SlideShare a Scribd company logo
1 of 84
ภาษาไทยสำา หรับ ครู
เรื่อ ง หลัก ภาษาไทย (พยางค์
คำา และประโยค)


 บรรยายโดย อาจารย์ก ิต ิร าช พงษ์เ ฉลีย ว
                  โปรแกรมวิช าภาษาไทย
      คณะมนุษ ยศาสตร์แ ละสัง คมศาสตร์
        มหาวิท ยาลัย ราชภัฏ อุบ ลราชธานี
  ณ คณะครุศ าสตร์ มหาวิท ยาลัย ราชภัฏ
                            อุบ ลราชธานี
       วัน ที่ ๒๑-๒๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๒
พยางค์
พยางค์
          พยางค์ คือ ส่วนหนึ่งของคำาหรือหน่วย
 เสียงที่ประกอบด้วยสระตัวเดียวจะมีความหมาย
 หรือไม่มีก็ได้ พยางค์หนึ่งมีส่วนประสมต่างๆ กัน
 คือ
๑. พยัญชนะ + สระ + วรรณยุกต์ เช่น ตา ดี ไป
 มา พยางค์ชนิดนีเรียกว่า ประสม ๓ ส่วน
                     ้
๒. พยัญชนะ + สระ + วรรณยุกต์ + ตัวสะกด เช่น
 คน กิน ข้าว หรือ
     พยัญชนะ + สระ+วรรณยุกต์+ตัวการันต์
 เช่น โล่เล่ห์ พ่าห์ ผี้ว์
     พยางค์ทง ๒ ชนิดนี้เรียกว่า ประสม ๔ ส่วน
             ั้
จะเห็นได้ว่า พยางค์แต่ละ
พยางค์ อย่างน้อยจะต้องมีส่วนประสม ๓
ส่วน คือ พยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์
อย่างมากจะต้องมี ๕ ส่วน คือ พยัญชนะ
สระ วรรณยุกต์ ตัวสะกด และการันต์ จะ
น้อยกว่า ๓ ส่วน หรือมากกว่า ๕ ส่วนไม่ได้
และ     คำาๆ เดียวจะมีพยางค์เดียว หรือ
หลายพยางค์ก็ได้ ดังตัวอย่าง
          กา      คำาเดียว ๑ พยางค์
          กาเหว่า          ”         ๒
พยางค์
          การะเวก        ”      ๓ พยางค์
คำา
ความหมายของคำา

        ความหมายแรก หมายความว่า พยางค์หนึ่งๆ
คือ เสียงที่เปล่งออกมาครั้งหนึ่งๆ ดังที่ใช้อยู่ในตำารา
อักขรวิธีว่า คำาเป็น คำาตาย และที่ใช้ในตำารา
ฉันทลักษณ์ว่า คำาครุ คำาลหุ หรือจำานวนคำา ที่ใช้ใน
วรรคหนึงๆ ของคำาประพันธ์ว่า โคลงบาทนันมี
          ่                                  ้
เท่านั้นคำา เป็นต้น
     ความหมายที่สอง หมายความว่า คำาร้องท่อน
หนึ่ง เป็นคำาหนึ่ง ดังที่ใช้ในคำากลอนบทละครต่างๆ
คือหมายความว่า คำากลอน ๒ วรรค เป็นคำาหนึ่ง
เช่น
ความหมายที่สาม หมายความว่า เสียง
    ที่พูดออกมา ได้ความหมายอย่างหนึ่ง ตามความ
    ต้องการของผู้พูดจะเป็นกี่พยางค์ก็ตาม เรียกว่า
    คำาหนึ่ง บางคำามีพยางค์เดียว มีหลายพยางค์
    ดังตัวอย่าง
 
       ‘นา’ (ที่ปลูกข้าว) เป็นคำา ๑ มีพยางค์ ๑
       ‘นาวา’ (เรือ) เป็นคำา ๑ คำา มี ๒ พยางค์
       ‘นาฬิกา’ (โมงหรือทุ่ม) เป็นคำา ๑ มี ๓
    พยางค์ เป็นต้น
เค้า เงื่อ นของคำา

       คำาไทยแต่เดิมมักมีพยางค์เดียวโดดๆ
คล้ายกับคำาภาษาจีน ซึ่งใกล้เคียงกัน เช่น พ่อ
แม่ เงิน ทอง ดิน นำ้า ลม ไฟ ม้า ช้าง เป็ด ไก่
เป็นต้น ภายหลังรับเอาคำาภาษาอื่น เช่น บาลี
และสันสกฤต ซึ่งมักมีหลายๆ พยางค์มาใช้ จึง
ได้มีพยางค์มากออกไป เช่น บิดา มารดา
สุวรรณ ปถวี อุทก อัคคี สุนัข สุกร เป็นต้น
คำาเหล่านีในภาษาอื่นออกเสียงมี
                     ้
พยางค์มากกว่าที่เราใช้อยู่ เนื่องจากภาษา
ไทยเคยใช้คำาน้อยพยางค์ เราจึงมาตัดทอน
ให้น้อยพยางค์ลงกว่าภาษาเดิมที่ยืมมา เช่น
      สุ – ขะ          ตัดเป็น       สุข
      พา – ละ          ตัดเป็น       พาล
(พาน)
      กุ – สะ – ละ ตัดเป็น           กุศล
(กุ – สน)
      กาญ – จะ – นะ          ตัดเป็น
     กาญจน์ (กาน)
ความแตกต่างระหว่างคำากับพยางค์
            คำา                        พยางค์
๑) เสียงทีเปล่งออกมาต้องมี
          ่                  ๑) เสียงที่เปล่งออกมา
ความหมายอาจมีกพยางค์ี่       แต่ละครั้งถือเป็น ๑ พยางค์
ก็ได้                        ๒) พยางค์บางครั้งอาจมี
๒) คำาพูด ๑ คำา มีจำานวน     ความหมาย ถ้ามีความ
พยางค์ไม่เท่ากันเสมอไป       หมายถือเป็นคำา
๓) มีบางคำาทีเป็นพยางค์
             ่               ๓) พยางค์เป็นส่วนหนึ่ง
และคำา เช่น อี อา            ของคำา ประกอบกันเข้าเป็น
๔) คำาเป็นหน่วยทีใหญ่กว่า
                  ่          คำา
พยางค์หรืออย่างน้อยทีสุด
                       ่     ๔) พยางค์ประกอบด้วย
ก็เท่ากับพยางค์              ส่วนต่างๆ ตั้งแต่ ๓ ส่วนถึง
                             ๕ ส่วน ดังตัวอย่างเช่น
                                นา มีส่วนประกอบ ๓
การสร้า งคำา ในภาษาไทย

               จากคุณสมบัติคำาไทยเป็นคำาโดด
หรือ คำาพยางค์เดียว จึงทำาให้คำาไทยมีจำานวน
จำากัดไม่เพียงพอสำาหรับการตั้งชื่อ คน สัตว์
สิ่งของ ตลอดจนบอกอาการความรู้สึกต่างๆ จึง
ต้องหาวิธการสร้างคำาศัพท์ให้มีจำานวนมากขึ้น
            ี
ซึ่งมีวิธีการดังนี้
     สร้างโดยการประสมคำา
     สร้างโดยการแยกระดับเสียงของคำาให้มี
ระดับต่างกัน
     สร้างโดยการเลียนแบบภาษาต่างประเทศ
     สร้างโดยการบัญญัติศัพท์
การสร้า งคำา ในภาษาไทยโดยการ
            ประสมคำา

           การประสมคำา หมายถึง
การนำาคำาศัพท์ตั้งแต่ ๒ คำาขึ้นไป มา
รวมกันเข้า ได้คำาศัพท์ใหม่ขนมา วิธี
                              ึ้
การประสมคำาที่ปรากฏในภาษาไทย
แล้วเกิดคำาใหม่ขึ้นมา ได้แก่
        คำาประสม
        คำาซำ้า
        คำาซ้อน
        คำาคู่
ก่อนกล่าวถึงรายละเอียดของการ
สร้างคำาแต่ละแบบ ควรได้ทำาความ
เข้าใจเกี่ยวกับ คำามูลก่อน ดังนี้

          คำา มูล หมายถึง คำาที่มีมาใน
ภาษาเดิม หรือเป็นคำาพื้นฐานของ
ภาษา ส่วนมากเป็นพยางค์เดียวและ
เป็นคำาที่เรียกสิงต่างๆ ตลอดจนอาการ
                 ่
ที่จำาเป็นของมนุษย์ คำามูลจะเป็นคำา
ไทยแท้หรือคำาในภาษาอื่นก็ได้ มี
ลักษณะที่สงเกตได้ดังนี้
             ั
๑.เป็นพยางค์เดียวโดดๆ มีความหมายในตัวเอง
 เช่น คำาที่ใช้เรียกขานสิ่งต่างๆ ดังนี้
คำา สรรพนาม                       เช่น ฉัน    กู มึง เขา
   สู แก
คำา บอกจำา นวนนับ                      เช่น   หนึง สอง
                                                 ่
   สาม...
คำา เรีย กเครือ ญาติ                   เช่น   พ่อ แม่ พี่
  น้อ ง ปู่ ย่า ตา ยาย
คำา เรีย กอวัย วะต่า งๆ ของร่า งกาย           เช่น
  แขน ขา หัว ผม ปาก
คำา เรีย กชือ เครื่อ งใช้ใ นบ้า น
              ่                        เช่น   หม้อ จาน
  ชาม ถ้ว ย
คำา ทีใ ช้เ รีย กเครื่อ งมือ ประกอบอาชีพ
      ่                                       เช่น มีด
  ขวาน จอบ เสีย ม
๒.เป็นคำาทีประกอบด้วยหลาย
               ่
พยางค์ แต่ถ้าแยกพยางค์เหล่านันออก
                                ้
จะไม่มความหมายในภาษาหรือถ้ามี
       ี
ความหมาย ความหมายนันก็ไม่ใกล้
                         ้
เคียงกับคำาเดิมเมื่อรวมพยางค์ เช่น
กระถาง กระป๋อง สายยู อาชญา
เป็นต้น
คำา ประสม (COMPOUND
        WORD)
          หมายถึง คำาที่เกิดจากการนำา
คำามูลตั้งแต่ ๒ คำาขึ้นไปมารวมกันเข้า
แล้วเกิดเป็นคำาใหม่ มีความหมายต่าง
ไปจากคำามูลเดิม หรือเพียนไปเล็ก
                          ้
น้อย โดยใช้คำาที่มความหมายเด่นเป็น
                    ี
คำาหลัก หรือเป็นหลักฐานแล้วนำาคำาที่
มีความหมายรองลงไปมาขยายไว้ข้าง
หลัง คำาประสมมีหลายลักษณะ ดังนี้
๑.๑ คำาประสมที่เกิดจากนำาคำามูลที่มีความหมาย
 ต่างกันประสมกัน แล้วมีความหมายต่างไปจาก
 ความหมายเดิม แต่ไม่ทิ้งเค้าความเดิม เช่น
        นำ้าปลา = นำ้า หมายถึง ของเหลว
           ปลา หมายถึง สัตว์นำ้าชนิดหนึง่
 สองคำารวมกัน หมายถึง นำ้าที่ใช้ปรุงอาหาร มี
 รสเค็ม
         แม่นำ้า = แม่ หมายถึง หญิงผู้ให้
 กำาเนิด นำ้า = ของเหลว
 สองคำารวมกัน หมายถึง สายนำ้า
         คำาประสมที่เกิดจากนำาคำามูลที่มีเนื้อ
 ความต่างกันมาประสมกัน มีความใกล้เคียงกับ
คำา ประสมที่เ กิด จากนำา คำา ที่ย อ
                                                 ่
มาจากคำา ยาวๆ แล้ว นำา ไปประสมกับ
คำา มูล เกิด เป็น คำา ศัพ ท์ใ หม่แ ต่ย ัง รัก ษา
ความหมายของคำา เดิม แต่ล ะคำา เอาไว้
ได้แ ก่ค ำา ว่า ผู้ ที่ ของ เครื่อ ง หมอ ชาว
ช่า ง นัก เช่น

     ช่า ง + ไม้       เป็น ช่า งไม้       แปลว่า
   คนชำา นาญด้ว ยการทำา ของใช้ด ้ว ยไม้
     นัก + ร้อ ง       เป็น      นัก ร้อ ง แปลว่า
   คนที่เ ก่ง ในการร้อ งรำา ทำา เพลง

            คำา ประสมที่เ กิด จากการเอาคำา
คำา ประสมที่เ กิด จากการนำา
คำา มูล ซึ่ง มีร ูป เสีย ง และความ
หมายต่า งกัน แต่ต ัด พยางค์ห รือ
ย่น พยางค์ใ ห้ส ั้น เข้า คล้า ยวิธ ี
สมาสในภาษาบาลี เมื่อ ประสม
กัน แล้ว มีค วามหมายเหมือ นเดิม
ก่อ นตัด ออกไป
    สถาผล มาจาก สถาพร + ผล
   (ผลอันยั่งยืน)
    สุมามาลย์ มาจาก สุมาลี +
ข้อ สัง เกตเกี่ย วกับ อัก ษรคำา ประสม
        ๑.คำา ประสมในภาษาไทย มีล ัก ษณะเหมือ น
คำา สมาสต่า งที่ ถ้า เป็น คำา สมาสจะต้อ งเป็น คำา ทีม า
                                                    ่
จากภาษาบาลี และสัน สกฤตเท่า นัน ถ้า เป็น ภาษา
                                       ้
อื่น นอกเหนือ จากนีถ ือ ว่า เป็น คำา ประสมทัง สิ้น
                        ้                    ้
     ๒. การเรีย งคำา ประสมนัน ถ้า เป็น คำา ในภาษา
                                ้
ไทยก็เ รีย งคำา ตามระเบีย บคำา ภาษาไทย คือ คำา ทีม ี   ่
ความหมายชัด เจนเรีย งเป็น หลัก ไว้ข ้า งหน้า คำา ที่
มีค วามหมายเป็น รองไว้ข ้า งหลัง เช่น
              วัง หลวง                ปากกา
              นำ้า แข็ง               กล้ว ยทอด
     แต่ถ ้า เป็น คำา ในภาษาบาลี สัน สกฤต การเรีย ง
คำา ก็เ ป็น ไปตามระเบีย บของภาษาทัง สอง คือ เอา
                                         ้
คำา ทีม ค วามหมายรอง หรือ คำา ขยายไว้ข ้า งหน้า
      ่ ี
๓. คำา ประสมทีเ กิด จากคำา มูล หลาย
                              ่
คำา มาประสมกัน เมือ เกิด เป็น คำา ใหม่ต ้อ ง
                          ่
ถือ ว่า คำา นั้น เป็น คำา ศัพ ท์เ พีย งคำา เดีย วเท่า นัน
                                                        ้

