SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
หลักสังเกตคำสมำสในภำษำไทย 
๑. เกิดจำกคำมูลภำษำบำลี สันสกฤต ตั้งแต่สองคำขึ้น 
๒. เป็นคำที่มีรำกศัพท์มำจำกภำษำบำลีและสันสกฤต 
เท่ำนั้น เช่น 
กิจกำร รัฐบำล สำธำรณสมบัติ ภูมิศำสตร์ 
รำชวงศ์ อักษรศำสตร์ อรรถคดี ฯลฯ 
อุทกภัย
หลักสังเกตคำสมำสในภำษำไทย 
๓. พยำงค์สุดท้ำยของคำหน้ำ หำกมีสระ อะ หรือมีตัว 
กำรันต์อยู่ ให้ยุบตัวนั้นออก เช่น 
ศิลปะ สมำสกับ ศำสตร์ จะเป็น ศิลปศำสตร์ 
(ยกเว้นคำบำงคำ เช่น กิจจะลักษณะ เป็นต้น) 
๔. แปลควำมจำกหลังมำหน้ำ เช่น 
รำชบุตร แปลว่ำ บุตรของพระรำชำ 
เทวบัญชำ แปลว่ำ คำสั่งของเทวดำ 
รำชกำร แปลว่ำ งำนของพระเจ้ำแผ่นดิน
หลักสังเกตคำสมำสในภำษำไทย 
๕. ส่วนมำกออกเสียงพยำงค์ท้ำยของคำหน้ำ แม้จะไม่มี 
รูปสระกำกับอยู่ โดยจะใช้เสียง อะ อิ และ อุ เช่น 
เทพบุตร แต่บำงคำก็ไม่ออกเสียง เช่น 
สมัยนิยม สมุทรปรำกำร รสทิพย์ 
๖. คำบำลีสันสกฤตที่มีคำว่ำ พระ ซึ่งกลำยเสียงมำ 
จำกบำลีสันสกฤต ก็ถือว่ำเป็นคำสมำส เช่น 
พระกร พระจันทร์ พระพักตร์
หลักสังเกตคำสมำสในภำษำไทย 
๗. ส่วนใหญ่จะลงท้ำยว่ำ กำร กร กรรม ภำพ คดี ธรรม 
บดี ภัย ภัณฑ์ ภำพ ลักษณ์ วิทยำ ศึกษำ ศำสตร์ เช่น 
กิจกำร กำยกรรม สำรคดี ธรณีพิบัติภัย 
คณบดี พิพิธภ ณฑ์ ชีวภำพ ศึกษำศำสตร์ 
จิตวิทยำ จิตรกร ศีลธรรม 
๘. อ่ำนออกเสียงสระระหว่ำงคำ เช่น 
ภูมิศำสตร์ อ่ำนว่ำ พู – มิ - สำด 
ประวัติศำสตร์ อ่ำนว่ำ ประ – หวัด – ติ – สำด 
วิศวกรรมศำสตร์ อ่ำนว่ำ วิด – สะ – วะ – กำ - มะ – สำด 
นิจศีล อ่ำนว่ำ นิจ – จะ – สีน 
ไทยธรรม อ่ำนว่ำ ไท – ยะ – ทำ
ข้อสังเกต 
๑. คำที่ไม่ได้มำจำกภำษำบำลีสันสกฤตทั้งหมด 
ไม่จัดเป็นคำสมำส เช่น 
เทพเจ้ำ (เจ้ำ เป็นคำไทย) รำชวัง (วัง เป็นคำไทย) 
พระโทรน (โทรน เป็นคำอังกฤษ) 
บำยศรี (บำย เป็นคำเขมร) 
๒.คำที่ไม่สำมำรถแปลควำมจำกหลังมำหน้ำได้ไม่ใช่ 
คำสมำส เช่น 
ประวัติวรรณคดี แปลว่ำ ประวัติของวรรณคดี 
นำยกสมำคม แปลว่ำ นำยกของสมำคม 
วิพำกษ์วิจำรณ์ แปลว่ำ กำรวิพำกษ์และกำรวิจำรณ์
ข้อสังเกต 
๓. คำสมำสบำงคำไม่ออกเสียงสระตรงพยำงค์ของ 
คำหน้ำ เช่น 
ปรำกฏ อ่ำนว่ำ ปรำ – กด – กำน 
สุภำพบุรุษ อ่ำนว่ำ สุ – พำบ – บุ – หรุด 
สุพรรณบุรี อ่ำนว่ำ สุ – พรรณ – บุ – รี 
ชัยนำท อ่ำนว่ำ ไช-นำด 
อุดรธำนี อ่ำนว่ำ อุ – ดอน – ทำ - นี
คำสมำสแบบสนธิ 
กำรสนธิ เป็นการเปลี่ยนแปลงเสียงตามหลักภาษาบาลีสันสกฤต 
เมื่อเสียงสองเสียงอย่ใูกล้กัน จะมีการกลมกลืนเป็นเสียง 
เดียวกัน โดยมีการเปลี่ยนแปลงพยัญชนะสระและนิคหิตที่มาเชื่อมเพื่อการกลมกลืนเสียง 
ให้เป็นธรรมชาติของการออกเสียง และทาให้คาเหล่านนั้มีเสียงสนั้เข้า เช่น 
สุข + อภิบาล เป็น สุขาภิบาล 
นร + อินทร์ เป็น นรินทร์ หรือ นเรนทร์ 
กำรสนธิ มี ๓ ลักษณะ คือ 
๑. สระสนธิ ๒. พยัญชนะสนธิ ๓. สระสนธิ
สระสนธิเป็นกำรนำคำ ที่ลงท้ำยสระไปสนธิกับคำ ที่ขึ้นต้นด้วยสระ 
เมื่อสนธิแล้วจะมีการเปลี่ยนแปลงรูปสระ เพื่อให้เสียงสระ 2 เสียงได้ 
กลมกลืนเป็นเสียงสระเดียวกัน สระที่เป็นคาท้ายของคาหน้าจะได้แก่ 
สระอะ อา อิ อี อุ อู เป็นส่วนใหญ่ เช่น 
๑. สระอะ อา สนธิกับสระอะ อา ด้วยกัน จะรวมเป็นสระอะ อา เช่น 
เทศ + อภิบาล = เทศาภิบาล ศิลปะ+ อาชีพ = ศิลปาชีพ 
ธนะ+อาคาร = ธนาคาร กาญจน + อาภรณ์= กาญจนาภรณ์ 
** ถ้าสระอะ อา สนธิกับสระอะ อาของพยางค์ที่มีตัวสะกด จะรวมเป็น 
สระอะที่มีตัวสะกด เช่นมหา + อรรณพ = มหรรณพ 
