SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
Gram - Positive
Bacterial
Bacillus
Bacillus cereus
คือ แบคทีเรีย (bacteria) รูปร่างเป็ นท่อน
(rod shape) ย้อมติดสีแกรมบวก (Gram
positive bacteria) เคลื่อนที่ด้วยแฟลกเจลล่า
(flaggella) ต้องการออกซิเจนในการเจริญ
(aerobic bacteria) แต่บางชนิด
เป็น facultative anaerobe
ปัจจัยที่มีผลต่อการ
เจริญเติบโตของ
แบคทีเรียในกลุ่ม Bacillus ส่วนใหญ่เจริญ
ได้ดีที่อุณภูมิปานกลาง 30 - 45 องศา
เซลเซียส แต่บางสายพันธุ์เจริญได้ดีที่อุณหภูมิ
สูง (thermophilic bacteria) ซึ่งเป็ นสาเหตุ
การเสื่อมเสียของอาหารกระป๋ อง (canned
food spoilage)
จากผลการทดลองในห้องปฏิบัติการพบว่า
ในสภาวะที่เหมาะสมกับการเจริญ Bacillus
หลายสายพันธุ์ มีระยะเวลาการแบ่งตัว
โรคและอาการของโรค
โรคอาหารเป็ นพิษ (food poisoning)
เกิดจากบาซิลัสซีเรียส ทาให้เกิดอาการ 2
ลักษณะ
- อาการอาเจียน (Emetic
syndrome) เกิดจากที่ร่างกายได้รับสารพิษ
ผู้ป่ วยจะเกิดอาการคลื่นไส้และอาเจียน โรค
อาหารเป็ นพิษลักษณะนี้ มักเรียกว่า Chinese
restaurant syndrome
- อาการถ่ายเหลว (Diarrhea
แหล่งที่พบ
พบทั่วไปในธรรมชาติในดิน น้าเชื้อสร ้าง
สปอร ์ซึ่งทนความแห้งแล้งได้ดี สปอร ์จึงพบได้
ทั่ วไ ป ใ น ฝุ่ น ค วั น แ ล ะ ป ะ ป น ม า กั บ
อ า ห า ร แ ห้ง เ ช่น น้ า ต า ล วัต ถุ เ จื อ ป น
อาหาร เครื่องเทศ และพบบ่อยในอาหาร
กลุ่ม แป้ ง เมล็ดธัญชาติ เช่น ข้าวหุงสุก เส้น
ก๋วยเตี๋ยว พาสต้า อาหารกึ่งสาเร็จรูป เช่น ข้าว
กึ่งสาเร็จรูป
การป้ องกัน
- หุงต้ม ผัด อาหาร ให้ร ้อนจัด อุ่นให้เดือด
และเก็บอาหารที่ทาให้สุกแล้วที่อุณหภูมิต่า
หลีกเลี่ยงการเก็บอาหารช่วงอุณหภูมิที่เป็ น
อันตราย คือ 4-55 องศาเซลเซียส
- ป้ องกันการเกิดปนเปื้อนข้าม (cross
contamination) โดยเฉพาะอาหารที่ปรุงสุก
อาหารพร ้อมรับประทาน กับอาหารดิบ
- ผลิตอาหารให้ถูกสุขลักษณะ ตามหลัก
Listeria
monocytogenes
Listeria monocytogenes
เชื้อแบคทีเรียที่ทาให้เกิดโรค Listeriosis
ซึ่งเป็ นอันตรายต่อเด็กแรกเกิด หญิงมีครรภ์ และ
คนชรา หรือ ผู้มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง เชื้อ
Listeria เป็ นเชื้อแบคทีเรียแกรมบวก ไม่สร ้าง
สปอร ์ สามารถเจริญได้ในสภาพที่มีหรือไม่มี
ออกซิเจน เจริญเติบโตได้ดีที่อุณหภูมิ 30-37 C
และสามารถเจริญเติบโตได้ในอุณหภูมิต่าเช่น ใน
ตู้เย็น เชื้อ Listeria จัดอยู่ใน อาณาจักร
Firmicutes เช่นเดียวกับเชื้อแบคทีเรีย Bacillus
แหล่งโรคที่พบ
1. อาหารสาเร็จรูปที่ประกอบจากเนื้อสัตว์เช่น
ฮอทด็อก
2. น้านมดิบ ผลิตภัณฑ์นมดิบ และ soft
cheese
3. ผลิตภัณฑ์เนื้อดิบ
4. อาหารทะเลสัตว์
ลักษณะที่พบ
• ระยะฝักตัวของเชื้อ
3-70 วัน
• อาการโรค
คล้ายอาการของไข้หวัด คือ ไข้หนาวสั่น ปวด
ศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ คอแข็ง สับสน อ่อนแรง
อาเจียน อาจมีอุจจาระร่วง ติดเชื้อในกระแสเลือด
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
• ระยะอาการป่ วย
หลายวัน จนถึงสัปดาห์
การป้ องกันการติดเชื้อ
1. ไม่ดื่มน้านมดิบหรืออาหารที่ประกอบจาก
น้านมดิบ รวมทั้งผลิตภัณฑ์นมที่ ไม่ผ่านการฆ่า
เชื้อ
2. ล้างและขัดถูผิวด้านนอกของผัก ผลไม้ ด้วย
น้าไหลสะอาดจานวนมากก่อน รับประทาน และ
ควรล้างผลไม้แม้จะ3ปอกเปลือกก่อนรับประทานก็
ตาม
4.ปรุงอาหารให้สุกก่อนการรับประทาน
