กล้วยเป็นพืชที่มี
คนรู้จักกันดี กล้วยสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ทุกส่วน ทั้งต้น กาบ ใบ และผล ส่วนมากจะรับประทานผล
ของกล้วยที่สุกแล้วเพราะเป็นผลไม้ที่มีทุกฤดูกาลและปลอดสารพิษและยังมีประโยชน์ สรรพคุณมากมาย
กล้วยเป็นที่นิยมปลูกกัน เนื่องจากกล้วยเป็นพืชที่สามารถปลูกง่ายและให้ผลเร็วและผลกล้วยคงความสดอยู่
ได้หลายวันก่อนที่จะช้าเน่าเสียไป กล้วยแต่ละชนิดมีชื่อเรียกที่แตกต่างกันของแต่ละพื้นที่ออกไปกล้วย
นอกจากจะรับประทานสดๆแล้วยังสามารถนามาแปรรูปให้คงความสดได้นานให้มีน่าตาที่ดูมาราคาและ
สามารถสร้างรายได้จากการแปรรูปของกล้วยเป็นผลิตภัณฑ์จาหน่ายในชุมชน ด้วยเหตุนี้ผู้ศึกษาจึงเลือกศึกษา
เรื่องราวของกล้วยเพื่อนาไปแปรรูปให้สามารถเก็บไว้ได้นานและสามารถนาไปจาหน่ายเพื่อเป็นรายได้อีกทาง
หนึ่งของคนที่ปลูกกล้วยไว้เยอะและเป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์มากที่สุด
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อเป็นการเพิ่มมูลค่าของกล้วยให้มากขึ้น
2. เพื่อนาความรู้จากการศึกษามาพัฒนาเป็นอาชีพในอนาคตได้
3. เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์อาหารใหม่ๆจากกล้วย
ขอบเขตโครงงาน
ศึกษาโครงงานเกี่ยวกับการแปรรูปอาหารที่ทาจากกล้วย เช่น กล้วยตาก กล้วยกวน
กล้วยอบ เป็นต้น เพื่อเป็นการเพิ่มมูลค่าให้แก่ผลผลิตที่ได้จากกล้วย และเพิ่มความหลากหลาย
ให้ผลผลิต
หลักการและทฤษฎี
กล้วยเป็นไม้ผลที่คนไทยรู้จักกันมานาน เนื่องจากกล้วยมีถิ่นกาเนิดในเอเชียใต้และ
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งประเทศไทยเป็นประเทศหนึ่งในภูมิภาคดังกล่าว จากการศึกษา
พบว่า กล้วยมีวิวัฒนาการถึง ๕๐ ล้านปีมาแล้ว ดังนั้นจึงเป็นไม้ผลที่มนุษย์รู้จักบริโภคเป็น
อาหารกันอย่างแพร่หลาย เชื่อกันว่า กล้วยเป็นไม้ผลชนิดแรก ที่มีการปลูกเลี้ยงไว้ตามบ้าน
และได้แพร่พันธุ์จากเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไปยังดินแดนอื่นๆ ในระยะเวลา
ต่อมา
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
• ลาต้น กล้วยมีลาต้นอยู่ใต้ดินเรียกว่า เหง้า ที่เราเห็นอยู่เหนือพื้นดิน เป็นลาต้นเทียม
ประกอบด้วย กาบใบ ซึ่งจะชูก้านใบและใบเมื่อเจริญแล้ว จะมีใบสุดท้ายก่อนเกิดดอกเรียกว่า ใบธง
• ดอก กล้วยออกดอกเป็นช่อในช่อดอกยังมีกลุ่มช่อดอกย่อยเป็นกลุ่มๆ ระหว่างกลุ่มของช่อ
ดอกย่อย มีกลีบประดับสีม่วงเข้มกั้นเรียกว่า กาบปลี ในช่อดอกย่อยแต่ละช่อมีดอกเพศเมียเรียงซ้อนกันอยู่๒