          ๔. คำา ศัพ ท์ท ข ึ้น ต้น ด้ว ยคำา ว่า ช่า ง
                          ี่
หมอ นัก ผู้ การ ความ เครื่อ ง ของ ที่ มัก
เป็น คำา ประสม
       ๕. คำา มูล ทีน ำา มาประสมกัน สามารถนำา
                    ่
มาประสมกัน ได้ ทัง คำา ไทยประสมคำา ไทยคำา
                       ้
ไทยประสมคำา ต่า งประเทศ และคำา ต่า ง
ประเทศประสมคำา ต่า งประเทศ เช่น
    คำา ไทย + คำา ไทย เช่น
     พ่อตา       โรงเรียนแม่นำ้า
       คำา ไทย + บาลี เช่น
     พลเมือง                 ผลไม้         หลักฐาน
    คำา ไทย + สัน สกฤต เช่น
     เศรษฐศาสตร์         ศิลปศึกษา
๖. คำา ประสมมีต ง แต่ป ระสม ๒ คำา
                ั้
 ประสม ๓ คำา และประสม ๔ คำา
     ประสม ๒ คำา เช่น
   ลูกคิด     รองเท้า    พัดลม
        รถราง
   ประสม ๓ คำา เช่น
   กล้องถ่ายรูป ผู้ใหญ่บ้าน ไม้หนีบ
ผ้า ยางลบหมึก
   ประสม ๔ คำา เช่น
   กระเป๋าเดินทาง     กระเป๋านำ้า
๗.คำา ที่น ำา มาผสมกัน เป็น ได้
ทัง คำา นาม สรรพนาม กริย า
  ้
วิเ ศษณ์ สัน ธาน อุท าน เช่น
     คำา นาม + คำา นาม
          กล้วยแขก        ไฟฟ้า
     ลูกเสือ
          ลมปาก           เตาถ่าน
     พัดลม
      คำา นาม + กริย า
          กล้วยทอด        เรือขุด
     นางห้าม
คำา ซำ้า
( REDUPLICATION )
           เป็นการประสมคำาที่เกิดจากนำา
คำาพูดคำาเดียวกันมาพูด หรือเขียนซำ้า
คำาตั้งแต่ ๒ ครั้งขึนไป เพื่อประโยชน์ใน
                    ้
การเปลี่ยนเสียง และเปลี่ยนแปลงความ
หมายให้แตกต่างกัน เวลาเขียนใช้
ไม้ยมก (ๆ) แทนคำาหลัง ซึ่งมีการซำ้าคำา
ได้หลายลักษณะ ดังนี้
     ๒.๑ ซำ้าคำาแล้วทำาให้ความหมาย
เปลี่ยนเป็นพหูพจน์ เช่น
          เด็กๆ          ลูกๆ
๒.๒ ซำ้า แล้ว มีล ัก ษณะเป็น สำา นวน
        ของกล้วยๆ เหล่านี้
        เรื่องหมูๆ เหลือเกิน
        พูดหมาๆ อีกแล้ว
 ๒.๓ ซำ้า แล้ว มีค วามหมายแบ่ง แยก
เป็น จำา นวน เช่น
        กวาดเป็นห้องๆ
        เขาทั้งหลานเดินมาเป็นคู่ๆ
        เขาใช้ดินสอหมดไปเป็นแท่งๆ
๒.๔ ซำ้า แล้ว ทำา ให้น ำ้า หนัก ของคำา เพิ่ม
ขึ้น เป็น การเน้น ความหมายของคำา เช่น
            พูดเท่าไรๆ ก็ไม่เชื่อ
         ฝนคงตกแน่ๆ เลย
     การซำ้า คำา เพื่อ เพิ่ม นำ้า หนัก ของคำา เพิ่ม
ความหมาย อาจออกเสีย งวรรณยุก ต์ค ำา
หน้า เปลี่ย นไปบ้า ง เช่น
         ผ้าย้าวยาว
         เธอส้วยสวย
      ๒.๕ ซำ้า แล้ว ให้น ำ้า หนัก หรือ ความ
หมายของคำา ลดจากเดิม เช่น
         เธอมีผวขาวๆ หน่อย
                ิ
๒.๖ ซำ้า แล้ว ความหมายของคำา บ่ง
ความไม่แ น่น อน ถ้า เกี่ย วกับ สถานที่ก ็
ไม่เ จาะจงไปว่า เป็น จุด ใด หรือ ถ้า
เกี่ย วกับ เวลา ก็ไ ม่เ จาะจงเวลาลงไป
เช่น
        เขายืนอยูแถวๆ สะพาน
                  ่
        เขายืนอยูใกล้ๆ หอสมุด
                    ่
        ให้คณมาพบฉันตอนเที่ยงๆ นะคะ
             ุ
     ๒.๗ ซำ้า แล้ว บ่ง ความเป็น พวก
เดีย วกัน หรือ สภาวะอย่า งใดอย่า ง
หนึ่ง เช่น
๒.๘ ซำ้า แล้ว มีค วามหมายบ่ง ถึง การ
เคลือ นไหวที่ด ำา เนิน ติด ต่อ กัน เช่น
    ่
        เธอร้องไห้นำ้าตาหยดเผาะๆ เชียว
        เขาโขลกๆ นำ้าพริกดังลันบ้าน
                                ่
        เธอเถียงแม่ฉอดๆ เลยแหล่ะ
      ๒.๙ คำา ซำ้า บางคำา มีล ก ษณะเลีย นเสีย ง
                              ั
ธรรมชาติ เช่น เสีย งสัต ว์ เพื่อ เลีย นเสีย ง
ธรรมชาติ เป็น ต้น
        ฝนตกซูๆ ่
        นำ้าไหลจ๊อกๆ
        ไก่ร้องเจียบๆ
                  ๊
๒.๑๐ คำา ซำ้า บางคำา เปลี่ย นเสีย งสระให้
เพี้ย นไปบ้า ง แต่ไ ม่ม ากนัก เช่น
        เปรี้ยงๆ       เพี้ยนเป็น เปรี้ยงป้าง
        เจี้ยวๆ เพี้ยนเป็น เจี้ยวจ้าว
        เหง่งๆ เพี้ยนเป็น เหง่งหง่าง
     ๒.๑๑ มีค ำา ซำ้า บางคำา เปลี่ย นเสีย งคำา
หน้า ให้ก ร่อ นลง ส่ว นใหญ่ใ ช้ใ นกาพย์
กลอน คำา ซำ้า ลัก ษณะนีภ าษาบาลีเ รีย กคำา
                            ้
อัพ ภาส สัน สกฤตเรีย ก อัภ ยาส เช่น
        แย้มแย้ม       กร่อนเป็น ยะแย้ม
        ยิบยิบ กร่อนเป็น ยะยิบ
        ลิ่วลิ่ว กร่อนเป็น ละลิ่ว
๒.๑๒ มีค ำา ซำ้า พวกหนึง มีล ัก ษณะเป็น คำา
                                     ่
    ๒ คู่ แต่ม ีค ำา ซำ้า กัน เพีย ง ๑ คู่ เท่า นัน และ
                                                   ้
    คำา ที่ไ ม่เ หมือ นกัน นัน มีค วามหมายใกล้
                               ้
    เคีย งกัน คำา ซำ้า ชนิด นี้เ รีย กว่า คำา ซำ้า ในคู่
    เช่น
              กินจุบกินจิบ          เข้าด้ายเข้าเข็ม
              คาหนังคาเขา                   ในรั้วในวัง
              แม่สอแม่ชัก
                   ื่               ได้เรื่องได้ราว
 
 
 
ข้อ สัง เกตเกี่ย วกับ คำา ซำ้า
         ๑.ไม้ย มกในภาษาไทย จะใช้
ภาษาเฉพาะกับ คำา ซำ้า เท่า นั้น            คำา
อื่น ที่เ ป็น คำา เดีย วจะไม่ใ ช้ไ ม้ย มก เช่น
     เขาสวมเสือสีดำาๆ (คำาซำ้า)
                   ้
     เขาสวมเสือดำา ดำานา
                     ้           (ไม่ใช่คำาซำ้า)
      ๒. คำา ศัพ ท์ใ นภาษาไทย มีค ำา บาง
คำา ไม่เ คยใช้เ ป็น คำา ซำ้า เลย เช่น
หนัง สือ มะม่ว ง แขน เท้า แต่ค ำา อีก
พวกหนึ่ง จะใช้เ ป็น คำา ซำ้า เสมอ เช่น
นึก ออกเลาๆ แล้ว พูด อยู่ห ยกๆ ข้า ว
๓. มีค ำา ไทยบางคำา อาจพูด
ซำ้า ก็ไ ด้ ไม่ซ ำ้า ก็ไ ด้ เพราะความ
หมายของคำา คงเดิม เสมอ เช่น ส่ง
อยู่ ค่อ ย ผี

          ๔. คำา ซำ้า เป็น คำา ที่ส ร้า งขึ้น
เพื่อ ให้ม ีค ำา ใช้ม ากขึ้น แม้ว ่า เมื่อ
ซำ้า กัน แล้ว จะมีเ ค้า ความหมาย แต่
คำา นี้ก ็ม ีค วามหมายเฉพาะของมัน
๕. คำา ชนิด ต่า งๆ ในภาษาไทย
สามารถนำา มาสร้า งคำา ด้ว ยวิธ ีก าร ซำ้า
คำา ได้เ กือ บทั้ง หมด เช่น
    ซำ้าคำานาม           เช่น เด็กๆ หนุ่มๆ
สาวๆ
    ซำ้าคำาลักษณะนาม เช่น โหลๆ คูๆ      ่
ฟุตๆ
    ซำ้าคำาสรรพนาม       เช่น ใครๆ หล่อนๆ
    ซำ้าคำากริยา         เช่น เดินๆ วิ่งๆ
นอนๆ
    ซำ้าคำาวิเศษณ์       เช่น ดีๆ เบาๆ
คำา ซ้อ น

       คือ คำา ประสมประเภทหนึ่ง ที่เ กิด
จากการนำา เอาคำา มูล ที่ม ีค วามหมาย
เหมือ นกัน หรือ คล้า ยกัน ตั้ง แต่ ๒ คำา
ขึ้น ไปมารวมกัน เกิด เป็น คำา ศัพ ท์ข น
                                      ึ้
ใหม่ อาจจะมีค วามหมายต่า งหรือ
เพีย นไปจากเดิม คำา ซ้อ นในภาษาไทย
    ้
ปรากฏในลัก ษณะดัง นี้
๑. คำา ซ้อ นเกิด จากคำา ไทยถิ่น
ซ้อ นคำา ไทยถิ่น เช่น
    เสือสาด บ้านเรือน ดูแล
       ่
    เร่าร้อน       คิดอ่าน
เกียจคร้าน
    เสียหาย ขบกัด           ข่มเหง
๒. คำา ซ้อ นเกิด จากคำา ไทยปัจ จุบ น
                                   ั
ซ้อ นคำา ไทยโบราณ เช่น
    กลิ่นอาย (อาย = กลิ่น)
    หนุ่มเหน้า(เหน้า หนุ่ม)
๓. คำา ซ้อ นเกิด จากคำา ไทยซ้อ นคำา ต่า ง
ประเทศที่เ ป็น คำา ยืม เช่น
   ๓.๑ คำา ไทยซ้อ นคำา เขมร เช่น
                  เล่าเรียน      ดั้งเดิม
    ละเอียดลออ
   ๓.๒ คำา ไทยซ้อ นคำา บาลี เช่น
              พลเมือง       หลักฐาน
     ข้าทาส
   ๓.๓ คำา ไทยซ้อ นสัน สกฤต เช่น
              สร้างสรรค์    นงลักษณ์
      รังสรรค์
   ๓.๔ คำา ไทยซ้อ นคำา ต่า งประเทศอื่น
๔.คำา ต่า งประเทศเป็น คำา ยืม ซำ้า กับ คำา ยืม
 ด้ว ยกัน ดัง นี้
 ๔.๑ คำา บาลี สัน สกฤต ซ้อ น คำา บาลี
 สัน สกฤต ด้ว ยกัน เช่น
     คชสาร          พนาวัน ชลธาร
     ชลาสินธุ์ อิทธิฤทธิ์ ยานพาหนะ
 ๔.๒ คำา เขมรซ้อ นคำา เขมร เช่น
     เลอเลิศ        สรงสนาม
     ขมีขมัน เฉลิมฉลอง
 ๔.๓ คำา บาลี สัน สกฤต ซ้อ น คำา เขมร
๕.คำา ซ้อ นคำา บางคำา มีล ัก ษณะเป็น คำา
 ซ้อ นสองคู่ มัก มีเ สีย งสัม ผัส กับ คำา
 กลาง เพือ ให้อ อกเสีย งได้ง า ยขึ้น และ
             ่                    ่
 สละสลวยขึ้น เช่น
 อิ่มหมีพีมน
           ั            เก็บหอมรอมริบ
     เจ็บไข้ได้ปวย
                ่
 ช่วยเหลือจุนเจือ      ซื้อง่ายขายคล่อง
     บ้านช่องห้องหอ
 วัดวาอาราม          จับมือถือแขน
ประโยชน์ข องคำา ซ้อ น
๑. ซ้อ นคำา แล้ว ช่ว ยเน้น ความของคำา ให้ช ด เจน ั
 ขึ้น เพื่อ ไม่ใ ห้เ กิด ความเข้า ใจผิด ในกรณีท ี่
 คำา นัน มีเ สีย งคล้า ยกัน หรือ เสีย งพ้อ งกัน เช่น
       ้
 เสียง ฆ่า ข้า ค่า พ้องกัน จึง ซ้อ นคำา เพื่อ เน้น
 ความหมาย เช่น ฆ่าฟัน ข้าทาส ข้าเจ้า คุณค่า

๒. ซ้อ นคำา แล้ว ช่ว ยอธิบ ายความหมายของคำา
 หนึง คำา ให้แ จ่ม แจ้ง เช่น
      ่
 เสือสาด
    ่        ใช้คำาว่า เสื่อ อธิบายความหมายว่า
 สาด ซึ่งเป็น ภาษาถิ่น
 บ้านเรือน ใช้คำาว่า บ้าน อธิบายความหมายว่า
๓. ซ้อ นคำา แล้ว ช่ว ยเน้น ความหมาย
ของคำา ให้ช ด ขึ้น เช่น
             ั
         เด็ดขาด           ดูแล
ขัดขืน
         กีดกัน            ชักจูง
    ลากถูก
    ๔. ซ้อ นคำา แล้ว ช่ว ยให้เ กิด ความ
หมายใหม่ใ นเชิง อุป มาอุป ไมย เช่น
         แจ่มใส            เดือดร้อน
ขัดข้อง
         ซักฟอก            เล้าโลม
    ทักทาย
    ๕. ซ้อ นคำา แล้ว ช่ว ยให้เ กิด ความ
ไพเราะสละสลวยของเสีย ง ทำา ให้
๖. ซ้อ นคำา แล้ว ช่ว ยให้เ กิด คำา ศัพ ท์ใ หม่
ขึ้น มาในภาษา มีค วามหมายใหม่ เช่น
      ขัด ข้อ ง       ขัด ขวาง           ขัด แย้ง
           ขัด ขืน

     ขัดข้อง    หมายถึง     ไม่ปฏิบติตามได้
                                   ั
     ขัดขืน     หมายถึง     ต่อต้านผูกระทำาร้าย
                                     ้
ตน
    ขัดขวาง หมายถึง การกระทำาที่ต้องการ
ให้เกิดอุปสรรค
                  ต่อการทำางาน
    ขัดแย้ง    หมายถึง      มีความเห็นไม่
คำา คู่ ( EUPHONIC
         COUPLET)
         คือ คำา ทีเ กิด จากการนำา เอา
                      ่
คำา มาออกเสีย งซำ้า กัน แต่เ ปลีย น  ่
สระหรือ ตัว สะกดให้ต ่า งกัน ออก
ไป เพื่อ ให้เ กิด ความสะดวกเวลา
ออกเสีย ง คำา คู่จ ึง เป็น คำา ซำ้า ชนิด
หนึ่ง ที่ซ ำ้า เพื่อ ให้อ อกเสีย งสะดวก
รื่น หู และกลมกลืน กัน คำา คู่น ี้
พระยาอนุม านราชธน เรีย กชื่อ ว่า
สาเหตุท ี่เ กิด คำา คู่ เนื่อ งมาจาก
การผลัก ดัน ขณะออกเสีย งเพื่อ ให้เ กิด ความ
กลมกลืน กัน มีล ก ษณะสำา คัญ ดัง นี้
                ั