5. รับประทานอาหารให้หมด ไม่เก็บค้างมื้อ
ความปลอดภัยในการ
รับประทาน
1.ขัดถูและล้างเปลือกด้านนอกของผลไม้ด้วยน้า
ไหลที่สะอาด ด้วยน้าจานวน มาก
2. ซับผิวด้านนอกผักหรือผลไม้ด้วยกระดาษหรอ
ผ้าแห้งที่สะอาด
3.ล้างมีดให้สะอาด ก่อนใช ้มีดตัดแต่งผักหรือ
ผลไม้
4. ไม่รับประทานผลไม้ที่ผ่านการตัดแต่งแล้วทิ้งไว้
นอกตู้เย็นนานเกิน 4 ชั่วโมง
Clostridium
Clostridium
เป็นแบคทีเรียก่อโรค (pathogen)
สามารถสร ้างสารพิษที่มีอันตรายร ้ายแรงต่อ
มนุษย์และสัตว์พบได้ในอาหารประเภทที่มีความ
เป็นกรดต่า (low-acid food) มีรูปร่างเป็นท่อน
สร ้างไม่ต้องการอากาศ เป็นสาเหตุของการเสื่อม
เสียของอาหาร และบางสายพันธุ์มีเอนไซม์ย่อย
โปรตีน ทาให้เกิดกลิ่นเหม็นเน่า
ลักษณะสาคัญ
• ย้อมติดสีแกรมบวก (Gram positive
bacteria)
• รูปร่างเป็นท่อน (rod shape)
• สร ้างสปอร ์(spore forming bacteria)
• ไม่ต้องการอากาศ (anaerobic bacteria)
• สามารถสร ้างสารพิษ (toxin) ที่ทาให้เกิดโรค
botulism
ในอาหารกระป๋ อง (canned food)
แหล่งที่พบ
พบทั่วไปในธรรมชาติ ในดิน ห้วย หนอง
คลองบึง ทะเล โคลน เลน จึงมักพบใน ลาไส้
เหงือกของปลาทั้งน้าจืดและน้าเค็ม ลาไส้ของ
สัตว์เลือดอุ่น นก ในพืชผักที่ปลูกในดิน
โดยเฉพาะส่วนลาต้นใต้ดิน ยิ่งต้องระวังเป็ นพิเศษ
และเนื่องจากเชื้อสร ้างสปอร ์ซึ่งทนความแห้งแล้ง
ได้ดี สปอร ์จึงพบได้ทั่วไปในฝุ่น ควัน และปะปนมา
กับอาหารแห้ง เช่น เครื่องเทศ แป้ง
โรคและอาการของโรค
Clostridium perfringens ทาให้เกิด
โรคอาหารเป็นพิษ (food poisoning) ที่เกิด
จากการบริโภคอาหารที่มีการปนเปื้อนของ
สารพิษที่เชื้อสร ้าง (intoxication) ทาให้มี
อาการคลื่นไส้ ปวดท้อง ท้องร่วง ไม่อาเจียน เกิด
อาการใน 8-22 ชั่วโมง ระยะโรค 12-48 ชั่วโมง
การป้ องกัน
• หุงต้ม ผัด อาหาร ให้ร ้อนจัด อุ่นให้เดือด และ
เก็บอาหารที่ทาให้สุกแล้วที่อุณหภูมิต่า
• ป้องกันการปนเปื้อนข้าม (cross
contamination)
• ผลิตอาหารให้ถูกสุขลักษณะ ตามหลัก GMP
(Good Manufactureing Practise)
Clostridium difficile
Clostridium difficile หรือเรียกกันว่า
C. diff เป็นเชื้อแบคทีเรียที่ก่อให้เกิดอาการ
ท้องเสียและลาไส้ใหญ่อักเสบวิธีการปล่อย
สารพิษ C. diff มักถูกรวมเข้าไปในกลุ่ม
superbug เพราะดื้อต่อยาปฏิชีวนะหลายตัว
- การติดเชื้อ C. Diff มักจะแสดงอาการ
ดังนี้
ท้องเสียแบบถ่าย ไข้สูง ไม่อยากอาหาร คลื่นไส้
ปวดท้อง และเป็นตะคิวที่ท้อง
Clostridium tetani
ลักษณะเรียว เส้นผ่าศูนย์กลางขนาดใหญ่
กว่าเซลล์เช่นเดียวกับไม้ตีกลอง เนื้อพองความ
ขุ่นน้าซุปที่เหลือเนื้อส่วนย่อย ดาจิ๋วผลิตก๊าซ
สร ้าง methyl mercaptan (กลิ่นของความ
เสียหาย) และก๊าซไข่เน่า โดยทั่วไปจะไม่หมัก
น้าตาลที่สามารถละลายเจลาตินผลิตก๊าซไข่เน่า
การก่อตัวของอินโดลที่ไม่สามารถลดไนเตรทไน
ไตรท การย่อยอาหารอ่อนแอของโปรตีน
สามารถอยู่รอดได้ในดินสาหรับทศวรรษที่ผ่านมา
โรคบาดทะยัก (Tetanus)
ผู้ป่ วยที่เป็ นโรคนี้จะมีการหดตัวและแข็ง
เกร็งตัวของกล้ามเนื้อเกิดขึ้นทั่วตัว โดยที่ทาให้
แผ่นหลังมีการยืดตัวออก ซึ่งเป็ นท่าทางที่เป็ น
รูปแบบเฉพาะ ทั้งนี้ แบคทีเรียที่ก่อโรคนี้ชื่อว่า
Clostridium tetani
สมาชิกในกลุ่ม
1.นางสาวปิยะดา มะรินทร ์ ร หั ส 593046048
เลขที่ 46
2.นางสาวพรชนก คมขา ร หั ส 593046049
เลขที่ 47
3.นางสาวพรชิตา เรืองแจ้ง ร หั ส 593046050
เลขที่ 49
4.นางสาวพรพิมล พรมชาติ ร หั ส
593046051 เลขที่ 50