มหา + อศัจรรย์ = มหัศจรรย์
สระสนธิเป็นกำรนำคำ ที่ลงท้ำยสระ 
ไปสนธิกับคำ ที่ขนึ้ต้นด้วยสระ (ต่อ) 
** ถ้าสระอะ อา สนธิกับสระอิ อี จะรวมเป็น สระอิ อี หรือเอ เช่น 
นร + อินทร์=นรินทร์/นเรนทร์มหา + อิสิ = มหิสี/ มเหสี 
** ถ้าสระอะ อา สนธิกับสระอุ อู จะรวมเป็น สระอุ อู หรือโอ 
เช่น มัคค+อุเทศก์= มัคคุเทศก์สุข + อุทัย - สุโขทัย 
นย+อุบาย = นโยบาย ราช + อุปถัมภ์= ราชูปถัมภ์ 
** ถ้าสระอะ อา สนธิกับสระเอ ไอ โอ เอา จะรวมเป็น สระเอ ไอ โอ 
เอา 
เช่น อน + เอก = อเนก มหา + โอฬาร = มโหฬาร 
โภค+ ไอศวรรย์ = โภไคศวรรย์ ปัญญา+ โอภาส = ปัญโญภาส
สระสนธิ (ต่อ) 
๒. สระอิ อี สนธิกับสระอิ จะรวมเป็นสระอิ เช่น 
ภูมิ + อินทร์ = ภูมินทร์ มุนี + อินทร์ = มุนินทร์ 
แต่ถ้ำสระอิ อี สนธิกับสระอ่นื เช่น อะ อำ อุ โอ มีวิธีกำร ๒ 
คือ 
ก. แปลงรูปอิ อี เป็น ย ก่อน แล้วจึงนำไปสนธิตำมแบบ อะ 
แต่ถ้ำคำ นั้นมีตัวสะกด ตัวตำม ต้องตัดตัวตำมออกเสียก่อน 
เช่นรัตติ เป็น รัตย ไม่ใช่ รัตติย อัคคี เป็น 
แล้วจึงนำมำสนธิ ดังนี้ 
มติ + อธิบำย เป็น มัตย + อธิบำย = มัตยำธิบำย 
อัคคี + โอภำส เป็น อัคย+ โอภำส =อัคโยภำส 
ข. ตัดอิ อี ออก แล้วสนธิแบบ อะ อำ 
เช่น หัตถี +อำจำรย์ = หัตถำจำรย์ ศักดิ + อำนุภำพ = ศักดำนุ
สระสนธิ (ต่อ) 
๓. สระอุ อู สระอุ อู สนธิกัน รวมกันเป็นรูปสระอุ อู 
เช่น ครุ, คุรุ + อุปถัมภ์ = ครุปกรณ์ คุรุปกรณ์คุรูปกรณ์ 
คร,ุ คุรุ + อุปถัมภ์ = ครุปถัมภ์ คุรปุถัมภ์คุรูปถัมภ์ 
แต่ถ้าสระอุ อู นี้สนธิกับสระอื่น จะต้องเปลี่ยนรูป อุ อู เป็น ว 
แล้วสนธิตามแบบ อะ อา 
เช่น จักขุ+อาพาธ เป็น จักขว+อาพาธ = จักขวาพาธ 
ธนู + อาคม เป็น ธนว+อาคม = ธันวาคม
พยัญชนะสนธิ 
คือการเชื่อมคาระหว่างพยัญชนะ กับ พยัญชนะ โดยมีการ 
เปลี่ยนแปลง 
พยัญชนะคาเดิมก่อนนามาสนธิ ซึ่งเป็นคาบาลีสันสกฤตที่ไทยเรา 
รับมาใช้ 
มีเพียงไม่กี่คา มักจะเปลี่ยน ส เป็น โ หรือ ร ได้แก่ 
มนสฺ + ภาพ = มโนภาพ มนสฺ + ธรรม = มโนธรรม 
รหสฺ + ฐาน = รโหฐาน เตชสฺ + ธาตุ = เตโชธาตุ 
นิสฺ+ ภัย = นิรภัย นิสฺ+ ทุกข์ = นิรทุกข์ 
ทสฺุ+ กันดาร = ทรุกันดาร ทุสฺ+ ลักษณ์ = ทรลักษณ์ 
ศิรสฺ+ เพฐน์ = ศิโรเพฐน์ เตชสฺ+ ชย = เตโชชย (ไทยใช้เดโช 
ชัย )
พยัญชนะวรรคของบำลี 
วรรค/ แถว ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ 
ก ก ข ค ฆ ง 
จ จ ฉ ช ฌ ญ 
ต ต ถ ท ธ น 
ฏ ฎ ฐ ฑ ฒ ณ 
ป ป ผ พ ภ ม 
เศษวรรค ย ร ล ว ส ห ฬ นิคหิต
นิคหิตสนธิ 
เป็นการนาคาที่ลงท้ายด้วยนิคหิต ไปสนธิกับอีกคาหนึ่ง มีหลักเกณฑ์ดังนี้ 
๑. นิคหิตสนธิกับสระ เปลี่ยนนิคหิตเป็น ม เช่น 
ส +อาทาน = สมาทาน ส +อาคม = สมาคม ส + อาจาร = 
สมาจาร 
ส + อิทธิ = สมิทธิ ส + อุทัย = สมุทัย ส + ฤทธิ์ = สัมฤทธิ์ 
๒. นิคหิตสนธิกับพยัญชนะวรรคใด ให้เปลี่ยน นิคหิตนั้นเป็นพยัญชนะ 
ตัวสุดท้ายของวรรคนนั้ๆ เช่น 
ส + กร = สังกร ส + ขาร = สังขาร ( วรรค ก ) 
ส + จร = สัญจร ส + ชาติ = สัญชาติ ( วรรค จ ) 
ส + ฐาน = สัณฐาน ส + ฐิตา = สัณฐิตา ( วรรค ฏ ) 
ส + ธาน = สันธาน ส + นิบาต = สันนิบาต ( วรรค ต ) 
ส + ภาร = สมภาร ส + ผสั = สัมผัส ( วรรค ป )
นิคหิตสนธิ(ต่อ) 
นิคหิตสนธิกับเศษวรรค (ย ร ล ว ศ ส ษ ห) เปลี่ยนนิคหิตเป็น ส 
ก่อนแล้วจึงสนธิกัน เช่น 
ส + โยค = สังโยค ส + หรณ์ = สังหรณ์ 
ส + วร = สังวร ส + สำร = สังสำร 
ส + สรรค์ = สังสรรค์ ส + สนทน = สังสันทน์ 
ส + วำส = สังวำส ส + หำร = สังหำร