แถว ซึ่งจะเจริญต่อไปเป็นผล ส่วนดอกเพศผู้อยู่ที่ปลายคือ ส่วนที่เรียกว่า หัวปลี
• ผล กลุ่มดอกเพศเมียเจริญเป็นผลได้โดยไม่ต้องผสมพันธุ์กลุ่มผล กล้วย ๑ กลุ่ม เรียกว่า ๑ หวี
ช่อดอกเมื่อเจริญเป็นผล เรียกว่า เครือ บางเครือมีเพียง ๒ - ๓ หวี บางเครืออาจมี มากกว่า ๑๐ หวี ทั้งนี้
แล้วแต่พันธุ์กล้วยและการบารุงดูแล
• เมล็ด กล้วยบางพันธุ์มีเมล็ด เมล็ดมีลักษณะกลมเล็กบางพันธุ์มีขนาดใหญ่ มีเปลือกหนา แข็ง
สีดา
• ราก เป็นระบบรากฝอย แผ่ไปทางกว้าง
• ใบ มีลักษณะเป็นแผ่นใบใหญ่สีเขียว กว้างประมาณ
๗๐ - ๙๐ เซนติเมตร ยาวประมาณ ๑.๗ - ๒.๕เมตร ทั้งปลายและโคนใบมน
รูปใบขอบขนาน
หลักการแปรรูปอาหาร
หลักการแปรรูปอาหาร การแปรรูปอาหารมีหลายวิธี บางวิธีทาได้ง่ายโดย
สามารถทาได้ในระดับครัวเรือน แต่บางวิธีต้องทาในระดับอุตสาหกรรม ซึ่งอาหารที่ผ่าน
การแปรรูปแล้วบางอย่างเก็บได้หลายวัน บางอย่างเก็บได้เป็นเดือนและบางอย่างเก็บได้เป็น
ปีโดยยังเป็นที่ยอมรับของผู้บริโภค ก่อนที่จะแปรรูปหรือถนอมอาหาร ควรทราบสาเหตุของ
การเสื่อมเสียของอาหาร เพื่อจะได้เลือกวิธีการแปรรูปอาหารได้อย่างเหมาะสม สาหรับ
สาเหตุการเสื่อมเสียของอาหารส่วนใหญ่เกิดจาก
• เอนไซม์(enzyme) มีอยู่ในวัตถุดิบทั่วไปทั้งอาหารจาพวกเนื้อสัตว์ผัก และ
ผลไม้เอนไซม์เป็นสารอินทรีย์ทาหน้าที่ เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาเคมีในสิ่งมีชีวิต เช่น เอนไซม์
ในผลไม้ทาเกิดการเปลี่ยนเป็นสีน้าตาล เกิดการเปลี่ยนแปลงของกลิ่นรส ทาให้เกิดการสุก
งอม เอนไซม์ถูกทาลายได้โดยความร้อน เช่น การลวก การต้ม ส่วนการเก็บในที่เย็น
เอนไซม์จะหยุดทางานชั่วคราว หรือทางานช้าลง
• จุลินทรีย์(microorganism) ได้แก่ เชื้อรา แบคทีเรีย ยีสต์พบทั่วไปในน้า
อากาศ และดิน โดยปนเปื้อนเข้ามาตั้งแต่กระบวนการหลังการเก็บเกี่ยว หรือการขนย้ายที่
ไม่ถูกวิธี ทาให้ผักหรือผลไม้ช้ามีตาหนิ จุลินทรีย์จะปนเปื้อนเข้าไปตามรอยช้า ทาให้เกิด
การเน่าเสีย
การแปรรูปอาหารมีหลายวิธีโดยมีหลักการใหญ่ๆ ดังนี้
1. การใช้ความร้อนทาลายจุลินทรีย์และเอนไซม์การใช้ความร้อนเพื่อทาลายเอนไซม์และจุลินทรีย์ในอาหาร
สามารถแบ่งตามระดับความร้อนที่ใช้ในกระบวนการแปรรูปได้2 วิธี คือ การใช้ความร้อนสูงเรียกว่า การสต
อริไลส์(sterilization) ความร้อนที่ใช้สูงถึง 121 องศาเซลเซียสและมีระยะเวลานานพอที่จะทาลาย
จุลินทรีย์ในอาหารได้หมด ตัวอย่างเช่น อาหารประเภทเนื้อสัตว์บรรจุดกระป๋ อง ผักในน้าเกลือบรรจุกระป๋ อง
เป็นต้น ส่วนการใช้ความร้อนต่ากว่าจุดเดือดของน้าเรียกว่า การพาสเจอไรส์(pasteurization) ซึ่ง