    ๑. คำา คู่ท ี่เ กิด จากคำา ทีม ีเ สีย งเดิม ไม่
                                 ่
สมดุล กัน จึง ออกเสีย งใหม่ใ ห้ม ีเ สีย งสมดุล
กัน เป็น คู่ๆ เช่น
            สะกิดเกา เป็น                 สะกิดสะเกา
            ขโมยโจร เป็น                  ขโมยขโจร

    ๒. คำา คู่ท เ กิด จากคำา ไทยที่ม ีเ สีย งตัว สะกด
                ี่
แม่ กก ในคำา หน้า เมื่อ ออกเสีย งแล้ว เสีย ง
คอนกัน จึง ใช้ค ให้ค ู่ก ัน เพื่อ ไม่ใ ห้เ สีย งคอน
กัน เช่น
๓. คำาคู่ที่ยืดเสียงจากคำา
    พยางค์เดียวออกเป็นสองพยางค์ โดยถือเอา
    อักษรของคำาแรกเป็นหลัก ออกเสียงพยางค์หลัง
    ให้มเสียงสระต่างออกไปตามแต่จะออกให้
        ี
    สะดวกปาก คำาหลังที่ยืดเสียงออกไปนี้ไม่มีความ
    หมาย (มีลักษณะเป็นเหมือนสร้อยคำา) เช่น
 
             ดูเดอ     กินแกน          กวาด
    แกวด
             กวาดเกวิด ง่อนแง่น สวยเสย
             ไปเปย          สอนเสิน ซื้อเซ้อ
๔.คำา คูท ี่เ กิด จากการแทรกเสีย งสระ
                    ่
    พยัญ ชนะ หรือ ยืด เสีย งตรงกลางคำา เพื่อ ให้
    มีค วามไพเราะ เช่น
        ชีวาตย์             เป็น ชีวาวาตม์
        พิมพิไล             เป็น พิมพิลาไล
 
         ๕. คำา คูท ี่เ กิด จากการออกเสีย งสระ
                  ่
    หลัง คูก ับ สระหน้า ในระดับ เสีย งเดีย วกัน
           ่
    คือ อาจเป็น ระดับ เสีย งสูง ระดับ เสีย งกลาง
    และระดับ เสีย งตำ่า คำา ที่อ อกเสีย งคุก ัน นีส ว น
                                              ่   ้ ่
    มากเป็น คำา ที่ม อ ก ษรตัว เดีย วแต่ม ส ระต่า ง
                       ี ั                  ี
    กัน เช่น กรุ้มกริ่ม นุ่มนิม บูบี้ คู่คี่ โมเม
                                ่  ้
๖. คำา คูท ี่เ กิด จากการแปลงเสีย ง
             ่
ของตัว สะกดในคำา หลัง ให้เ ป็น เสีย ง
นาสิก ในวรรคเดีย วกัน กับ ตัว สะกด
ของคำา หน้า มีท ั้ง ที่ค งสระไว้ต ามเดิม
และเปลี่ย นแปลงสระไปด้ว ย เช่น

         นอบน้อม รวบรวม ทาบทาม
         หลีกเลี่ยง ถอดถอน ออดอ้อน

       ๗. คำา คูท ี่ม าจากคำา หน้า มีต ว
                ่                      ั
สะกดในแม่ กด กน เกย แต่จ ะมา
เปลี่ย นตัว สะกดคำา หลัง ให้เ ป็น แม่เ กย
การสร้า งคำา ไทยโดยการแยกเสีย ง
   ของคำา ให้ม ีร ะดับ ต่า งกัน
         ลักษณะการสร้างคำาแบบนี้ หมาย
ถึง การใช้เสียงวรรณยุกต์ เป็นเครื่อง
กำาหนดความหมายของคำา เพราะภาษา
ไทยมีส่วนประกอบของพยางค์ หรือคำาอยู่
๓ ส่วน คือ พยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์
เมื่อใดออกเสียงวรรณยุกต์ของคำาให้ต่าง
กัน ความหมายของคำานั้นก็จะเปลี่ยนไป
ด้วย จึงเป็นผลทำาให้คำาไทยมีจำานวนคำา
มากขึ้น เป็นวิธการสร้างคำาแบบหนึ่งใน
               ี
การสร้า งคำา ไทยโดยการเลีย น
   แบบภาษาต่า งประเทศ

    ๑. สร้า งโดยเลีย นวิธ ส ร้า งคำา ใน
                          ี
ภาษาเขมร มีก ารสร้า งคำา โดยการ
เติม คำา หรือ พยางค์ไ ปที่ค ำา เดิม ดัง นี้
    ๑.๑ เติม หน้า คำา ได้แก่ การเพิ่ม
พยางค์เข้าข้างหน้าคำาเดิมโดยเติม บัง บรร
ประ กำา กระ กรร อะ เข้าหน้าคำาเพื่อให้
เข้าสละสลายขึ้น เช่น
          คบ      เป็น       ประคบ
          บัง     เป็น       กำาบัง
๑.๒ เติม หลัง คำา ได้แก่ การเพิ่มพยางค์
หรือ คำาเข้าข้างหลังคำาศัพท์เดิม โดยเมื่อเพิ่ม
เข้าไปแล้วความหมายของคำาเดิมไม่
เปลี่ยนแปลง และคำาที่เพิ่มเข้าไปก็ไม่ต้องการคำา
แปลแต่อย่างใด เช่น
          เคห        เป็น        เคหา
          โมห        เป็น        โมหา

         ๑.๓ เติม กลาง คือ การเพิ่ม
พยัญชนะแทรกลงในระหว่างกลางของคำาที่เป็น
คำาโดด แต่ไม่ทำาให้ความหมายของคำา
เปลี่ยนแปลงไป คำาที่เติมกลางแบบนี้ไม่มี
มาตรฐาน แน่นอน ส่วนมากเป็นคำาที่มีอยู่ใน
ภาษาโบราณ การเติมกลางคำาในลักษณะนี้เลียน
แบบการลงอาคมของภาษาเขมร เช่น
การสร้า งคำา โดยวิธ ีก าร
           บัญ ญัต ิศ ัพ ท์
           ศัพท์บญญัติ หมายถึง คำาศัพท์ที่คด
                   ั                          ิ
ขึ้นมาเพื่อแทนคำายืม ไม่ใช่คำาศัพท์ที่คิดขึ้นมา
ใช้ตั้งแต่ดั้งเดิม ส่วนมากบัญญัติขึ้นมาใช้แทน
คำาศัพท์ภาษาอังกฤษ ซึ่งเข้ามาพร้อมกับ
วัฒนธรรมด้านต่างๆ ซึ่งศัพท์บัญญัติในภาษา
ไทย อาจแบ่งตามลักษณะได้ดังนี้

        ๑. บัญญัติจากคำาไทย เช่น ไฟฟ้า
พัดลม ตู้เย็น โรงเรียน เป็นต้น
        ๒. บัญญัติขึ้นมาจากคำาไทยกับคำายืมที่มี
อยู่แล้วในภาษาไทย เพื่อใช้แทนคำาที่นำาเข้ามา
ใหม่ และยังไม่คนเคย เช่น โรงพยาบาล
                ุ้
(พยาบาล = บ.) จักรเย็บผ้า
การสร้า งคำา โดยการ
              ยืม คำา

         การยืมคำาภาษาต่างประเทศเข้ามาใช้
    ในภาษาไทยนั้น เป็นไปโดยไม่ตั้งใจ แต่
    เป็นไปตามธรรมชาติของภาษา นั่นคือ
    สังคมที่อยูใกล้ชิดกันย่อมมีการและเปลี่ยน
               ่
    วัฒนธรรมกัน และแน่นอนภาษาย่อมเข้ามา
    พร้อมกับการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม นั้น
    ด้วย
 
โดยสรุป

          ภาษาไทยเป็น ภาษาตระกูล
คำา โดด คำา ส่ว นมากจึง มีพ ยางค์เ ดีย ว
และมีค วามหมายสมบูร ณ์ใ นตัว เอง
แต่ป จ จุบ น กลับ พบว่า คำา ไทยกลาย
        ั   ั
เป็น คำา มากพยางค์ข น ซึ่ง มูล เหตุ
                         ึ้
สำา คัญ เกิด จาก ๒ ประเด็น คือ จากผู้
ใช้ภ าษาเอง และจากความต้อ งการ
ให้ม ค ำา ศัพ ท์ใ ช้พ อเพีย งกับ ความ
      ี
๑.สร้างโดยวิธีการประสมคำา ด้วยวิธี
ของคำาประสม,คำาซำ้า,คำาซ้อน,และคำาคู่
         ๒.สร้างโดยการแยกระดับเสียงของคำา
ให้มระดับต่างกัน การสร้างแบบนีอาศัยเสียง
     ี                           ้
วรรณยุกต์เพื่อแยกความหมายของคำาให้มีความ
หมาย แตกต่างกันออกไป
       ๓. สร้างโดยการเลียนแบบภาษาต่าง
ประเทศ เป็นวิธีการสร้างคำาที่เลียนแบบวิธีการมา
จากภาษาบาลี-สันสกฤต และเขมร
       ๔. สร้างโดยการบัญญัติศัพท์ เป็นการ
สร้างคำาที่เกิดเนืองจากความเจริญก้าวหน้าทาง
                  ่
เทคโนโลยี เกิดอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ใหม่ๆ
ขึ้น
โครงสร้า งของภาษาไทย :
ระบบประโยค
ความหมายของประโยค
          พระยาอุปกิตศิลปสาร (๒๕๔๓ : ๑๙๑-
๑๙๒) ได้แสดงแง่คิดเกี่ยวกับความหมาย ลักษณะ
ของประโยคไว้ในหมวดวากยสัมพันธ์ว่า
“วากยสัมพันธ์ในที่นี้เป็นภาษาบาลี แปลเอาความว่า
ความเกี่ยวข้องของคำาพูดต่างๆ ในภาษาไทยของ
เรา” เพราะข้อความที่เราใช้พูดกันก็ดี หรือเขียน
เป็นเรื่องราวก็ดี ย่อมต้องเอาคำาต่างๆ มาเรียงติดต่อ
กันไปจนได้ความอย่างหนึ่งๆ และคำาต่างๆ ที่นำามา
เรียงเป็นข้อความนั้น ล้วนมีความ สัมพันธ์เกี่ยวกัน
ทั้งนัน ความเกี่ยวข้องของคำาต่างๆ ในถ้อยคำาตอน
      ้
หนึงๆ เช่นนีเรียกว่า “ วากยสัมพันธ์” และยังได้
    ่        ้
ส่ว นประกอบของประโยค
        ในหนังสือหลักภาษาของพระยาอุปกิต
ศิลปสารบอกไว้ว่า ประโยคหนึ่งๆ แบ่งเป็น ๒
ภาค คือ ภาคประทาน และภาคแสดง

           ภาคประธาน ถือเป็นส่วนสำาคัญ
ของข้อความ ที่ผพูดหรือผู้เขียนกล่าวขึ้น เพื่อ
                ู้
แสดงให้เห็นว่ามีผกระทำากริยาว่าเป็นใคร หรือ
                   ู้
อะไร ส่วนมากเป็นคำานามหรือสรรพนาม เช่น
   ฝนตกหนัก               ภาคประธานเป็นคำา
นาม
   เขามีนองชายตัวเล็กๆ
         ้                    ภาคประธาน
ภาคแสดง เป็นตอนที่แสดงอาการของ
ประธานให้ได้ความครบว่าประธานได้แสดง
อาการอย่างนั้น อย่างนี้ เช่น
   ฝนตก            หอพักพัง   ฉับขับ
รถยนต์

        ในภาคแสดงนี้มีบทช่วยกริยาอยู่ ๒
ส่วน คือ บทกรรม และบทวิกัตการกิ
          บทกรรม มีหน้าที่ช่วยกริยาที่มีความ
กระจ่างเต็มในตัวให้มีความสมบูรณ์ขึ้น กริยา
ชนิดนี้ชื่อว่า สกรรมกริยา และตัวที่มาช่วย
กริยาให้สมบูรณ์นั้นเรียกว่า บทกรรม เช่น
                แมวกัดหนู
บทวิก ัต ิก ารก เป็นบทช่วยกริยา วิกตรรถ
กริยา ซึ่งเป็นกริยาที่ไม่มีความสมบูรณ์ในตัวเอง
ต้องอาศัยกลุ่มคำามาต่อท้าย เพื่อทำาหน้าที่คล้าย
กับขยายความ แต่คำาในบทวิกัติการกนี้ไม่ใช้คำา
วิเศษณ์แต่เป็นคำานาม หรือสรรพนาม เช่น
     เขาพูด ว่า        เป็น       วิตรรถกริยา
     นายแดงเป็น             เป็น       วิตรรถ
กริยา
     เขาคล้า ย         เป็น       วิตรรถกริยา
เมื่อเติมบทวิตรรถกริยาแล้ว ดังนี้
     เขาพูดว่าแมวตายแล้ว          เป็น      บท
วิกัติการก
สรุปแล้วประโยคหนึ่งประโยค
    ต้องประกอบด้วยภาคประธาน และภาค
    แสดง ในบทประธาน มีประธานเป็นส่วน
    สำาคัญ ภาคแสดงมีบทกริยา และบทกรรม
    เป็นส่วนสำาคัญ ซึงในบทกริยาอาจประกอบ
                     ่
    ด้วย สกรรมกริยา อกรรมกริยาแล้วแต่
    กรณี หรือ บทวิกตรรถกริยา แล้วแต่เนื้อ
    ความของประโยคนั้น
 
การสร้า งประโยค หรือ การ
       เรีย งลำา ดับ เข้า ประโยค
          การสร้างประโยค หรือการเรียงลำาดับเข้า
    ประโยคมีข้อควรคำานึงดังต่อไปนี้
              การนำาคำามาเรียงเข้าประโยคต้องให้
    ถูกต้องตามหลักภาษาและความนิยม เช่น
 
    เขาถูกเชิญไปปรากฏตัว   เปลี่ยนเป็น     เขา
    ได้รับเชิญไปปรากฏตัว
    ต่อไปนี้เขาจะมาในเพลง เปลี่ยนเป็น      ต่อ
    ไปนีเขาจะร้องเพลง
         ้
    เธอจับรถไฟเข้ากรุงเทพฯ เปลี่ยนเป็น     เธอ
    โดยสารรถไฟเข้ากรุงเทพฯ
 
การเลือ กใช้ถ ้อ ยคำา มาใช้ ต้อ งให้
เหมาะสมกับ ฐานะของบุค คล เช่น
กิน : กษัตริย์       ใช้คำาว่า      เสวย
    พระ        ใช้คำาว่า       ฉัน
    คนธรรมดาใช้คำาว่า          รับประทาน

     ๓. ในภาษาไทยถือ ว่า การนำา คำา มา
เรีย งเข้า ประโยคเป็น เรื่อ งสำา คัญ ถ้า นำา
คำา ๆ เดีย วกัน มาเรีย งเข้า ประโยคที่ต า ง
                                          ่
ตำา แหน่ง กัน ความหมายจะเปลีย นไป เช่น
                                     ่
          ฉันดูพี่ ( พี่ ) เป็นผู้ถูกกระทำา
          พี่ดูฉัน (พี่ )  เป็นผู้กระทำาเอง
๔. การเรียงคำาเข้าประโยคในภาษาไทย ถ้าเป็น
 ประโยคปกติจะเรียงในลำาดับ ดังนี้