More Related Content

Similar to Gram positive bacterial

บทที่ 2ปรับปรุง
บทที่ 2ปรับปรุงบทที่ 2ปรับปรุง
บทที่ 2ปรับปรุงkasetpcc
 
ผลไม้ไทย
ผลไม้ไทยผลไม้ไทย
ผลไม้ไทยakit2541
 
10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหาร10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหารPanjaree Bungong
 
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชเทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชdnavaroj
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน34LIFEYES
 
ใบความรู้เรื่อง การถนอมอาหาร
ใบความรู้เรื่อง  การถนอมอาหารใบความรู้เรื่อง  การถนอมอาหาร
ใบความรู้เรื่อง การถนอมอาหารDuangsuwun Lasadang
 
การเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืชการเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืชkookoon11
 
Power point อาหารเสริมสุขภาพ
Power point อาหารเสริมสุขภาพPower point อาหารเสริมสุขภาพ
Power point อาหารเสริมสุขภาพPloy Natchalida
 
อาหารเสริมสุขภาพ
 อาหารเสริมสุขภาพ อาหารเสริมสุขภาพ
อาหารเสริมสุขภาพPloy Natchalida
 
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูดอาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูดUsableLabs
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์0636830815
 
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
ใบความรู้ที่ 8
ใบความรู้ที่  8ใบความรู้ที่  8
ใบความรู้ที่ 8chunkidtid
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน24LIFEYES
 

Similar to Gram positive bacterial (20)