ทาลายจุลินทรีย์ได้เดียงบางส่วน จึงต้องมีการใช้วิธีการอื่นๆร่วมด้วยเพื่อควบคุมปริมาณจุลินทรีย์ที่เหลือรอด
ไม่ให้เพิ่มจานวนขึ้น ได้แก่ การปรับให้อาหารมีพีเอช(pH) ต่ากว่า 4.5 (เช่น การทาน้าผลไม้บรรจุขวด การทา
ผลไม้กระป๋ อง) หรือการเก็บรักษาที่อุณหภูมิต่า (เช่น นมพาสเจอไรด์ที่ต้องแช่เย็นตลอดเวลา)
2. การใช้ความเย็นเพื่อลดอุณหภูมิของอาหาร การลดอุณหภูมิของอาหาร มีจุดประสงค์เพื่อ
ลดอัตราการเปลี่ยนแปลง ที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยาทางชีวเคมีและจุลินทรีย์ทาให้ยืดอายุการเก็บ
รักษาของอาหารสด และอาหารแปรรูปให้นานขึ้น การเช่เย็นเป็นการลดอุณหภูมิของอาหาร
ให้ต่าลงอยู่ระหว่าง -1 ถึง 8 องศาเซลเซียส หรือสูงกว่าอุณหภูมิจุดเยือกแข็งของอาหารนั้น
ส่วนการแช่แข็งเป็นการลดอุหภูมิ ของอาหารให้ต่ากว่าจุดเยือกแข็งของอาหารนั้น นิยมใช้ที่
อุณหภูมิ -18 องศาเซลเซียสหรือต่ากว่า
3. การลดปริมาณน้าในอาหารหรือการอบแห้งการอบแห้งเป็นวิธีการเก็บรักษาผักผลไม้ที่นิยมใช้กันมานาน
แล้ว โดยเฉพาะประเทศที่กาลังพัฒนาการอบแห้งเป็นการให้ความร้อนแก่อาหารระดับหนึ่งเพื่อไล่เอาน้าออก
จากอาหารให้เหลืออยู่ปริมาณน้อยที่สุด การอบแห้งทาได้หลายวิธี เช่น การตากแดด(sun drying), การ
ใช้ตู้อบแห้งแบบลมร้อน(hot air drier) การทาแห้งโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์(solar drying) ตู้อบ
แห้งแบบสูญญาอากาศ(vacuum shelf drier) การทาแห้งแบบแช่เยือกแข็ง(freeze dry) การทา
แห้งแบบพ่นฝอย(spray drying) การทาแห้งแบบลูกกลิ้ง(drum drying) เป็นต้น อย่างไรก็ตามการ
เสื่อมของอาหารแห้งอาจเกิดขึ้นได้จากจุลินทรีย์ที่ทนต่อความแห้งได้ซึ่งส่วนใหญ่เป็นยีสต์และรา ปริมาณ
จุลินทรีย์ในอาหารอบแห้ง ขึ้นกับจานวนจุลินทรีย์เริ่มต้นในวัตถุดิบก่อนอบแห้ง การเตรียมวัตถุดิบก่อน
อบแห้ง(เช่น การปอกเปลือกการลวก) อุณหภูมิและเวลาที่ใช้ในการอบแห้งปริมาณความชื้นสุดท้าย รวมทั้ง
ความสะอาดและสุขอนามัยระหว่างและภายหลังการอบแห้ง
4. การใช้น้าตาล การใช้น้าตาลในการแปรรูปผักผลไม้ มีวัตถุประสงค์เพื่อปรุงแต่งให้อาหาร
มีรสหวานเป็นหลัก และถ้าใช้น้าตาลในปริมาณสูง (ความเข้มข้นของของแข็งที่ละลายน้าได้
สูงกว่า 70%) จะทาให้เก็บได้นาน เนื่องจากทาให้สภาพของอาหาร ไม่เหมาะสมต่อการ
เจริญของจุลินทรีย์ทั่วไปได้ยกเว้นยีสต์บางชนิด ในบางกรณีที่อาหารมีความเข้มข้นของ
ของแข็งที่ละลายน้าได้ต่ากว่า 70% จึงจาเป็นต้องใช้วิธีการอื่นควบคู่ด้วย เช่น มีการเติมกรด