 ประธาน        -   กริย า
 น้อง               นอน
 ประธาน        - กริย า        -         กรรม
 แมว             กัด               ฉัน
 ประธาน        - กริย า            -     บทวิก ัต ิ
 การก
 เขา             คล้าย          พ่อ
 ประธาน        -     กริย า    - (กรรม)           -
           บทขยาย
 น้อง             ตี          แมว         ตายคา
 ที่ (ตายคาที่ ขยาย ตี)
๕. เนื่อ งจากภาษาไทยเป็น
ภาษาคำา โดด ดัง นั้น คำา ทุก คำา จึง มี
อิส ระที่จ ะนำา ไปใช้ใ นประโยคได้โ ดย
ไม่เ ปลี่ย นแปลงรูป คำา ไม่ว ่า คำา นั้น จะ
ปรากฏในตำา แหน่ง ใดของประโยค
         ๖. คำา ๆ เดีย ว ถ้า นำา ไปเรีย งใน
ประโยคผิด ที่ก ัน ความหมายจะ
เปลี่ย นไปพร้อ มทัง หน้า ทีข องคำา นั้น ก็
                     ้
เปลี่ย นไปด้ว ย เช่น
          คนแก่เดินช้า            เป็นคำา
วิเศษณ์
รูป ประโยค
       รูปประโยคจะเป็นชนิดใด สังเกตจากคำา
ขึ้นต้นประโยคเป็นสำาคัญ ซึ่งแบ่งได้ ๕ รูป
ดังนี้
    ๑. ประโยคกรรตุ คือ ประโยคที่มี
ประธานขึ้นต้นประโยค หรือประโยคที่เอาผู้
แสดงอยู่หน้าประโยค แล้วจึงตามด้วยภาค
แสดงต่อไป เช่น
           ผูช ายคนนี้ขุดดิน
             ้
           ใครมาที่บานของฉัน
                       ้
           สุน ัข กัดแมว
๒. ประโยคกรรม คือ ประโยคที่น ำา
เอากรรมาขึ้น ต้น ประโยคหรือ มาเป็น
ประธานของประโยค เช่น
          ดิน ถูกคนขุด
          แมวถูกสุนัขกัด
          ปลาติดเบ็ด
    ๓. ประโยคกริย า คือ ประโยคที่เ อา
กริย ามาขึ้น ต้น ประโยคเพื่อ ต้อ งการให้
กริย านั้น เด่น ขึ้น คำา กริย าที่น ำา มาใช้ใ น
ประโยคมีค ำา ๓ คำา คือ มี เกิด ปรากฏ
เช่น
          มีพายุเกิดขึ้นกลางดึก
๔.ประโยคการิตคือรูปประโยคกรรตุ
หรือประโยคการิตนั่นเอง แต่มีการิต
การก (ผู้รับใช้) เพิมเข้ามา เช่น
                     ่
         แม่ใ ช้น ัก เรีย นถอนหญ้า
         เขาให้ค นรัก ถักเสือให้
                             ้
    ๕. ประโยคกริยาสภาวะมาลา กริยา
สภาวมาลา คือ กริยาที่กล่าขึ้นมาลอยๆ
โดยไม่มีประธาน และกริยาตัวนั้นทำา
หน้าที่เหมือนคำานาม ทำาหน้าทีเป็น
                               ่
ประธานของประโยคได้ เช่น
         เดิน เล่น ตอนเช้าเป็นการออก
ประเภทของประโยค
ถ้าแบ่งประโยคตามจุดมุ่งหมายของการใช้
สื่อสารสามารถแบ่งได้ ๔ ประเภท คือ
       ๑. ประโยคบอกเล่า หมายถึง
ประโยคที่ม ีเ นื้อ ความบอกเรื่อ งราว เล่า
เรื่อ งความเป็น ไปต่า งๆ ให้ร ู้ เช่น
              นกบินไปในอากาศ
              แดงและดำาทำาขนมกันที่บาน
                                    ้
       ๒. ประโยคปฏิเ สธ หมายถึง ประโยค
ที่ม ีเ นื้อ ความบอกอาการไม่ย อมรับ หรือ
ไม่ท ำา ตามที่ผ พ ูด ต้อ งการ เช่น
                  ู้
              เขาไม่ยอมขายหนังสือเล่มนี้
๓. ประโยคคำา ถาม หมายถึง
ประโยคที่ม ีเ นื้อ ความสงสัย เป็น
คำา ถามเพื่อ ขอความกระจ่า ง เช่น
        คุณไปนครพนมมาหรือ
        ท่านส่งหนังสือเล่มนี้คนหรือยัง
                              ื

     ๔. ประโยคบัง คับ หรือ ขอร้อ ง
หมายถึง ประโยคที่ม เ นื้อ ความบัง คับ
                      ี
ให้ท ำา หรือ ขอร้อ งให้ท ำา มีข ้อ สัง เกต
ว่า ประโยคประเภทนี้ม ก ประกอบด้ว ย
                        ั
คำา ว่า อย่า จง โปรด วาน ช่ว ย นำา
หน้า เช่น
ชนิด ของประโยค
 ประโยคแบ่งออกเป็น ๓ ชนิด ดังนี้
๑. เอกรรถประโยค (เอก+อรรถ+ประโยค)
 ประโยคที่มีความหมายเดียว หรือเนื้อความเป็น
 หนึ่ง คำาว่าเนื้อความเป็นหนึ่ง หมายถึง มีประธาน
 ๑ กริยา ๑ หรือถ้ามีกรรมก็มีเพียง ๑ เช่นกัน
 ส่วนมากเป็นประโยคสันๆ ที่ใช้พูดจากันในชีวิต
                        ้
 ประจำาวันเป็นพื้นฐาน เช่น
      เราพบกันริมหนองหาร
      ฉันชอบเที่ยวตามชายทะเล
๒. อเนกรรถประโยค
 (อน+เอก+อรรถ+ประโยค) คือ ประโยคที่
 ประกอบด้วยเอกรรถประโยคหลายๆ ประโยค
๒.๑ อัน วยาเนกรรถประโยค คือ
ประโยคที่มีเนื้อความคล้อยตามกัน โดยมี
สันธานเชื่อม เช่น
         ๑) มีเนือความคล้อยตามกันตามเวลา
                  ้
ประโยคพวกนีมักมีคำาว่า แล้ว พอ เมื่อ ประกอบ
                ้
อยู่หน้า เป็นคำาช่วยสันธานเพื่อแสดงความต่อ
เนื่องกัน เช่น
          แล้ว...จึง : เขาช่วยงานแม่แล้ว
เขาจึงไปเล่นกีฬา
          ครั้น...ก็ : ครั้นเขาเดินทางมาถึง
แล้ว เขาก็ไม่ไปไหนอีก
๒) มีเนือความคล้อยตามกันหรือร่วมกัน
                     ้
    ตามอาการ ประโยคในพวกนี้จะกระทำากริยา
    อาการเหมือนกันทังประโยคหน้าและประโยคหลัง
                       ้
    โดยมีสันธาน และ เป็นตัวเชื่อมหลัก เช่น
                       นายดำาทำานาและนายแดงทำานา
     ละบทกริยา
                       นายดำาและนายแดงทำานา
 
                          นายแสงตัวสูงตีนายเขียวตัว
    เล็กและนายแสงตัวสูง
                             ทุบนายขาวด้วย
     ละบทประธาน
                    นายแสงตัวสูงตีนายเขียวตัวตัว
    เล็กและ
                   ทุบนายขาวด้วย
๓) มีเนื้อความคล้อยตามกันโดยสังเกตคำากริยา
    ประโยคพวกนี้เป็นประโยคที่ละสันธาน และ ออก
    ไปแต่ยังได้ความสมบูรณ์ เช่น
 
                                  เขานัง และนอน และ
                                       ่
    เล่นจนเบื่อแสนเบื่อ
    ละสันธานเป็น
                          เขานั่ง นอน เล่น จนเบื่อแสน
    เบื่อ
 
       ๔) มีเนื้อความตามกันแบบคาดคะเน ประโยค
    พวกนี้ก็ได้แก่ประโยค ที่มีคำาสันธานพวก ถ้า ถ้าว่า
    ผ ผิว่า แม้ แม้ว่า เป็นตัวเชื่อม เช่น
๒.๒ พยติเ รกาเนกรรถประโยค
 คือ ประโยคที่มีเนื้อความแย้งกัน หมาย
ถึง เนื้อความของเอกรรถประโยคหลัง
ขัดแย้งกับเนื้อความในเอกรรถประโยค
ข้างหน้า มีข้อสังเกตคือ สันธาน ที่นำา
มาเป็นคำาตัวเชื่อมมีคำาว่า แต่ เป็นหลัก
นอกจากนี้กมีสันธานคำาอืนประสมเกี่ยว
            ็              ่
กับคำาว่า แต่ เช่น แต่ว่า แต่...ก็ แต่
ทว่า เช่น

   ฝนตกแต่แดดออก
๒.๓ วิก ัล ป์ป าเนกรรถประโยค
คือ ประโยคที่มีเนื้อความ ให้เลือกเอา
อย่างใดอย่างหนึ่งไม่เลือกเลยไม่ได้
ประโยคชนิดนี้ประกอบด้วยสันธาน หรือ มิ
ฉะนั้น ไม่เ ช่น นั้น ไม่อ ย่า งนั้น เป็นตัว
เชื่อม เช่น

    นายสมศักดิ์ หรือ นายวิบลย์เป็นนาย
                           ู
อำาเภอ
๒.๔ เหตวาเนกรรถประโยค คือ
ประโยคที่มีเนื้อความเป็นเหตุเป็นผลกัน มี
ลักษณะเหมือนอันวยาเนกรรถประโยค คือ มี
เนื้อความคล้อยตามกัน แต่ทว่าเป็นการคล้อย
ตามกันในเชิงเป็นเหตุเป็นผลแก่กัน
       มีข้อสังเกตคือ ถ้าเป็นอเนกรรถประโยค
ชนิด เหตวาเนกรรถประโยค ประโยคหน้าต้อง
มีเนื้อความเป็นเหตุ ประโยคหลังมีเนื้อความ
เป็นผล โดยมีสันธาน จึง เพราะ เพราะ
ฉะนั้น ดัง นั้น ฉะนั้น เป็นตัวเชื่อม เช่น
           นำ้าเน่ายุงจึง ชุม
           เพราะแดดออกถนนจึง ลืน   ่
ข้อ สัง เกต

      ๑.สัน ธานที่เ ชื่อ มประโยค ไม่
ได้อยู่ตรงกลางระหว่างประโยคต่อ
ประโยคเสมอไป อาจอยู่หน้าประโยค
หรือแทรกระหว่างคำาก็ได้
      ๒. ประโยคเหตวาเนกรรถ
ต้องขึ้นต้นด้วยประโยคเหตุ และตาม
ด้วยประโยคผลเท่านั้น ถ้าเป็นประโยค
ผลขึนก่อนจะกลายเป็น สังกรประโยค
    ้
สัง กรประโยค
              สังกรประโยค แปลว่า
ประโยคแต่ง ประโยคปรุง หมายถึง
ประโยคใหญ่ที่ประกอบด้วย
เอกรรถประโยค ๒ ประโยค โดยประโยค
แรกเป็นประโยคที่มีเนื้อความสำาคัญเป็น
หลัก และประโยคหลังเป็นประโยคที่มีเนื้อ
ความเป็นรองทำาหน้าที่เป็นประโยค
ประกอบ หรือ ประโยคปรุงแต่ง ประโยค
หลักเรียกว่า มุข ยประโยค ประโยครอง
ส่ว นของประโยคสัง กร ถ้า
แจกแจงประโยคสังกรประโยคออกเป็นส่วน พบ
ส่วนประกอบ ๒ ส่วน คือ
          ๑. มีประโยคใหญ่ หรือประโยคหลัก
อยู่หนึ่งประโยค ซึ่งเป็นประโยคที่มีเนื้อความ
สมบูรณ์ อาจเรียกเป็นประโยคหัวหน้าหรือ
ประโยคเริ่มได้ เรียกประโยคนี้ว่า มุข ย
ประโยค

         ๒. มีประโยคเล็ก หรือ ประโยคปรุง
แต่ง แทรกเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของประโยคใหญ่
อย่างน้อย ๑ ประโยค ที่บอกว่าเป็นส่วนหนึง
                                       ่
๒.๑ นามานุประโยค คือ อนุประโยคที่
มีหน้าที่คล้ายคำานามหรือสรรพนาม สามารถ
ประกอบเป็นประธาน กรรม และบทวิกัติการก
ของประโยคเป็นหลัก
    คนเดิน ริม ถนนเป็นตำารวจ ประกอบเป็น
    บทประธาน
    เขาพูดว่าเครื่อ งบิน ตก       ประกอบ
เป็น บทวิกัติการก

     ๒.๒ คุณานุประโยค คือ ประโยคที่ทำาหน้าที่
คล้ายคำาวิเศษณ์ สำาหรับประกอบนาม หรือ
สรรพนามในประโยคหลัก โดยมีคำาประพันธ์
สรรพนาม ที่ ที่ซ ึ่ง อัน เป็นบทเชื่อม ซึ่งบทเชือม
                                               ่
นีต้องติดอยู่กับคำานาม หรือสรรพนามข้างหน้า
  ้
๒.๓ วิเศษณานุประโยค คือ อนุ
ประโยคที่ทำาหน้าที่คล้ายคำาวิเศษณ์
สำาหรับประกอบกริยาหรือคำาวิเศษณ์ใน
ประโยคหลักนั้น โดยมีคำาประพันธ
วิเศษณ์ จน เมื่อ เพราะ ทาง ตาม ฯลฯ
เป็นบทเชือม เช่น
         ่
        เขาพูดเร็วจนฉัน ฟัง ไม่ท ัน
แล้ว
        เขามาเมื่อ เธอหลับ แล้ว
        เขาสอบตกเพราะขี้เ กีย จ
ข้อ สัง เกตเกี่ย วกับ วิเ ศษณานุ
           ประโยค
     วิเศษณานุประโยค นอกจากทำา
 หน้าที่คล้ายคำาวิเศษณ์ คือ ขยาย
 กริยาและวิเศษณ์ดวยกันแล้ว วิเศษณา
                    ้
 นุประโยคยังบอกหน้าที่ตามลักษณะดัง
 ต่อไปนี้
     บอกลักษณะ เช่น
          เขาอนุญาตให้ฉ ัน ไปบ้า น
          เขาทำาเพราะครูส อน
     บอกกาล เช่น
          เขาไปเมื่อ ฝนหยุด แล้ว
บอกสถาน เช่น
    กิ่งไม้หักตรงหลัง คา
 โรงรถ
    คนยังกินใกล้บ ้า นพัก ของ
 ฉัน
    ฉันซื้อมาจากโรงพิม พ์ใ น
 เมือ ง
บอกเหตุ เช่น
    เขาสอบได้เ พราะขยัน อ่า น
บอกผล เช่น
   เด็กหิวนมจนร้อ งไห้
   เขาคอยจนเป็น ลม
บอกความเปรียบเทียบ เช่น
   เรือแล่นเร็วเหมือ นลมพัด
   คนมุงเธอเหมือ นดาวล้อ ม
เดือ น
จบการ
  บรรยาย
ขอบคุณครับ