บทที่ 2ปรับปรุง
บทที่ 2ปรับปรุงบทที่ 2ปรับปรุง
บทที่ 2ปรับปรุง
 
ˆ 8
ˆ 8ˆ 8
ˆ 8
 
ˆ 8
ˆ 8ˆ 8
ˆ 8
 
bacillus63 (ข้อมูล)
bacillus63 (ข้อมูล)bacillus63 (ข้อมูล)
bacillus63 (ข้อมูล)
 
ผลไม้ไทย
ผลไม้ไทยผลไม้ไทย
ผลไม้ไทย
 
Lesson 2
Lesson 2Lesson 2
Lesson 2
 
10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหาร10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหาร
 
42101
4210142101
42101
 
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชเทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
 
ใบความรู้เรื่อง การถนอมอาหาร
ใบความรู้เรื่อง  การถนอมอาหารใบความรู้เรื่อง  การถนอมอาหาร
ใบความรู้เรื่อง การถนอมอาหาร
 
การเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืชการเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืช
 
Power point อาหารเสริมสุขภาพ
Power point อาหารเสริมสุขภาพPower point อาหารเสริมสุขภาพ
Power point อาหารเสริมสุขภาพ
 
อาหารเสริมสุขภาพ
 อาหารเสริมสุขภาพ อาหารเสริมสุขภาพ
อาหารเสริมสุขภาพ
 
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูดอาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
 
Milk
MilkMilk
Milk
 
ใบความรู้ที่ 8
ใบความรู้ที่  8ใบความรู้ที่  8
ใบความรู้ที่ 8
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2
 