ลงไปในอาหาร การบรรจุขณะร้อน การฆ่าเชื้อบริเวณผิวหน้าของผลิตภัณฑ์ รวมทั้งการใช้
สารกันเสีย ผักผลไม้ที่ใช้น้าตาลในการแปรรูปได้แก่ น้าผลไม้เข้มข้น แยม เยลลี่ ผลไม้แช่
อิ่ม ผลไม้เชื่อม และผลไม้กวนต่างๆ
5. การหมักดอง การหมักดองเป็นกระบวนการแปรรูปอาหารที่อาศัยการทางานของจุลินทรีย์ซึ่งสร้าง
เอนไซม์ออกมาเปลี่ยนสารอาหาร ที่เป็นองค์ประกอบทางเคมีของวัตถุดิบเริ่มต้นให้เป็นแอลกอฮอล์กรด
อินทรีย์และก๊าซคาร์บอนไดออกไซม์ทาให้ผลิตภัณฑ์อาหารมีลักษณะเนื้อสัมผัสส่วนประกอบทางเคมี
และรสชาติเปลี่ยนไปจากวัตถุดิบเริ่มต้น อาหารหมักจะมีอายุการเก็บรักษานานขึ้น เนื่องจากปริมาณกรดที่
เพิ่มขึ้น เช่น ผักดองเปรี้ยว ผลไม้ดอง น้าส้มสายชูหมัก หรือมีแอลกอออล์เพิ่มขึ้น เช่น เบียร์ ข้าวหมาก ไวน์
รวมทั้งในกระบวนการหมัก อาจมีการใช้เกลือในปริมาณสูงทาให้ยับยั้งจุลินทรีย์ที่ทาให้เกิดการเน่าเสียได้
เช่น เต้าเจี้ยว น้าปลา แตงกวาดองเค็มจุลินทรีย์ในกระบวนการหมักอาจเป็นจุลินทรีย์ในธรรมชาติ เช่น การ
ทาผักดองเปรี้ยว แหนม ปลาส้ม ซึ่งในกระบวนการหมักแบบนี้ต้องควบคุมภาวะต่างๆเพื่อยับยั้งจุลินทรีย์ที่
ทาให้เกิดการเน่าเสีย แต่ส่งเสริมให้จุลินทรีย์ที่ทาให้เกิดการหมักเจริญเติบโตได้ได้แก่ ปริมาณเกลือที่ใช้
สารอาหารคาร์โบไฮเดรตที่ต้องเติมลงไปรวมทั้งความสะอาดในการผลิตการดองวัตถุดิบแต่ละชนิด
ต้องการความเข้มข้นของเกลือแตกต่างกันไปการดองวัตถุดิบแต่ละชนิดต้องการความเข้มข้นของเกลือ
แตกต่างกันไปการดองผักดองเปรี้ยว เช่น ผักกาดดองเปรี้ยว ใช้เกลือ 2.0-2.5% แตงกวาดองเค็ม(salt
stock) ต้องการเกลือ 15-20% ในขณะที่การหมักปลาส้มจะใช้เกลือ 7% เมื่อเทียบกับน้าหนักปลา ถ้า
ปริมาณเกลือไม่เหมาะสมจะทาให้เกิดความเสียหายได้เช่น ถ้าเกลือน้อยไปจุลินทรีย์ที่ทาให้เน่าเสียจะเจริญ
ได้แต่ถ้าปริมาณเกลือมากไปก็จะทาให้จุลินทรีย์ที่ทาให้เกิดการหมักเจริญไม่ได้อาหารที่ต้องการดองให้
เกิดรสเปรี้ยว ต้องมีการเติมสารอาหารพวกคาร์โบไฮเดรตลงไปด้วยเช่น การทาผักกาดดองเปรี้ยวจะเติมน้า
ซาวข้าว การทาปลาส้ม แหนม จะเติมข้าวเจ้า หรือข้าวเหนียว การทากิมจิจะเติมน้าตาลทรายเป็นต้น
6. การถนอมอาหารโดยใช้สารเคมี สารเคมีที่ใช้เพื่อการถนอมอาหาร ได้แก่ สารที่ยับยั้งการ
เจริญเติบโตของจุลินทรีย์ที่ทาให้อาหารเน่าเสีย สารป้องกันการเปลี่ยนแปลงทางเคมีของ
อาหาร โดยชนิดและปริมาณที่ใช้ ต้องเป็นไปตามพระราชบัญญัติอาหารกระทรวงสาธารสุข
ความสาคัญของการแปรรูปอาหาร
อาหารมีหลายประการ ได้แก่ ช่วยบรรเทาความขาดแคลนอาหาร ช่วยให้เกิดการ