More Related Content

What's hot

แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความขนิษฐา ทวีศรี
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์ ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร บุญศรี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์  ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร  บุญศรีเอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์  ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร  บุญศรี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์ ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร บุญศรีครูเย็นจิตร บุญศรี
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์krubuatoom
 
คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ Rodchana Pattha
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพSirintip Arunmuang
 
กาพย์ยานี11 ป.5
กาพย์ยานี11 ป.5กาพย์ยานี11 ป.5
กาพย์ยานี11 ป.5SAM RANGSAM
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1Sivagon Soontong
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพkhorntee
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน0872191189
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยพัน พัน
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพyangclang22
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมWatcharapol Wiboolyasarin
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์niralai
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
 
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปลรวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปลChavalit Deeudomwongsa
 

What's hot (20)

แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]
๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]
๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์ ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร บุญศรี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์  ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร  บุญศรีเอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์  ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร  บุญศรี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์ ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร บุญศรี
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์
 
คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 
กาพย์ยานี11 ป.5
กาพย์ยานี11 ป.5กาพย์ยานี11 ป.5
กาพย์ยานี11 ป.5
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพ
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
 
ไตรสิกขา
ไตรสิกขาไตรสิกขา
ไตรสิกขา
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปลรวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
 

Viewers also liked

คำนาม111
คำนาม111คำนาม111
คำนาม111wannisa_md
 
งานนำเสนอนวัตกรรม
งานนำเสนอนวัตกรรมงานนำเสนอนวัตกรรม
งานนำเสนอนวัตกรรมrainacid
 
ประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อนประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อนพัน พัน
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓Nongkran Jarurnphong
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)Nongkran Jarurnphong
 

Viewers also liked (9)

คำนาม111
คำนาม111คำนาม111
คำนาม111
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
 
¼êí¹
¼êí¹¼êí¹
¼êí¹
 
งานนำเสนอนวัตกรรม
งานนำเสนอนวัตกรรมงานนำเสนอนวัตกรรม
งานนำเสนอนวัตกรรม
 
ประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อนประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อน
 
009 รายงาน
009 รายงาน009 รายงาน
009 รายงาน
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
 
การนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัยการนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัย
 

Similar to หลักภาษา

การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยbambookruble
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยKittitus Sa-admoang
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทยguestd57bc7
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาkingkarn somchit
 
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิTongsamut vorasan
 
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย Kun Cool Look Natt
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยpinyada
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยNook Kanokwan
 
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำสื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำNook Kanokwan
 

Similar to หลักภาษา (20)

การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
Kitaya2013 tabletnotest
Kitaya2013 tabletnotestKitaya2013 tabletnotest
Kitaya2013 tabletnotest
 
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทยใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
 
การจำแนกชนิดคำในภาษาไทย
การจำแนกชนิดคำในภาษาไทยการจำแนกชนิดคำในภาษาไทย
การจำแนกชนิดคำในภาษาไทย
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
thai Research
thai  Researchthai  Research
thai Research
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
นุกูล
นุกูลนุกูล
นุกูล
 
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
 
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทย
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทย
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
 
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำสื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
 