Gram positive bacterial

  • 3. Bacillus cereus คือ แบคทีเรีย (bacteria) รูปร่างเป็ นท่อน (rod shape) ย้อมติดสีแกรมบวก (Gram positive bacteria) เคลื่อนที่ด้วยแฟลกเจลล่า (flaggella) ต้องการออกซิเจนในการเจริญ (aerobic bacteria) แต่บางชนิด เป็น facultative anaerobe
  • 4. ปัจจัยที่มีผลต่อการ เจริญเติบโตของ แบคทีเรียในกลุ่ม Bacillus ส่วนใหญ่เจริญ ได้ดีที่อุณภูมิปานกลาง 30 - 45 องศา เซลเซียส แต่บางสายพันธุ์เจริญได้ดีที่อุณหภูมิ สูง (thermophilic bacteria) ซึ่งเป็ นสาเหตุ การเสื่อมเสียของอาหารกระป๋ อง (canned food spoilage) จากผลการทดลองในห้องปฏิบัติการพบว่า ในสภาวะที่เหมาะสมกับการเจริญ Bacillus หลายสายพันธุ์ มีระยะเวลาการแบ่งตัว
  • 5. โรคและอาการของโรค โรคอาหารเป็ นพิษ (food poisoning) เกิดจากบาซิลัสซีเรียส ทาให้เกิดอาการ 2 ลักษณะ - อาการอาเจียน (Emetic syndrome) เกิดจากที่ร่างกายได้รับสารพิษ ผู้ป่ วยจะเกิดอาการคลื่นไส้และอาเจียน โรค อาหารเป็ นพิษลักษณะนี้ มักเรียกว่า Chinese restaurant syndrome - อาการถ่ายเหลว (Diarrhea
  • 6. แหล่งที่พบ พบทั่วไปในธรรมชาติในดิน น้าเชื้อสร ้าง สปอร ์ซึ่งทนความแห้งแล้งได้ดี สปอร ์จึงพบได้ ทั่ วไ ป ใ น ฝุ่ น ค วั น แ ล ะ ป ะ ป น ม า กั บ อ า ห า ร แ ห้ง เ ช่น น้ า ต า ล วัต ถุ เ จื อ ป น อาหาร เครื่องเทศ และพบบ่อยในอาหาร กลุ่ม แป้ ง เมล็ดธัญชาติ เช่น ข้าวหุงสุก เส้น ก๋วยเตี๋ยว พาสต้า อาหารกึ่งสาเร็จรูป เช่น ข้าว กึ่งสาเร็จรูป
  • 7. การป้ องกัน - หุงต้ม ผัด อาหาร ให้ร ้อนจัด อุ่นให้เดือด และเก็บอาหารที่ทาให้สุกแล้วที่อุณหภูมิต่า หลีกเลี่ยงการเก็บอาหารช่วงอุณหภูมิที่เป็ น อันตราย คือ 4-55 องศาเซลเซียส - ป้ องกันการเกิดปนเปื้อนข้าม (cross contamination) โดยเฉพาะอาหารที่ปรุงสุก อาหารพร ้อมรับประทาน กับอาหารดิบ - ผลิตอาหารให้ถูกสุขลักษณะ ตามหลัก
  • 9. Listeria monocytogenes เชื้อแบคทีเรียที่ทาให้เกิดโรค Listeriosis ซึ่งเป็ นอันตรายต่อเด็กแรกเกิด หญิงมีครรภ์ และ คนชรา หรือ ผู้มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง เชื้อ Listeria เป็ นเชื้อแบคทีเรียแกรมบวก ไม่สร ้าง สปอร ์ สามารถเจริญได้ในสภาพที่มีหรือไม่มี ออกซิเจน เจริญเติบโตได้ดีที่อุณหภูมิ 30-37 C และสามารถเจริญเติบโตได้ในอุณหภูมิต่าเช่น ใน ตู้เย็น เชื้อ Listeria จัดอยู่ใน อาณาจักร Firmicutes เช่นเดียวกับเชื้อแบคทีเรีย Bacillus
  • 10. แหล่งโรคที่พบ 1. อาหารสาเร็จรูปที่ประกอบจากเนื้อสัตว์เช่น ฮอทด็อก 2. น้านมดิบ ผลิตภัณฑ์นมดิบ และ soft cheese 3. ผลิตภัณฑ์เนื้อดิบ 4. อาหารทะเลสัตว์
  • 11. ลักษณะที่พบ • ระยะฝักตัวของเชื้อ 3-70 วัน • อาการโรค คล้ายอาการของไข้หวัด คือ ไข้หนาวสั่น ปวด ศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ คอแข็ง สับสน อ่อนแรง อาเจียน อาจมีอุจจาระร่วง ติดเชื้อในกระแสเลือด เยื่อหุ้มสมองอักเสบ • ระยะอาการป่ วย หลายวัน จนถึงสัปดาห์
  • 12. การป้ องกันการติดเชื้อ 1. ไม่ดื่มน้านมดิบหรืออาหารที่ประกอบจาก น้านมดิบ รวมทั้งผลิตภัณฑ์นมที่ ไม่ผ่านการฆ่า เชื้อ 2. ล้างและขัดถูผิวด้านนอกของผัก ผลไม้ ด้วย น้าไหลสะอาดจานวนมากก่อน รับประทาน และ ควรล้างผลไม้แม้จะ3ปอกเปลือกก่อนรับประทานก็ ตาม 4.ปรุงอาหารให้สุกก่อนการรับประทาน 5. รับประทานอาหารให้หมด ไม่เก็บค้างมื้อ