กระจายอาหาร ช่วยให้มีอาหารบริโภคนอกฤดูกาล ใช้อาหารเหลือให้เกิดประโยชน์ ช่วยให้
เกิดความสะดวก ช่วยยืดอายุการเก็บรักษาอาหารไว้ให้ได้นาน เกิดผลิตภัณฑ์อาหารชนิด
ใหม่ ช่วยส่งเสริมให้เกิดอาชีพ และช่วยเพิ่มมูลค่าของผลผลิตทางการเกษตรและลดปัญหา
ผลผลิตล้นตลาด ในการถนอมอาหารนั้นวัตถุดิบมีความสาคัญมาก ผู้ผลิตต้องสามารถเลือก
ซื้อวัตถุดิบที่ดีได้ไม่ว่าจะเป็นวัตถุดิบทางด้านผลิตผลจากสัตว์หรือพืช เนื่องจากผลผลิตจะมี
คุณภาพดีนั้นย่อมต้องมาจากวัตถุดิบที่ดี
ตัวอย่างวิธีการแปรรูปอาหารจากกล้วย
กล้วยฉาบ
https://www.youtube.com/watch?v=leTlU5ok03M
กล้วยอบกรอบ
https://www.youtube.com/watch?v=_4L4i1MkhRM
กล้วยตาก
https://www.youtube.com/watch?v=HpKcKCB2flA
กล้วยกวน
https://www.youtube.com/watch?v=QnE-9sDQ9AM
ประโยชน์ของการกินกล้วย
1.ช่วยลดกลิ่นปากได้ดีในระดับหนึ่ง แต่ทั้งนี้ควรทานหลังตื่นนอนตอนเช้าทันทีแล้วค่อย
แปรงฟัน และถ้าเป็นกล้วยน้าว้าจะยิ่งช่วยลดกลิ่นปากได้ดีขึ้น
2.กล้วย ช่วยควบคุมอุณหภูมิในร่างกายให้เป็นปกติ
3.กล้วยอุดมไปด้วยวิตามินและแร่ธาตุต่างๆที่สาคัญและจาเป็นต่อร่างกาย เช่น ธาตุเหล็ก
ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แมกนีเซียม คาโบไฮเดรต โปรตีน วิตามินเอ วิตามินบี6 วิตามินบี
12 และวิตามินซี
4.ช่วยเพิ่มพลังให้แก่สมองของคุณ เพราะมีสารที่ช่วยทาให้มีเกิดสมาธิและมีการตื่นตัว
ตลอดเวลา
5.กล้วยก็มีสารต่อต้านอนุมูลอิสระเหมือนกันนะ ที่ช่วยในการชะลอความแก่ตัวของร่างกาย
นั่นเอง
6.กล้วยมีส่วนช่วยในการลดความอ้วนได้เพราะช่วยปรับระดับน้าตาลในเลือกช่วยให้ลด
อาการอยากกินของจุกจิกลงได้พอสมควร
7.สาหรับผู้ที่มีอาการนอนไม่หลับ กล้วยคือคาตออบสาหรับคุณ
8.อาการหงุดหงิดยามเช้า กล้วยก็ช่วยคุณได้เหมือนกัน
9.ช่วยลดอาการหงุดหงิดของผู้หญิงในช่วงประจาเดือนมา
10.ช่วยลดอาการเมาค้างได้ดีระดับหนึ่ง เพราะจะช่วยชดเชยน้าตาลที่ร่างกายขาดไปในขณะ
ดื่มแอลกอฮอล์
11.เป็นตัวช่วยสาหรับผู้ที่ต้องการอยากเลิกสูบบุหรี่ เพราะในกล้วยมีวิตามินเอ ซี บี6 บี12
โพรแทสเซียม และแมกนีเซียมที่ช่วยให้ร่างกายฟื้นตัวได้เร็วขึ้นจากการเลิกนิโคติน
ประโยชน์การแปรรูปอาหาร
1. ทาให้มีอาหารรับประทานทั้งในเวลาปกติและเวลาที่ขาดแคลนหรือนอกฤดูกาลของอาหารนั้น
2. เป็นการประหยัดทรัพยากรธรรมชาติและรายจ่ายเนื่องจากมีอาหารสดตามฤดูกาลมากจนรับประทานไม่ทัน
ถ้าปล่อยไว้จะเกิดอาการเน่าเสียตามธรรมชาติ แต่ถ้านามาถนอมไม่ให้เน่าเสีย ก็จะสามารถเก็บอาหารนั้นไว้