หลักภาษา

  • 1. ภาษาไทยสำา หรับ ครู เรื่อ ง หลัก ภาษาไทย (พยางค์ คำา และประโยค) บรรยายโดย อาจารย์ก ิต ิร าช พงษ์เ ฉลีย ว โปรแกรมวิช าภาษาไทย คณะมนุษ ยศาสตร์แ ละสัง คมศาสตร์ มหาวิท ยาลัย ราชภัฏ อุบ ลราชธานี ณ คณะครุศ าสตร์ มหาวิท ยาลัย ราชภัฏ อุบ ลราชธานี วัน ที่ ๒๑-๒๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๒
  • 3. พยางค์ พยางค์ คือ ส่วนหนึ่งของคำาหรือหน่วย เสียงที่ประกอบด้วยสระตัวเดียวจะมีความหมาย หรือไม่มีก็ได้ พยางค์หนึ่งมีส่วนประสมต่างๆ กัน คือ ๑. พยัญชนะ + สระ + วรรณยุกต์ เช่น ตา ดี ไป มา พยางค์ชนิดนีเรียกว่า ประสม ๓ ส่วน ้ ๒. พยัญชนะ + สระ + วรรณยุกต์ + ตัวสะกด เช่น คน กิน ข้าว หรือ พยัญชนะ + สระ+วรรณยุกต์+ตัวการันต์ เช่น โล่เล่ห์ พ่าห์ ผี้ว์ พยางค์ทง ๒ ชนิดนี้เรียกว่า ประสม ๔ ส่วน ั้
  • 4. จะเห็นได้ว่า พยางค์แต่ละ พยางค์ อย่างน้อยจะต้องมีส่วนประสม ๓ ส่วน คือ พยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ อย่างมากจะต้องมี ๕ ส่วน คือ พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ ตัวสะกด และการันต์ จะ น้อยกว่า ๓ ส่วน หรือมากกว่า ๕ ส่วนไม่ได้ และ คำาๆ เดียวจะมีพยางค์เดียว หรือ หลายพยางค์ก็ได้ ดังตัวอย่าง กา คำาเดียว ๑ พยางค์ กาเหว่า ” ๒ พยางค์ การะเวก ” ๓ พยางค์
  • 6. ความหมายของคำา ความหมายแรก หมายความว่า พยางค์หนึ่งๆ คือ เสียงที่เปล่งออกมาครั้งหนึ่งๆ ดังที่ใช้อยู่ในตำารา อักขรวิธีว่า คำาเป็น คำาตาย และที่ใช้ในตำารา ฉันทลักษณ์ว่า คำาครุ คำาลหุ หรือจำานวนคำา ที่ใช้ใน วรรคหนึงๆ ของคำาประพันธ์ว่า โคลงบาทนันมี ่ ้ เท่านั้นคำา เป็นต้น ความหมายที่สอง หมายความว่า คำาร้องท่อน หนึ่ง เป็นคำาหนึ่ง ดังที่ใช้ในคำากลอนบทละครต่างๆ คือหมายความว่า คำากลอน ๒ วรรค เป็นคำาหนึ่ง เช่น
  • 7. ความหมายที่สาม หมายความว่า เสียง ที่พูดออกมา ได้ความหมายอย่างหนึ่ง ตามความ ต้องการของผู้พูดจะเป็นกี่พยางค์ก็ตาม เรียกว่า คำาหนึ่ง บางคำามีพยางค์เดียว มีหลายพยางค์ ดังตัวอย่าง   ‘นา’ (ที่ปลูกข้าว) เป็นคำา ๑ มีพยางค์ ๑ ‘นาวา’ (เรือ) เป็นคำา ๑ คำา มี ๒ พยางค์ ‘นาฬิกา’ (โมงหรือทุ่ม) เป็นคำา ๑ มี ๓ พยางค์ เป็นต้น
  • 8. เค้า เงื่อ นของคำา คำาไทยแต่เดิมมักมีพยางค์เดียวโดดๆ คล้ายกับคำาภาษาจีน ซึ่งใกล้เคียงกัน เช่น พ่อ แม่ เงิน ทอง ดิน นำ้า ลม ไฟ ม้า ช้าง เป็ด ไก่ เป็นต้น ภายหลังรับเอาคำาภาษาอื่น เช่น บาลี และสันสกฤต ซึ่งมักมีหลายๆ พยางค์มาใช้ จึง ได้มีพยางค์มากออกไป เช่น บิดา มารดา สุวรรณ ปถวี อุทก อัคคี สุนัข สุกร เป็นต้น
  • 9. คำาเหล่านีในภาษาอื่นออกเสียงมี ้ พยางค์มากกว่าที่เราใช้อยู่ เนื่องจากภาษา ไทยเคยใช้คำาน้อยพยางค์ เราจึงมาตัดทอน ให้น้อยพยางค์ลงกว่าภาษาเดิมที่ยืมมา เช่น สุ – ขะ ตัดเป็น สุข พา – ละ ตัดเป็น พาล (พาน) กุ – สะ – ละ ตัดเป็น กุศล (กุ – สน) กาญ – จะ – นะ ตัดเป็น กาญจน์ (กาน)
  • 10. ความแตกต่างระหว่างคำากับพยางค์ คำา พยางค์ ๑) เสียงทีเปล่งออกมาต้องมี ่ ๑) เสียงที่เปล่งออกมา ความหมายอาจมีกพยางค์ี่ แต่ละครั้งถือเป็น ๑ พยางค์ ก็ได้ ๒) พยางค์บางครั้งอาจมี ๒) คำาพูด ๑ คำา มีจำานวน ความหมาย ถ้ามีความ พยางค์ไม่เท่ากันเสมอไป หมายถือเป็นคำา ๓) มีบางคำาทีเป็นพยางค์ ่ ๓) พยางค์เป็นส่วนหนึ่ง และคำา เช่น อี อา ของคำา ประกอบกันเข้าเป็น ๔) คำาเป็นหน่วยทีใหญ่กว่า ่ คำา พยางค์หรืออย่างน้อยทีสุด ่ ๔) พยางค์ประกอบด้วย ก็เท่ากับพยางค์ ส่วนต่างๆ ตั้งแต่ ๓ ส่วนถึง ๕ ส่วน ดังตัวอย่างเช่น นา มีส่วนประกอบ ๓
  • 11. การสร้า งคำา ในภาษาไทย จากคุณสมบัติคำาไทยเป็นคำาโดด หรือ คำาพยางค์เดียว จึงทำาให้คำาไทยมีจำานวน จำากัดไม่เพียงพอสำาหรับการตั้งชื่อ คน สัตว์ สิ่งของ ตลอดจนบอกอาการความรู้สึกต่างๆ จึง ต้องหาวิธการสร้างคำาศัพท์ให้มีจำานวนมากขึ้น ี ซึ่งมีวิธีการดังนี้ สร้างโดยการประสมคำา สร้างโดยการแยกระดับเสียงของคำาให้มี ระดับต่างกัน สร้างโดยการเลียนแบบภาษาต่างประเทศ สร้างโดยการบัญญัติศัพท์
  • 12. การสร้า งคำา ในภาษาไทยโดยการ ประสมคำา การประสมคำา หมายถึง การนำาคำาศัพท์ตั้งแต่ ๒ คำาขึ้นไป มา รวมกันเข้า ได้คำาศัพท์ใหม่ขนมา วิธี ึ้ การประสมคำาที่ปรากฏในภาษาไทย แล้วเกิดคำาใหม่ขึ้นมา ได้แก่ คำาประสม คำาซำ้า คำาซ้อน คำาคู่
  • 13. ก่อนกล่าวถึงรายละเอียดของการ สร้างคำาแต่ละแบบ ควรได้ทำาความ เข้าใจเกี่ยวกับ คำามูลก่อน ดังนี้ คำา มูล หมายถึง คำาที่มีมาใน ภาษาเดิม หรือเป็นคำาพื้นฐานของ ภาษา ส่วนมากเป็นพยางค์เดียวและ เป็นคำาที่เรียกสิงต่างๆ ตลอดจนอาการ ่ ที่จำาเป็นของมนุษย์ คำามูลจะเป็นคำา ไทยแท้หรือคำาในภาษาอื่นก็ได้ มี ลักษณะที่สงเกตได้ดังนี้ ั
  • 14. ๑.เป็นพยางค์เดียวโดดๆ มีความหมายในตัวเอง เช่น คำาที่ใช้เรียกขานสิ่งต่างๆ ดังนี้ คำา สรรพนาม เช่น ฉัน กู มึง เขา สู แก คำา บอกจำา นวนนับ เช่น หนึง สอง ่ สาม... คำา เรีย กเครือ ญาติ เช่น พ่อ แม่ พี่ น้อ ง ปู่ ย่า ตา ยาย คำา เรีย กอวัย วะต่า งๆ ของร่า งกาย เช่น แขน ขา หัว ผม ปาก คำา เรีย กชือ เครื่อ งใช้ใ นบ้า น ่ เช่น หม้อ จาน ชาม ถ้ว ย คำา ทีใ ช้เ รีย กเครื่อ งมือ ประกอบอาชีพ ่ เช่น มีด ขวาน จอบ เสีย ม
  • 15. ๒.เป็นคำาทีประกอบด้วยหลาย ่ พยางค์ แต่ถ้าแยกพยางค์เหล่านันออก ้ จะไม่มความหมายในภาษาหรือถ้ามี ี ความหมาย ความหมายนันก็ไม่ใกล้ ้ เคียงกับคำาเดิมเมื่อรวมพยางค์ เช่น กระถาง กระป๋อง สายยู อาชญา เป็นต้น
  • 16. คำา ประสม (COMPOUND WORD) หมายถึง คำาที่เกิดจากการนำา คำามูลตั้งแต่ ๒ คำาขึ้นไปมารวมกันเข้า แล้วเกิดเป็นคำาใหม่ มีความหมายต่าง ไปจากคำามูลเดิม หรือเพียนไปเล็ก ้ น้อย โดยใช้คำาที่มความหมายเด่นเป็น ี คำาหลัก หรือเป็นหลักฐานแล้วนำาคำาที่ มีความหมายรองลงไปมาขยายไว้ข้าง หลัง คำาประสมมีหลายลักษณะ ดังนี้
  • 17. ๑.๑ คำาประสมที่เกิดจากนำาคำามูลที่มีความหมาย ต่างกันประสมกัน แล้วมีความหมายต่างไปจาก ความหมายเดิม แต่ไม่ทิ้งเค้าความเดิม เช่น นำ้าปลา = นำ้า หมายถึง ของเหลว ปลา หมายถึง สัตว์นำ้าชนิดหนึง่ สองคำารวมกัน หมายถึง นำ้าที่ใช้ปรุงอาหาร มี รสเค็ม แม่นำ้า = แม่ หมายถึง หญิงผู้ให้ กำาเนิด นำ้า = ของเหลว สองคำารวมกัน หมายถึง สายนำ้า คำาประสมที่เกิดจากนำาคำามูลที่มีเนื้อ ความต่างกันมาประสมกัน มีความใกล้เคียงกับ
  • 18. คำา ประสมที่เ กิด จากนำา คำา ที่ย อ ่ มาจากคำา ยาวๆ แล้ว นำา ไปประสมกับ คำา มูล เกิด เป็น คำา ศัพ ท์ใ หม่แ ต่ย ัง รัก ษา ความหมายของคำา เดิม แต่ล ะคำา เอาไว้ ได้แ ก่ค ำา ว่า ผู้ ที่ ของ เครื่อ ง หมอ ชาว ช่า ง นัก เช่น ช่า ง + ไม้ เป็น ช่า งไม้ แปลว่า คนชำา นาญด้ว ยการทำา ของใช้ด ้ว ยไม้ นัก + ร้อ ง เป็น นัก ร้อ ง แปลว่า คนที่เ ก่ง ในการร้อ งรำา ทำา เพลง คำา ประสมที่เ กิด จากการเอาคำา
  • 19. คำา ประสมที่เ กิด จากการนำา คำา มูล ซึ่ง มีร ูป เสีย ง และความ หมายต่า งกัน แต่ต ัด พยางค์ห รือ ย่น พยางค์ใ ห้ส ั้น เข้า คล้า ยวิธ ี สมาสในภาษาบาลี เมื่อ ประสม กัน แล้ว มีค วามหมายเหมือ นเดิม ก่อ นตัด ออกไป สถาผล มาจาก สถาพร + ผล (ผลอันยั่งยืน) สุมามาลย์ มาจาก สุมาลี +
  • 20. ข้อ สัง เกตเกี่ย วกับ อัก ษรคำา ประสม ๑.คำา ประสมในภาษาไทย มีล ัก ษณะเหมือ น คำา สมาสต่า งที่ ถ้า เป็น คำา สมาสจะต้อ งเป็น คำา ทีม า ่ จากภาษาบาลี และสัน สกฤตเท่า นัน ถ้า เป็น ภาษา ้ อื่น นอกเหนือ จากนีถ ือ ว่า เป็น คำา ประสมทัง สิ้น ้ ้ ๒. การเรีย งคำา ประสมนัน ถ้า เป็น คำา ในภาษา ้ ไทยก็เ รีย งคำา ตามระเบีย บคำา ภาษาไทย คือ คำา ทีม ี ่ ความหมายชัด เจนเรีย งเป็น หลัก ไว้ข ้า งหน้า คำา ที่ มีค วามหมายเป็น รองไว้ข ้า งหลัง เช่น วัง หลวง ปากกา นำ้า แข็ง กล้ว ยทอด แต่ถ ้า เป็น คำา ในภาษาบาลี สัน สกฤต การเรีย ง คำา ก็เ ป็น ไปตามระเบีย บของภาษาทัง สอง คือ เอา ้ คำา ทีม ค วามหมายรอง หรือ คำา ขยายไว้ข ้า งหน้า ่ ี
  • 21. ๓. คำา ประสมทีเ กิด จากคำา มูล หลาย ่ คำา มาประสมกัน เมือ เกิด เป็น คำา ใหม่ต ้อ ง ่ ถือ ว่า คำา นั้น เป็น คำา ศัพ ท์เ พีย งคำา เดีย วเท่า นัน ้ ๔. คำา ศัพ ท์ท ข ึ้น ต้น ด้ว ยคำา ว่า ช่า ง ี่ หมอ นัก ผู้ การ ความ เครื่อ ง ของ ที่ มัก เป็น คำา ประสม ๕. คำา มูล ทีน ำา มาประสมกัน สามารถนำา ่ มาประสมกัน ได้ ทัง คำา ไทยประสมคำา ไทยคำา ้ ไทยประสมคำา ต่า งประเทศ และคำา ต่า ง ประเทศประสมคำา ต่า งประเทศ เช่น คำา ไทย + คำา ไทย เช่น พ่อตา โรงเรียนแม่นำ้า คำา ไทย + บาลี เช่น พลเมือง ผลไม้ หลักฐาน คำา ไทย + สัน สกฤต เช่น เศรษฐศาสตร์ ศิลปศึกษา
  • 22. ๖. คำา ประสมมีต ง แต่ป ระสม ๒ คำา ั้ ประสม ๓ คำา และประสม ๔ คำา ประสม ๒ คำา เช่น ลูกคิด รองเท้า พัดลม รถราง ประสม ๓ คำา เช่น กล้องถ่ายรูป ผู้ใหญ่บ้าน ไม้หนีบ ผ้า ยางลบหมึก ประสม ๔ คำา เช่น กระเป๋าเดินทาง กระเป๋านำ้า
  • 23. ๗.คำา ที่น ำา มาผสมกัน เป็น ได้ ทัง คำา นาม สรรพนาม กริย า ้ วิเ ศษณ์ สัน ธาน อุท าน เช่น คำา นาม + คำา นาม กล้วยแขก ไฟฟ้า ลูกเสือ ลมปาก เตาถ่าน พัดลม คำา นาม + กริย า กล้วยทอด เรือขุด นางห้าม
  • 24. คำา ซำ้า ( REDUPLICATION ) เป็นการประสมคำาที่เกิดจากนำา คำาพูดคำาเดียวกันมาพูด หรือเขียนซำ้า คำาตั้งแต่ ๒ ครั้งขึนไป เพื่อประโยชน์ใน ้ การเปลี่ยนเสียง และเปลี่ยนแปลงความ หมายให้แตกต่างกัน เวลาเขียนใช้ ไม้ยมก (ๆ) แทนคำาหลัง ซึ่งมีการซำ้าคำา ได้หลายลักษณะ ดังนี้ ๒.๑ ซำ้าคำาแล้วทำาให้ความหมาย เปลี่ยนเป็นพหูพจน์ เช่น เด็กๆ ลูกๆ
  • 25. ๒.๒ ซำ้า แล้ว มีล ัก ษณะเป็น สำา นวน ของกล้วยๆ เหล่านี้ เรื่องหมูๆ เหลือเกิน พูดหมาๆ อีกแล้ว ๒.๓ ซำ้า แล้ว มีค วามหมายแบ่ง แยก เป็น จำา นวน เช่น กวาดเป็นห้องๆ เขาทั้งหลานเดินมาเป็นคู่ๆ เขาใช้ดินสอหมดไปเป็นแท่งๆ
  • 26. ๒.๔ ซำ้า แล้ว ทำา ให้น ำ้า หนัก ของคำา เพิ่ม ขึ้น เป็น การเน้น ความหมายของคำา เช่น พูดเท่าไรๆ ก็ไม่เชื่อ ฝนคงตกแน่ๆ เลย การซำ้า คำา เพื่อ เพิ่ม นำ้า หนัก ของคำา เพิ่ม ความหมาย อาจออกเสีย งวรรณยุก ต์ค ำา หน้า เปลี่ย นไปบ้า ง เช่น ผ้าย้าวยาว เธอส้วยสวย ๒.๕ ซำ้า แล้ว ให้น ำ้า หนัก หรือ ความ หมายของคำา ลดจากเดิม เช่น เธอมีผวขาวๆ หน่อย ิ
  • 27. ๒.๖ ซำ้า แล้ว ความหมายของคำา บ่ง ความไม่แ น่น อน ถ้า เกี่ย วกับ สถานที่ก ็ ไม่เ จาะจงไปว่า เป็น จุด ใด หรือ ถ้า เกี่ย วกับ เวลา ก็ไ ม่เ จาะจงเวลาลงไป เช่น เขายืนอยูแถวๆ สะพาน ่ เขายืนอยูใกล้ๆ หอสมุด ่ ให้คณมาพบฉันตอนเที่ยงๆ นะคะ ุ ๒.๗ ซำ้า แล้ว บ่ง ความเป็น พวก เดีย วกัน หรือ สภาวะอย่า งใดอย่า ง หนึ่ง เช่น
  • 28. ๒.๘ ซำ้า แล้ว มีค วามหมายบ่ง ถึง การ เคลือ นไหวที่ด ำา เนิน ติด ต่อ กัน เช่น ่ เธอร้องไห้นำ้าตาหยดเผาะๆ เชียว เขาโขลกๆ นำ้าพริกดังลันบ้าน ่ เธอเถียงแม่ฉอดๆ เลยแหล่ะ ๒.๙ คำา ซำ้า บางคำา มีล ก ษณะเลีย นเสีย ง ั ธรรมชาติ เช่น เสีย งสัต ว์ เพื่อ เลีย นเสีย ง ธรรมชาติ เป็น ต้น ฝนตกซูๆ ่ นำ้าไหลจ๊อกๆ ไก่ร้องเจียบๆ ๊