  • 13. ความปลอดภัยในการ รับประทาน 1.ขัดถูและล้างเปลือกด้านนอกของผลไม้ด้วยน้า ไหลที่สะอาด ด้วยน้าจานวน มาก 2. ซับผิวด้านนอกผักหรือผลไม้ด้วยกระดาษหรอ ผ้าแห้งที่สะอาด 3.ล้างมีดให้สะอาด ก่อนใช ้มีดตัดแต่งผักหรือ ผลไม้ 4. ไม่รับประทานผลไม้ที่ผ่านการตัดแต่งแล้วทิ้งไว้ นอกตู้เย็นนานเกิน 4 ชั่วโมง
  • 15. Clostridium เป็นแบคทีเรียก่อโรค (pathogen) สามารถสร ้างสารพิษที่มีอันตรายร ้ายแรงต่อ มนุษย์และสัตว์พบได้ในอาหารประเภทที่มีความ เป็นกรดต่า (low-acid food) มีรูปร่างเป็นท่อน สร ้างไม่ต้องการอากาศ เป็นสาเหตุของการเสื่อม เสียของอาหาร และบางสายพันธุ์มีเอนไซม์ย่อย โปรตีน ทาให้เกิดกลิ่นเหม็นเน่า
  • 16. ลักษณะสาคัญ • ย้อมติดสีแกรมบวก (Gram positive bacteria) • รูปร่างเป็นท่อน (rod shape) • สร ้างสปอร ์(spore forming bacteria) • ไม่ต้องการอากาศ (anaerobic bacteria) • สามารถสร ้างสารพิษ (toxin) ที่ทาให้เกิดโรค botulism ในอาหารกระป๋ อง (canned food)
  • 17. แหล่งที่พบ พบทั่วไปในธรรมชาติ ในดิน ห้วย หนอง คลองบึง ทะเล โคลน เลน จึงมักพบใน ลาไส้ เหงือกของปลาทั้งน้าจืดและน้าเค็ม ลาไส้ของ สัตว์เลือดอุ่น นก ในพืชผักที่ปลูกในดิน โดยเฉพาะส่วนลาต้นใต้ดิน ยิ่งต้องระวังเป็ นพิเศษ และเนื่องจากเชื้อสร ้างสปอร ์ซึ่งทนความแห้งแล้ง ได้ดี สปอร ์จึงพบได้ทั่วไปในฝุ่น ควัน และปะปนมา กับอาหารแห้ง เช่น เครื่องเทศ แป้ง
  • 18. โรคและอาการของโรค Clostridium perfringens ทาให้เกิด โรคอาหารเป็นพิษ (food poisoning) ที่เกิด จากการบริโภคอาหารที่มีการปนเปื้อนของ สารพิษที่เชื้อสร ้าง (intoxication) ทาให้มี อาการคลื่นไส้ ปวดท้อง ท้องร่วง ไม่อาเจียน เกิด อาการใน 8-22 ชั่วโมง ระยะโรค 12-48 ชั่วโมง
  • 19. การป้ องกัน • หุงต้ม ผัด อาหาร ให้ร ้อนจัด อุ่นให้เดือด และ เก็บอาหารที่ทาให้สุกแล้วที่อุณหภูมิต่า • ป้องกันการปนเปื้อนข้าม (cross contamination) • ผลิตอาหารให้ถูกสุขลักษณะ ตามหลัก GMP (Good Manufactureing Practise)
  • 20. Clostridium difficile Clostridium difficile หรือเรียกกันว่า C. diff เป็นเชื้อแบคทีเรียที่ก่อให้เกิดอาการ ท้องเสียและลาไส้ใหญ่อักเสบวิธีการปล่อย สารพิษ C. diff มักถูกรวมเข้าไปในกลุ่ม superbug เพราะดื้อต่อยาปฏิชีวนะหลายตัว - การติดเชื้อ C. Diff มักจะแสดงอาการ ดังนี้ ท้องเสียแบบถ่าย ไข้สูง ไม่อยากอาหาร คลื่นไส้ ปวดท้อง และเป็นตะคิวที่ท้อง
  • 21. Clostridium tetani ลักษณะเรียว เส้นผ่าศูนย์กลางขนาดใหญ่ กว่าเซลล์เช่นเดียวกับไม้ตีกลอง เนื้อพองความ ขุ่นน้าซุปที่เหลือเนื้อส่วนย่อย ดาจิ๋วผลิตก๊าซ สร ้าง methyl mercaptan (กลิ่นของความ เสียหาย) และก๊าซไข่เน่า โดยทั่วไปจะไม่หมัก น้าตาลที่สามารถละลายเจลาตินผลิตก๊าซไข่เน่า การก่อตัวของอินโดลที่ไม่สามารถลดไนเตรทไน ไตรท การย่อยอาหารอ่อนแอของโปรตีน สามารถอยู่รอดได้ในดินสาหรับทศวรรษที่ผ่านมา
  • 22. โรคบาดทะยัก (Tetanus) ผู้ป่ วยที่เป็ นโรคนี้จะมีการหดตัวและแข็ง เกร็งตัวของกล้ามเนื้อเกิดขึ้นทั่วตัว โดยที่ทาให้ แผ่นหลังมีการยืดตัวออก ซึ่งเป็ นท่าทางที่เป็ น รูปแบบเฉพาะ ทั้งนี้ แบคทีเรียที่ก่อโรคนี้ชื่อว่า Clostridium tetani
  • 23. สมาชิกในกลุ่ม 1.นางสาวปิยะดา มะรินทร ์ ร หั ส 593046048 เลขที่ 46 2.นางสาวพรชนก คมขา ร หั ส 593046049 เลขที่ 47 3.นางสาวพรชิตา เรืองแจ้ง ร หั ส 593046050 เลขที่ 49 4.นางสาวพรพิมล พรมชาติ ร หั ส 593046051 เลขที่ 50