รับประทานในเวลาที่อาหารมีราคาแพง หรือหายากเมื่ออยู่นอกฤดูกาลได้
3. ทาให้ได้รับประทานอาหารที่มีรูปลักษณะและรสชาติที่แปลกออกไปเช่น ผลไม้กระป๋ อง และผลไม้กวน
4. ทาให้เกิดการกระจายอาหารไปยังชุมชนที่มีความอดอยากหรือขาดแคลนอย่างทั่วถึง
5. ทาให้มนุษย์สามารถควบคุมผักและผลไม้ให้สุกได้ตมเวลาที่ต้องการโดยใช้เทคโนโลยีทางอาหาร
6. ทาให้เกิดอาชีพ และการเพิ่มพูนรายได้จากการอุตสาหกรรมการถนอมอาหารเพื่อการค้า
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
- ปรึกษาเลือกหัวข้อ
- นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน
- ศึกษารวมรวบข้อมูล
- จัดทารายงาน
- นาเสนอครู
- ปรับปรุงแก้ไข
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
- อินเทอร์เน็ต
- หนังสือที่เกี่ยวข้อง
- คอมพิวเตอร์
- โทรศัพท์
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอ
บ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
11 12
1
3
1
4
15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1. ผู้จัดทามีความเข้าใจในหัวข้อที่สนใจ
2. สามารถนาความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
3. สามารถนาความรู้ไปเผยแพร่ให้กับเพื่อนนักเรียนได้
4. ผู้จัดทามีความเข้าใจในการทางานอย่างเป็นระบบมากขึ้น
สถานที่ดาเนินการ
1. ห้องคอม โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
2. ห้องสมุด โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
3. คอมพิวเตอร์ส่วนตัวที่บ้าน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1. กลุ่มสารระเกษตร
2. กลุ่มสารระวิทยาศาสตร์
3. กลุ่มสาระการงานอาชีพ
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
กล้วย http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=30&chap=6&page=t30-6-
infodetail01.html
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=30&chap=6&page=t30-6-
infodetail02.html
หลักการแปรรูปอาหาร
http://www.google.co.th/url?sa=t&rct=j&q=&esrc=s&souw3R7VhZrkSSZoVHM8m_5mKs
ความสาคัญของการแปรรูปอาหาร http://www.foodnetworksolution.com/wiki/word/
การแปรรูปอาหารจากกล้วย https://cooking.kapook.com/view172031.html
ประโยชน์ของการกินกล้วย https://medthai.com/%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0
ประโยชน์ของการแปรรูปอาหาร https://lovejack.wordpress.com/2010/09/14/%E0%
สมาชิกในกลุ่ม
นางสาวจิณณรัตน์ จอมอูป ม.6/13 เลขที่ 30
นางสาววิมพ์วิภา อิกาเหนิด ม.6/13 เลขที่ 38