  • 29. ๒.๑๐ คำา ซำ้า บางคำา เปลี่ย นเสีย งสระให้ เพี้ย นไปบ้า ง แต่ไ ม่ม ากนัก เช่น เปรี้ยงๆ เพี้ยนเป็น เปรี้ยงป้าง เจี้ยวๆ เพี้ยนเป็น เจี้ยวจ้าว เหง่งๆ เพี้ยนเป็น เหง่งหง่าง ๒.๑๑ มีค ำา ซำ้า บางคำา เปลี่ย นเสีย งคำา หน้า ให้ก ร่อ นลง ส่ว นใหญ่ใ ช้ใ นกาพย์ กลอน คำา ซำ้า ลัก ษณะนีภ าษาบาลีเ รีย กคำา ้ อัพ ภาส สัน สกฤตเรีย ก อัภ ยาส เช่น แย้มแย้ม กร่อนเป็น ยะแย้ม ยิบยิบ กร่อนเป็น ยะยิบ ลิ่วลิ่ว กร่อนเป็น ละลิ่ว
  • 30. ๒.๑๒ มีค ำา ซำ้า พวกหนึง มีล ัก ษณะเป็น คำา ่ ๒ คู่ แต่ม ีค ำา ซำ้า กัน เพีย ง ๑ คู่ เท่า นัน และ ้ คำา ที่ไ ม่เ หมือ นกัน นัน มีค วามหมายใกล้ ้ เคีย งกัน คำา ซำ้า ชนิด นี้เ รีย กว่า คำา ซำ้า ในคู่ เช่น กินจุบกินจิบ เข้าด้ายเข้าเข็ม คาหนังคาเขา ในรั้วในวัง แม่สอแม่ชัก ื่ ได้เรื่องได้ราว      
  • 31. ข้อ สัง เกตเกี่ย วกับ คำา ซำ้า ๑.ไม้ย มกในภาษาไทย จะใช้ ภาษาเฉพาะกับ คำา ซำ้า เท่า นั้น คำา อื่น ที่เ ป็น คำา เดีย วจะไม่ใ ช้ไ ม้ย มก เช่น เขาสวมเสือสีดำาๆ (คำาซำ้า) ้ เขาสวมเสือดำา ดำานา ้ (ไม่ใช่คำาซำ้า) ๒. คำา ศัพ ท์ใ นภาษาไทย มีค ำา บาง คำา ไม่เ คยใช้เ ป็น คำา ซำ้า เลย เช่น หนัง สือ มะม่ว ง แขน เท้า แต่ค ำา อีก พวกหนึ่ง จะใช้เ ป็น คำา ซำ้า เสมอ เช่น นึก ออกเลาๆ แล้ว พูด อยู่ห ยกๆ ข้า ว
  • 32. ๓. มีค ำา ไทยบางคำา อาจพูด ซำ้า ก็ไ ด้ ไม่ซ ำ้า ก็ไ ด้ เพราะความ หมายของคำา คงเดิม เสมอ เช่น ส่ง อยู่ ค่อ ย ผี ๔. คำา ซำ้า เป็น คำา ที่ส ร้า งขึ้น เพื่อ ให้ม ีค ำา ใช้ม ากขึ้น แม้ว ่า เมื่อ ซำ้า กัน แล้ว จะมีเ ค้า ความหมาย แต่ คำา นี้ก ็ม ีค วามหมายเฉพาะของมัน
  • 33. ๕. คำา ชนิด ต่า งๆ ในภาษาไทย สามารถนำา มาสร้า งคำา ด้ว ยวิธ ีก าร ซำ้า คำา ได้เ กือ บทั้ง หมด เช่น ซำ้าคำานาม เช่น เด็กๆ หนุ่มๆ สาวๆ ซำ้าคำาลักษณะนาม เช่น โหลๆ คูๆ ่ ฟุตๆ ซำ้าคำาสรรพนาม เช่น ใครๆ หล่อนๆ ซำ้าคำากริยา เช่น เดินๆ วิ่งๆ นอนๆ ซำ้าคำาวิเศษณ์ เช่น ดีๆ เบาๆ
  • 34. คำา ซ้อ น คือ คำา ประสมประเภทหนึ่ง ที่เ กิด จากการนำา เอาคำา มูล ที่ม ีค วามหมาย เหมือ นกัน หรือ คล้า ยกัน ตั้ง แต่ ๒ คำา ขึ้น ไปมารวมกัน เกิด เป็น คำา ศัพ ท์ข น ึ้ ใหม่ อาจจะมีค วามหมายต่า งหรือ เพีย นไปจากเดิม คำา ซ้อ นในภาษาไทย ้ ปรากฏในลัก ษณะดัง นี้
  • 35. ๑. คำา ซ้อ นเกิด จากคำา ไทยถิ่น ซ้อ นคำา ไทยถิ่น เช่น เสือสาด บ้านเรือน ดูแล ่ เร่าร้อน คิดอ่าน เกียจคร้าน เสียหาย ขบกัด ข่มเหง ๒. คำา ซ้อ นเกิด จากคำา ไทยปัจ จุบ น ั ซ้อ นคำา ไทยโบราณ เช่น กลิ่นอาย (อาย = กลิ่น) หนุ่มเหน้า(เหน้า หนุ่ม)
  • 36. ๓. คำา ซ้อ นเกิด จากคำา ไทยซ้อ นคำา ต่า ง ประเทศที่เ ป็น คำา ยืม เช่น ๓.๑ คำา ไทยซ้อ นคำา เขมร เช่น เล่าเรียน ดั้งเดิม ละเอียดลออ ๓.๒ คำา ไทยซ้อ นคำา บาลี เช่น พลเมือง หลักฐาน ข้าทาส ๓.๓ คำา ไทยซ้อ นสัน สกฤต เช่น สร้างสรรค์ นงลักษณ์ รังสรรค์ ๓.๔ คำา ไทยซ้อ นคำา ต่า งประเทศอื่น
  • 37. ๔.คำา ต่า งประเทศเป็น คำา ยืม ซำ้า กับ คำา ยืม ด้ว ยกัน ดัง นี้ ๔.๑ คำา บาลี สัน สกฤต ซ้อ น คำา บาลี สัน สกฤต ด้ว ยกัน เช่น คชสาร พนาวัน ชลธาร ชลาสินธุ์ อิทธิฤทธิ์ ยานพาหนะ ๔.๒ คำา เขมรซ้อ นคำา เขมร เช่น เลอเลิศ สรงสนาม ขมีขมัน เฉลิมฉลอง ๔.๓ คำา บาลี สัน สกฤต ซ้อ น คำา เขมร
  • 38. ๕.คำา ซ้อ นคำา บางคำา มีล ัก ษณะเป็น คำา ซ้อ นสองคู่ มัก มีเ สีย งสัม ผัส กับ คำา กลาง เพือ ให้อ อกเสีย งได้ง า ยขึ้น และ ่ ่ สละสลวยขึ้น เช่น อิ่มหมีพีมน ั เก็บหอมรอมริบ เจ็บไข้ได้ปวย ่ ช่วยเหลือจุนเจือ ซื้อง่ายขายคล่อง บ้านช่องห้องหอ วัดวาอาราม จับมือถือแขน
  • 39. ประโยชน์ข องคำา ซ้อ น ๑. ซ้อ นคำา แล้ว ช่ว ยเน้น ความของคำา ให้ช ด เจน ั ขึ้น เพื่อ ไม่ใ ห้เ กิด ความเข้า ใจผิด ในกรณีท ี่ คำา นัน มีเ สีย งคล้า ยกัน หรือ เสีย งพ้อ งกัน เช่น ้ เสียง ฆ่า ข้า ค่า พ้องกัน จึง ซ้อ นคำา เพื่อ เน้น ความหมาย เช่น ฆ่าฟัน ข้าทาส ข้าเจ้า คุณค่า ๒. ซ้อ นคำา แล้ว ช่ว ยอธิบ ายความหมายของคำา หนึง คำา ให้แ จ่ม แจ้ง เช่น ่ เสือสาด ่ ใช้คำาว่า เสื่อ อธิบายความหมายว่า สาด ซึ่งเป็น ภาษาถิ่น บ้านเรือน ใช้คำาว่า บ้าน อธิบายความหมายว่า
  • 40. ๓. ซ้อ นคำา แล้ว ช่ว ยเน้น ความหมาย ของคำา ให้ช ด ขึ้น เช่น ั เด็ดขาด ดูแล ขัดขืน กีดกัน ชักจูง ลากถูก ๔. ซ้อ นคำา แล้ว ช่ว ยให้เ กิด ความ หมายใหม่ใ นเชิง อุป มาอุป ไมย เช่น แจ่มใส เดือดร้อน ขัดข้อง ซักฟอก เล้าโลม ทักทาย ๕. ซ้อ นคำา แล้ว ช่ว ยให้เ กิด ความ ไพเราะสละสลวยของเสีย ง ทำา ให้
  • 41. ๖. ซ้อ นคำา แล้ว ช่ว ยให้เ กิด คำา ศัพ ท์ใ หม่ ขึ้น มาในภาษา มีค วามหมายใหม่ เช่น ขัด ข้อ ง ขัด ขวาง ขัด แย้ง ขัด ขืน ขัดข้อง หมายถึง ไม่ปฏิบติตามได้ ั ขัดขืน หมายถึง ต่อต้านผูกระทำาร้าย ้ ตน ขัดขวาง หมายถึง การกระทำาที่ต้องการ ให้เกิดอุปสรรค ต่อการทำางาน ขัดแย้ง หมายถึง มีความเห็นไม่
  • 42. คำา คู่ ( EUPHONIC COUPLET) คือ คำา ทีเ กิด จากการนำา เอา ่ คำา มาออกเสีย งซำ้า กัน แต่เ ปลีย น ่ สระหรือ ตัว สะกดให้ต ่า งกัน ออก ไป เพื่อ ให้เ กิด ความสะดวกเวลา ออกเสีย ง คำา คู่จ ึง เป็น คำา ซำ้า ชนิด หนึ่ง ที่ซ ำ้า เพื่อ ให้อ อกเสีย งสะดวก รื่น หู และกลมกลืน กัน คำา คู่น ี้ พระยาอนุม านราชธน เรีย กชื่อ ว่า
  • 43. สาเหตุท ี่เ กิด คำา คู่ เนื่อ งมาจาก การผลัก ดัน ขณะออกเสีย งเพื่อ ให้เ กิด ความ กลมกลืน กัน มีล ก ษณะสำา คัญ ดัง นี้ ั ๑. คำา คู่ท ี่เ กิด จากคำา ทีม ีเ สีย งเดิม ไม่ ่ สมดุล กัน จึง ออกเสีย งใหม่ใ ห้ม ีเ สีย งสมดุล กัน เป็น คู่ๆ เช่น สะกิดเกา เป็น สะกิดสะเกา ขโมยโจร เป็น ขโมยขโจร ๒. คำา คู่ท เ กิด จากคำา ไทยที่ม ีเ สีย งตัว สะกด ี่ แม่ กก ในคำา หน้า เมื่อ ออกเสีย งแล้ว เสีย ง คอนกัน จึง ใช้ค ให้ค ู่ก ัน เพื่อ ไม่ใ ห้เ สีย งคอน กัน เช่น
  • 44. ๓. คำาคู่ที่ยืดเสียงจากคำา พยางค์เดียวออกเป็นสองพยางค์ โดยถือเอา อักษรของคำาแรกเป็นหลัก ออกเสียงพยางค์หลัง ให้มเสียงสระต่างออกไปตามแต่จะออกให้ ี สะดวกปาก คำาหลังที่ยืดเสียงออกไปนี้ไม่มีความ หมาย (มีลักษณะเป็นเหมือนสร้อยคำา) เช่น   ดูเดอ กินแกน กวาด แกวด กวาดเกวิด ง่อนแง่น สวยเสย ไปเปย สอนเสิน ซื้อเซ้อ
  • 45. ๔.คำา คูท ี่เ กิด จากการแทรกเสีย งสระ ่ พยัญ ชนะ หรือ ยืด เสีย งตรงกลางคำา เพื่อ ให้ มีค วามไพเราะ เช่น ชีวาตย์ เป็น ชีวาวาตม์ พิมพิไล เป็น พิมพิลาไล   ๕. คำา คูท ี่เ กิด จากการออกเสีย งสระ ่ หลัง คูก ับ สระหน้า ในระดับ เสีย งเดีย วกัน ่ คือ อาจเป็น ระดับ เสีย งสูง ระดับ เสีย งกลาง และระดับ เสีย งตำ่า คำา ที่อ อกเสีย งคุก ัน นีส ว น ่ ้ ่ มากเป็น คำา ที่ม อ ก ษรตัว เดีย วแต่ม ส ระต่า ง ี ั ี กัน เช่น กรุ้มกริ่ม นุ่มนิม บูบี้ คู่คี่ โมเม ่ ้
  • 46. ๖. คำา คูท ี่เ กิด จากการแปลงเสีย ง ่ ของตัว สะกดในคำา หลัง ให้เ ป็น เสีย ง นาสิก ในวรรคเดีย วกัน กับ ตัว สะกด ของคำา หน้า มีท ั้ง ที่ค งสระไว้ต ามเดิม และเปลี่ย นแปลงสระไปด้ว ย เช่น นอบน้อม รวบรวม ทาบทาม หลีกเลี่ยง ถอดถอน ออดอ้อน ๗. คำา คูท ี่ม าจากคำา หน้า มีต ว ่ ั สะกดในแม่ กด กน เกย แต่จ ะมา เปลี่ย นตัว สะกดคำา หลัง ให้เ ป็น แม่เ กย
  • 47. การสร้า งคำา ไทยโดยการแยกเสีย ง ของคำา ให้ม ีร ะดับ ต่า งกัน ลักษณะการสร้างคำาแบบนี้ หมาย ถึง การใช้เสียงวรรณยุกต์ เป็นเครื่อง กำาหนดความหมายของคำา เพราะภาษา ไทยมีส่วนประกอบของพยางค์ หรือคำาอยู่ ๓ ส่วน คือ พยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ เมื่อใดออกเสียงวรรณยุกต์ของคำาให้ต่าง กัน ความหมายของคำานั้นก็จะเปลี่ยนไป ด้วย จึงเป็นผลทำาให้คำาไทยมีจำานวนคำา มากขึ้น เป็นวิธการสร้างคำาแบบหนึ่งใน ี
  • 48. การสร้า งคำา ไทยโดยการเลีย น แบบภาษาต่า งประเทศ ๑. สร้า งโดยเลีย นวิธ ส ร้า งคำา ใน ี ภาษาเขมร มีก ารสร้า งคำา โดยการ เติม คำา หรือ พยางค์ไ ปที่ค ำา เดิม ดัง นี้ ๑.๑ เติม หน้า คำา ได้แก่ การเพิ่ม พยางค์เข้าข้างหน้าคำาเดิมโดยเติม บัง บรร ประ กำา กระ กรร อะ เข้าหน้าคำาเพื่อให้ เข้าสละสลายขึ้น เช่น คบ เป็น ประคบ บัง เป็น กำาบัง
  • 49. ๑.๒ เติม หลัง คำา ได้แก่ การเพิ่มพยางค์ หรือ คำาเข้าข้างหลังคำาศัพท์เดิม โดยเมื่อเพิ่ม เข้าไปแล้วความหมายของคำาเดิมไม่ เปลี่ยนแปลง และคำาที่เพิ่มเข้าไปก็ไม่ต้องการคำา แปลแต่อย่างใด เช่น เคห เป็น เคหา โมห เป็น โมหา ๑.๓ เติม กลาง คือ การเพิ่ม พยัญชนะแทรกลงในระหว่างกลางของคำาที่เป็น คำาโดด แต่ไม่ทำาให้ความหมายของคำา เปลี่ยนแปลงไป คำาที่เติมกลางแบบนี้ไม่มี มาตรฐาน แน่นอน ส่วนมากเป็นคำาที่มีอยู่ใน ภาษาโบราณ การเติมกลางคำาในลักษณะนี้เลียน แบบการลงอาคมของภาษาเขมร เช่น
  • 50. การสร้า งคำา โดยวิธ ีก าร บัญ ญัต ิศ ัพ ท์ ศัพท์บญญัติ หมายถึง คำาศัพท์ที่คด ั ิ ขึ้นมาเพื่อแทนคำายืม ไม่ใช่คำาศัพท์ที่คิดขึ้นมา ใช้ตั้งแต่ดั้งเดิม ส่วนมากบัญญัติขึ้นมาใช้แทน คำาศัพท์ภาษาอังกฤษ ซึ่งเข้ามาพร้อมกับ วัฒนธรรมด้านต่างๆ ซึ่งศัพท์บัญญัติในภาษา ไทย อาจแบ่งตามลักษณะได้ดังนี้ ๑. บัญญัติจากคำาไทย เช่น ไฟฟ้า พัดลม ตู้เย็น โรงเรียน เป็นต้น ๒. บัญญัติขึ้นมาจากคำาไทยกับคำายืมที่มี อยู่แล้วในภาษาไทย เพื่อใช้แทนคำาที่นำาเข้ามา ใหม่ และยังไม่คนเคย เช่น โรงพยาบาล ุ้ (พยาบาล = บ.) จักรเย็บผ้า
  • 51. การสร้า งคำา โดยการ ยืม คำา การยืมคำาภาษาต่างประเทศเข้ามาใช้ ในภาษาไทยนั้น เป็นไปโดยไม่ตั้งใจ แต่ เป็นไปตามธรรมชาติของภาษา นั่นคือ สังคมที่อยูใกล้ชิดกันย่อมมีการและเปลี่ยน ่ วัฒนธรรมกัน และแน่นอนภาษาย่อมเข้ามา พร้อมกับการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม นั้น ด้วย  
  • 52. โดยสรุป ภาษาไทยเป็น ภาษาตระกูล คำา โดด คำา ส่ว นมากจึง มีพ ยางค์เ ดีย ว และมีค วามหมายสมบูร ณ์ใ นตัว เอง แต่ป จ จุบ น กลับ พบว่า คำา ไทยกลาย ั ั เป็น คำา มากพยางค์ข น ซึ่ง มูล เหตุ ึ้ สำา คัญ เกิด จาก ๒ ประเด็น คือ จากผู้ ใช้ภ าษาเอง และจากความต้อ งการ ให้ม ค ำา ศัพ ท์ใ ช้พ อเพีย งกับ ความ ี
  • 53. ๑.สร้างโดยวิธีการประสมคำา ด้วยวิธี ของคำาประสม,คำาซำ้า,คำาซ้อน,และคำาคู่ ๒.สร้างโดยการแยกระดับเสียงของคำา ให้มระดับต่างกัน การสร้างแบบนีอาศัยเสียง ี ้ วรรณยุกต์เพื่อแยกความหมายของคำาให้มีความ หมาย แตกต่างกันออกไป ๓. สร้างโดยการเลียนแบบภาษาต่าง ประเทศ เป็นวิธีการสร้างคำาที่เลียนแบบวิธีการมา จากภาษาบาลี-สันสกฤต และเขมร ๔. สร้างโดยการบัญญัติศัพท์ เป็นการ สร้างคำาที่เกิดเนืองจากความเจริญก้าวหน้าทาง ่ เทคโนโลยี เกิดอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ใหม่ๆ ขึ้น
  • 55. ความหมายของประโยค พระยาอุปกิตศิลปสาร (๒๕๔๓ : ๑๙๑- ๑๙๒) ได้แสดงแง่คิดเกี่ยวกับความหมาย ลักษณะ ของประโยคไว้ในหมวดวากยสัมพันธ์ว่า “วากยสัมพันธ์ในที่นี้เป็นภาษาบาลี แปลเอาความว่า ความเกี่ยวข้องของคำาพูดต่างๆ ในภาษาไทยของ เรา” เพราะข้อความที่เราใช้พูดกันก็ดี หรือเขียน เป็นเรื่องราวก็ดี ย่อมต้องเอาคำาต่างๆ มาเรียงติดต่อ กันไปจนได้ความอย่างหนึ่งๆ และคำาต่างๆ ที่นำามา เรียงเป็นข้อความนั้น ล้วนมีความ สัมพันธ์เกี่ยวกัน ทั้งนัน ความเกี่ยวข้องของคำาต่างๆ ในถ้อยคำาตอน ้ หนึงๆ เช่นนีเรียกว่า “ วากยสัมพันธ์” และยังได้ ่ ้
  • 56. ส่ว นประกอบของประโยค ในหนังสือหลักภาษาของพระยาอุปกิต ศิลปสารบอกไว้ว่า ประโยคหนึ่งๆ แบ่งเป็น ๒ ภาค คือ ภาคประทาน และภาคแสดง ภาคประธาน ถือเป็นส่วนสำาคัญ ของข้อความ ที่ผพูดหรือผู้เขียนกล่าวขึ้น เพื่อ ู้ แสดงให้เห็นว่ามีผกระทำากริยาว่าเป็นใคร หรือ ู้ อะไร ส่วนมากเป็นคำานามหรือสรรพนาม เช่น ฝนตกหนัก ภาคประธานเป็นคำา นาม เขามีนองชายตัวเล็กๆ ้ ภาคประธาน
  • 57. ภาคแสดง เป็นตอนที่แสดงอาการของ ประธานให้ได้ความครบว่าประธานได้แสดง อาการอย่างนั้น อย่างนี้ เช่น ฝนตก หอพักพัง ฉับขับ รถยนต์ ในภาคแสดงนี้มีบทช่วยกริยาอยู่ ๒ ส่วน คือ บทกรรม และบทวิกัตการกิ บทกรรม มีหน้าที่ช่วยกริยาที่มีความ กระจ่างเต็มในตัวให้มีความสมบูรณ์ขึ้น กริยา ชนิดนี้ชื่อว่า สกรรมกริยา และตัวที่มาช่วย กริยาให้สมบูรณ์นั้นเรียกว่า บทกรรม เช่น แมวกัดหนู
  • 58. บทวิก ัต ิก ารก เป็นบทช่วยกริยา วิกตรรถ กริยา ซึ่งเป็นกริยาที่ไม่มีความสมบูรณ์ในตัวเอง ต้องอาศัยกลุ่มคำามาต่อท้าย เพื่อทำาหน้าที่คล้าย กับขยายความ แต่คำาในบทวิกัติการกนี้ไม่ใช้คำา วิเศษณ์แต่เป็นคำานาม หรือสรรพนาม เช่น เขาพูด ว่า เป็น วิตรรถกริยา นายแดงเป็น เป็น วิตรรถ กริยา เขาคล้า ย เป็น วิตรรถกริยา เมื่อเติมบทวิตรรถกริยาแล้ว ดังนี้ เขาพูดว่าแมวตายแล้ว เป็น บท วิกัติการก
  • 59. สรุปแล้วประโยคหนึ่งประโยค ต้องประกอบด้วยภาคประธาน และภาค แสดง ในบทประธาน มีประธานเป็นส่วน สำาคัญ ภาคแสดงมีบทกริยา และบทกรรม เป็นส่วนสำาคัญ ซึงในบทกริยาอาจประกอบ ่ ด้วย สกรรมกริยา อกรรมกริยาแล้วแต่ กรณี หรือ บทวิกตรรถกริยา แล้วแต่เนื้อ ความของประโยคนั้น  
  • 60. การสร้า งประโยค หรือ การ เรีย งลำา ดับ เข้า ประโยค การสร้างประโยค หรือการเรียงลำาดับเข้า ประโยคมีข้อควรคำานึงดังต่อไปนี้ การนำาคำามาเรียงเข้าประโยคต้องให้ ถูกต้องตามหลักภาษาและความนิยม เช่น   เขาถูกเชิญไปปรากฏตัว เปลี่ยนเป็น เขา ได้รับเชิญไปปรากฏตัว ต่อไปนี้เขาจะมาในเพลง เปลี่ยนเป็น ต่อ ไปนีเขาจะร้องเพลง ้ เธอจับรถไฟเข้ากรุงเทพฯ เปลี่ยนเป็น เธอ โดยสารรถไฟเข้ากรุงเทพฯ  
  • 61. การเลือ กใช้ถ ้อ ยคำา มาใช้ ต้อ งให้ เหมาะสมกับ ฐานะของบุค คล เช่น กิน : กษัตริย์ ใช้คำาว่า เสวย พระ ใช้คำาว่า ฉัน คนธรรมดาใช้คำาว่า รับประทาน ๓. ในภาษาไทยถือ ว่า การนำา คำา มา เรีย งเข้า ประโยคเป็น เรื่อ งสำา คัญ ถ้า นำา คำา ๆ เดีย วกัน มาเรีย งเข้า ประโยคที่ต า ง ่ ตำา แหน่ง กัน ความหมายจะเปลีย นไป เช่น ่ ฉันดูพี่ ( พี่ ) เป็นผู้ถูกกระทำา พี่ดูฉัน (พี่ ) เป็นผู้กระทำาเอง
  • 62. ๔. การเรียงคำาเข้าประโยคในภาษาไทย ถ้าเป็น ประโยคปกติจะเรียงในลำาดับ ดังนี้ ประธาน - กริย า น้อง นอน ประธาน - กริย า - กรรม แมว กัด ฉัน ประธาน - กริย า - บทวิก ัต ิ การก เขา คล้าย พ่อ ประธาน - กริย า - (กรรม) - บทขยาย น้อง ตี แมว ตายคา ที่ (ตายคาที่ ขยาย ตี)
  • 63. ๕. เนื่อ งจากภาษาไทยเป็น ภาษาคำา โดด ดัง นั้น คำา ทุก คำา จึง มี อิส ระที่จ ะนำา ไปใช้ใ นประโยคได้โ ดย ไม่เ ปลี่ย นแปลงรูป คำา ไม่ว ่า คำา นั้น จะ ปรากฏในตำา แหน่ง ใดของประโยค ๖. คำา ๆ เดีย ว ถ้า นำา ไปเรีย งใน ประโยคผิด ที่ก ัน ความหมายจะ เปลี่ย นไปพร้อ มทัง หน้า ทีข องคำา นั้น ก็ ้ เปลี่ย นไปด้ว ย เช่น คนแก่เดินช้า เป็นคำา วิเศษณ์
  • 64. รูป ประโยค รูปประโยคจะเป็นชนิดใด สังเกตจากคำา ขึ้นต้นประโยคเป็นสำาคัญ ซึ่งแบ่งได้ ๕ รูป ดังนี้ ๑. ประโยคกรรตุ คือ ประโยคที่มี ประธานขึ้นต้นประโยค หรือประโยคที่เอาผู้ แสดงอยู่หน้าประโยค แล้วจึงตามด้วยภาค แสดงต่อไป เช่น ผูช ายคนนี้ขุดดิน ้ ใครมาที่บานของฉัน ้ สุน ัข กัดแมว
  • 65. ๒. ประโยคกรรม คือ ประโยคที่น ำา เอากรรมาขึ้น ต้น ประโยคหรือ มาเป็น ประธานของประโยค เช่น ดิน ถูกคนขุด แมวถูกสุนัขกัด ปลาติดเบ็ด ๓. ประโยคกริย า คือ ประโยคที่เ อา กริย ามาขึ้น ต้น ประโยคเพื่อ ต้อ งการให้ กริย านั้น เด่น ขึ้น คำา กริย าที่น ำา มาใช้ใ น ประโยคมีค ำา ๓ คำา คือ มี เกิด ปรากฏ เช่น มีพายุเกิดขึ้นกลางดึก
  • 66. ๔.ประโยคการิตคือรูปประโยคกรรตุ หรือประโยคการิตนั่นเอง แต่มีการิต การก (ผู้รับใช้) เพิมเข้ามา เช่น ่ แม่ใ ช้น ัก เรีย นถอนหญ้า เขาให้ค นรัก ถักเสือให้ ้ ๕. ประโยคกริยาสภาวะมาลา กริยา สภาวมาลา คือ กริยาที่กล่าขึ้นมาลอยๆ โดยไม่มีประธาน และกริยาตัวนั้นทำา หน้าที่เหมือนคำานาม ทำาหน้าทีเป็น ่ ประธานของประโยคได้ เช่น เดิน เล่น ตอนเช้าเป็นการออก
  • 67. ประเภทของประโยค ถ้าแบ่งประโยคตามจุดมุ่งหมายของการใช้ สื่อสารสามารถแบ่งได้ ๔ ประเภท คือ ๑. ประโยคบอกเล่า หมายถึง ประโยคที่ม ีเ นื้อ ความบอกเรื่อ งราว เล่า เรื่อ งความเป็น ไปต่า งๆ ให้ร ู้ เช่น นกบินไปในอากาศ แดงและดำาทำาขนมกันที่บาน ้ ๒. ประโยคปฏิเ สธ หมายถึง ประโยค ที่ม ีเ นื้อ ความบอกอาการไม่ย อมรับ หรือ ไม่ท ำา ตามที่ผ พ ูด ต้อ งการ เช่น ู้ เขาไม่ยอมขายหนังสือเล่มนี้
  • 68. ๓. ประโยคคำา ถาม หมายถึง ประโยคที่ม ีเ นื้อ ความสงสัย เป็น คำา ถามเพื่อ ขอความกระจ่า ง เช่น คุณไปนครพนมมาหรือ ท่านส่งหนังสือเล่มนี้คนหรือยัง ื ๔. ประโยคบัง คับ หรือ ขอร้อ ง หมายถึง ประโยคที่ม เ นื้อ ความบัง คับ ี ให้ท ำา หรือ ขอร้อ งให้ท ำา มีข ้อ สัง เกต ว่า ประโยคประเภทนี้ม ก ประกอบด้ว ย ั คำา ว่า อย่า จง โปรด วาน ช่ว ย นำา หน้า เช่น
  • 69. ชนิด ของประโยค ประโยคแบ่งออกเป็น ๓ ชนิด ดังนี้ ๑. เอกรรถประโยค (เอก+อรรถ+ประโยค) ประโยคที่มีความหมายเดียว หรือเนื้อความเป็น หนึ่ง คำาว่าเนื้อความเป็นหนึ่ง หมายถึง มีประธาน ๑ กริยา ๑ หรือถ้ามีกรรมก็มีเพียง ๑ เช่นกัน ส่วนมากเป็นประโยคสันๆ ที่ใช้พูดจากันในชีวิต ้ ประจำาวันเป็นพื้นฐาน เช่น เราพบกันริมหนองหาร ฉันชอบเที่ยวตามชายทะเล ๒. อเนกรรถประโยค (อน+เอก+อรรถ+ประโยค) คือ ประโยคที่ ประกอบด้วยเอกรรถประโยคหลายๆ ประโยค
  • 70. ๒.๑ อัน วยาเนกรรถประโยค คือ ประโยคที่มีเนื้อความคล้อยตามกัน โดยมี สันธานเชื่อม เช่น ๑) มีเนือความคล้อยตามกันตามเวลา ้ ประโยคพวกนีมักมีคำาว่า แล้ว พอ เมื่อ ประกอบ ้ อยู่หน้า เป็นคำาช่วยสันธานเพื่อแสดงความต่อ เนื่องกัน เช่น แล้ว...จึง : เขาช่วยงานแม่แล้ว เขาจึงไปเล่นกีฬา ครั้น...ก็ : ครั้นเขาเดินทางมาถึง แล้ว เขาก็ไม่ไปไหนอีก
  • 71. ๒) มีเนือความคล้อยตามกันหรือร่วมกัน ้ ตามอาการ ประโยคในพวกนี้จะกระทำากริยา อาการเหมือนกันทังประโยคหน้าและประโยคหลัง ้ โดยมีสันธาน และ เป็นตัวเชื่อมหลัก เช่น นายดำาทำานาและนายแดงทำานา ละบทกริยา นายดำาและนายแดงทำานา   นายแสงตัวสูงตีนายเขียวตัว เล็กและนายแสงตัวสูง ทุบนายขาวด้วย ละบทประธาน นายแสงตัวสูงตีนายเขียวตัวตัว เล็กและ ทุบนายขาวด้วย
  • 72. ๓) มีเนื้อความคล้อยตามกันโดยสังเกตคำากริยา ประโยคพวกนี้เป็นประโยคที่ละสันธาน และ ออก ไปแต่ยังได้ความสมบูรณ์ เช่น   เขานัง และนอน และ ่ เล่นจนเบื่อแสนเบื่อ ละสันธานเป็น เขานั่ง นอน เล่น จนเบื่อแสน เบื่อ   ๔) มีเนื้อความตามกันแบบคาดคะเน ประโยค พวกนี้ก็ได้แก่ประโยค ที่มีคำาสันธานพวก ถ้า ถ้าว่า ผ ผิว่า แม้ แม้ว่า เป็นตัวเชื่อม เช่น
  • 73. ๒.๒ พยติเ รกาเนกรรถประโยค คือ ประโยคที่มีเนื้อความแย้งกัน หมาย ถึง เนื้อความของเอกรรถประโยคหลัง ขัดแย้งกับเนื้อความในเอกรรถประโยค ข้างหน้า มีข้อสังเกตคือ สันธาน ที่นำา มาเป็นคำาตัวเชื่อมมีคำาว่า แต่ เป็นหลัก นอกจากนี้กมีสันธานคำาอืนประสมเกี่ยว ็ ่ กับคำาว่า แต่ เช่น แต่ว่า แต่...ก็ แต่ ทว่า เช่น ฝนตกแต่แดดออก
  • 74. ๒.๓ วิก ัล ป์ป าเนกรรถประโยค คือ ประโยคที่มีเนื้อความ ให้เลือกเอา อย่างใดอย่างหนึ่งไม่เลือกเลยไม่ได้ ประโยคชนิดนี้ประกอบด้วยสันธาน หรือ มิ ฉะนั้น ไม่เ ช่น นั้น ไม่อ ย่า งนั้น เป็นตัว เชื่อม เช่น นายสมศักดิ์ หรือ นายวิบลย์เป็นนาย ู อำาเภอ
  • 75. ๒.๔ เหตวาเนกรรถประโยค คือ ประโยคที่มีเนื้อความเป็นเหตุเป็นผลกัน มี ลักษณะเหมือนอันวยาเนกรรถประโยค คือ มี เนื้อความคล้อยตามกัน แต่ทว่าเป็นการคล้อย ตามกันในเชิงเป็นเหตุเป็นผลแก่กัน มีข้อสังเกตคือ ถ้าเป็นอเนกรรถประโยค ชนิด เหตวาเนกรรถประโยค ประโยคหน้าต้อง มีเนื้อความเป็นเหตุ ประโยคหลังมีเนื้อความ เป็นผล โดยมีสันธาน จึง เพราะ เพราะ ฉะนั้น ดัง นั้น ฉะนั้น เป็นตัวเชื่อม เช่น นำ้าเน่ายุงจึง ชุม เพราะแดดออกถนนจึง ลืน ่
  • 76. ข้อ สัง เกต ๑.สัน ธานที่เ ชื่อ มประโยค ไม่ ได้อยู่ตรงกลางระหว่างประโยคต่อ ประโยคเสมอไป อาจอยู่หน้าประโยค หรือแทรกระหว่างคำาก็ได้ ๒. ประโยคเหตวาเนกรรถ ต้องขึ้นต้นด้วยประโยคเหตุ และตาม ด้วยประโยคผลเท่านั้น ถ้าเป็นประโยค ผลขึนก่อนจะกลายเป็น สังกรประโยค ้
  • 77. สัง กรประโยค สังกรประโยค แปลว่า ประโยคแต่ง ประโยคปรุง หมายถึง ประโยคใหญ่ที่ประกอบด้วย เอกรรถประโยค ๒ ประโยค โดยประโยค แรกเป็นประโยคที่มีเนื้อความสำาคัญเป็น หลัก และประโยคหลังเป็นประโยคที่มีเนื้อ ความเป็นรองทำาหน้าที่เป็นประโยค ประกอบ หรือ ประโยคปรุงแต่ง ประโยค หลักเรียกว่า มุข ยประโยค ประโยครอง
  • 78. ส่ว นของประโยคสัง กร ถ้า แจกแจงประโยคสังกรประโยคออกเป็นส่วน พบ ส่วนประกอบ ๒ ส่วน คือ ๑. มีประโยคใหญ่ หรือประโยคหลัก อยู่หนึ่งประโยค ซึ่งเป็นประโยคที่มีเนื้อความ สมบูรณ์ อาจเรียกเป็นประโยคหัวหน้าหรือ ประโยคเริ่มได้ เรียกประโยคนี้ว่า มุข ย ประโยค ๒. มีประโยคเล็ก หรือ ประโยคปรุง แต่ง แทรกเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของประโยคใหญ่ อย่างน้อย ๑ ประโยค ที่บอกว่าเป็นส่วนหนึง ่
  • 79. ๒.๑ นามานุประโยค คือ อนุประโยคที่ มีหน้าที่คล้ายคำานามหรือสรรพนาม สามารถ ประกอบเป็นประธาน กรรม และบทวิกัติการก ของประโยคเป็นหลัก คนเดิน ริม ถนนเป็นตำารวจ ประกอบเป็น บทประธาน เขาพูดว่าเครื่อ งบิน ตก ประกอบ เป็น บทวิกัติการก ๒.๒ คุณานุประโยค คือ ประโยคที่ทำาหน้าที่ คล้ายคำาวิเศษณ์ สำาหรับประกอบนาม หรือ สรรพนามในประโยคหลัก โดยมีคำาประพันธ์ สรรพนาม ที่ ที่ซ ึ่ง อัน เป็นบทเชื่อม ซึ่งบทเชือม ่ นีต้องติดอยู่กับคำานาม หรือสรรพนามข้างหน้า ้
  • 80. ๒.๓ วิเศษณานุประโยค คือ อนุ ประโยคที่ทำาหน้าที่คล้ายคำาวิเศษณ์ สำาหรับประกอบกริยาหรือคำาวิเศษณ์ใน ประโยคหลักนั้น โดยมีคำาประพันธ วิเศษณ์ จน เมื่อ เพราะ ทาง ตาม ฯลฯ เป็นบทเชือม เช่น ่ เขาพูดเร็วจนฉัน ฟัง ไม่ท ัน แล้ว เขามาเมื่อ เธอหลับ แล้ว เขาสอบตกเพราะขี้เ กีย จ
  • 81. ข้อ สัง เกตเกี่ย วกับ วิเ ศษณานุ ประโยค วิเศษณานุประโยค นอกจากทำา หน้าที่คล้ายคำาวิเศษณ์ คือ ขยาย กริยาและวิเศษณ์ดวยกันแล้ว วิเศษณา ้ นุประโยคยังบอกหน้าที่ตามลักษณะดัง ต่อไปนี้ บอกลักษณะ เช่น เขาอนุญาตให้ฉ ัน ไปบ้า น เขาทำาเพราะครูส อน บอกกาล เช่น เขาไปเมื่อ ฝนหยุด แล้ว
  • 82. บอกสถาน เช่น กิ่งไม้หักตรงหลัง คา โรงรถ คนยังกินใกล้บ ้า นพัก ของ ฉัน ฉันซื้อมาจากโรงพิม พ์ใ น เมือ ง บอกเหตุ เช่น เขาสอบได้เ พราะขยัน อ่า น
  • 83. บอกผล เช่น เด็กหิวนมจนร้อ งไห้ เขาคอยจนเป็น ลม บอกความเปรียบเทียบ เช่น เรือแล่นเร็วเหมือ นลมพัด คนมุงเธอเหมือ นดาวล้อ ม เดือ น