More Related Content

Similar to กล้วยไป

โครงงานบล็อกเรื่องอาหาร
โครงงานบล็อกเรื่องอาหารโครงงานบล็อกเรื่องอาหาร
โครงงานบล็อกเรื่องอาหารBank Kitsana
 
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชเทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชdnavaroj
 
โครงงานสุขภาพนำหมักชีวภาพ
โครงงานสุขภาพนำหมักชีวภาพโครงงานสุขภาพนำหมักชีวภาพ
โครงงานสุขภาพนำหมักชีวภาพbeau1234
 
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)Nutthakorn Songkram
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลสตรอว์เบอร์รี
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลสตรอว์เบอร์รีข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลสตรอว์เบอร์รี
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลสตรอว์เบอร์รีPostharvest Technology Innovation Center
 
แผนการเรียนรู้เกษตร7
แผนการเรียนรู้เกษตร7แผนการเรียนรู้เกษตร7
แผนการเรียนรู้เกษตร7juckit009
 
__________________________________
  __________________________________  __________________________________
__________________________________Thanapol3012
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงChok Ke
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2thkitiya
 
บทความน่ารู้
บทความน่ารู้บทความน่ารู้
บทความน่ารู้Thidarath609
 
การศึกษาประสิทธิภาพของน้ำหมักชีวภาพจากเศษดอกเห็ดที่มีผลต่อผลผลิตของเห็ดนางฟ้า
การศึกษาประสิทธิภาพของน้ำหมักชีวภาพจากเศษดอกเห็ดที่มีผลต่อผลผลิตของเห็ดนางฟ้าการศึกษาประสิทธิภาพของน้ำหมักชีวภาพจากเศษดอกเห็ดที่มีผลต่อผลผลิตของเห็ดนางฟ้า
การศึกษาประสิทธิภาพของน้ำหมักชีวภาพจากเศษดอกเห็ดที่มีผลต่อผลผลิตของเห็ดนางฟ้าsombat nirund
 
กิตติกวิน.docx
กิตติกวิน.docxกิตติกวิน.docx
กิตติกวิน.docxssuser1a1fe1
 
กิตติกวิน.docx
กิตติกวิน.docxกิตติกวิน.docx
กิตติกวิน.docxssuser1a1fe1
 
แผนการเรียนรู้เกษตร8
แผนการเรียนรู้เกษตร8แผนการเรียนรู้เกษตร8
แผนการเรียนรู้เกษตร8juckit009
 
ใบงานที่10
ใบงานที่10ใบงานที่10
ใบงานที่10Rut' Np
 

Similar to กล้วยไป (20)

โครงงานบล็อกเรื่องอาหาร
โครงงานบล็อกเรื่องอาหารโครงงานบล็อกเรื่องอาหาร
โครงงานบล็อกเรื่องอาหาร
 
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชเทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
 
โครงงานสุขภาพนำหมักชีวภาพ
โครงงานสุขภาพนำหมักชีวภาพโครงงานสุขภาพนำหมักชีวภาพ
โครงงานสุขภาพนำหมักชีวภาพ
 
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลสตรอว์เบอร์รี
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลสตรอว์เบอร์รีข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลสตรอว์เบอร์รี
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลสตรอว์เบอร์รี
 
แผนการเรียนรู้เกษตร7
แผนการเรียนรู้เกษตร7แผนการเรียนรู้เกษตร7
แผนการเรียนรู้เกษตร7
 
Curri 02 11
Curri 02 11Curri 02 11
Curri 02 11
 
__________________________________
  __________________________________  __________________________________
__________________________________
 
slide
slideslide
slide
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผง
 
botany
botanybotany
botany
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
 
บทความน่ารู้
บทความน่ารู้บทความน่ารู้
บทความน่ารู้
 
การศึกษาประสิทธิภาพของน้ำหมักชีวภาพจากเศษดอกเห็ดที่มีผลต่อผลผลิตของเห็ดนางฟ้า
การศึกษาประสิทธิภาพของน้ำหมักชีวภาพจากเศษดอกเห็ดที่มีผลต่อผลผลิตของเห็ดนางฟ้าการศึกษาประสิทธิภาพของน้ำหมักชีวภาพจากเศษดอกเห็ดที่มีผลต่อผลผลิตของเห็ดนางฟ้า
การศึกษาประสิทธิภาพของน้ำหมักชีวภาพจากเศษดอกเห็ดที่มีผลต่อผลผลิตของเห็ดนางฟ้า
 
ใบงานที่ 10
ใบงานที่ 10ใบงานที่ 10
ใบงานที่ 10
 
กิตติกวิน.docx
กิตติกวิน.docxกิตติกวิน.docx
กิตติกวิน.docx
 
กิตติกวิน.docx
กิตติกวิน.docxกิตติกวิน.docx
กิตติกวิน.docx
 
แผนการเรียนรู้เกษตร8
แผนการเรียนรู้เกษตร8แผนการเรียนรู้เกษตร8
แผนการเรียนรู้เกษตร8
 
ใบงานที่10
ใบงานที่10ใบงานที่10
ใบงานที่10
 

กล้วยไป