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบ การเขียน ป.3
แบบทดสอบ การเขียน ป.3แบบทดสอบ การเขียน ป.3
แบบทดสอบ การเขียน ป.3Khunnawang Khunnawang
 
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จวิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จNat Ty
 
รายวิชา 000250 พระอภิธรรมปิฎก ชุดที่ 2 (แนวข้อสอบ)
รายวิชา  000250  พระอภิธรรมปิฎก  ชุดที่  2 (แนวข้อสอบ)รายวิชา  000250  พระอภิธรรมปิฎก  ชุดที่  2 (แนวข้อสอบ)
รายวิชา 000250 พระอภิธรรมปิฎก ชุดที่ 2 (แนวข้อสอบ)วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซตแบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซตkroojaja
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์A'waken P'Kong
 
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ คณิตศาสตร์ ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ คณิตศาสตร์ ป.5 ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ คณิตศาสตร์ ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ คณิตศาสตร์ ป.5 Khunnawang Khunnawang
 
คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ Rodchana Pattha
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟางคัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟางKat Suksrikong
 
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทกPPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทกKruBowbaro
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยJiraprapa Suwannajak
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๓นิทานพื้นบ้าน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๓นิทานพื้นบ้านแผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๓นิทานพื้นบ้าน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๓นิทานพื้นบ้านน้ำอ้อย อ้อยอ้อย
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Sirisak Promtip
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sine
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sineคัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sine
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ SineKat Suksrikong
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Jariya Huangjing
 

What's hot (20)

แบบทดสอบ การเขียน ป.3
แบบทดสอบ การเขียน ป.3แบบทดสอบ การเขียน ป.3
แบบทดสอบ การเขียน ป.3
 
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จวิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
 
รายวิชา 000250 พระอภิธรรมปิฎก ชุดที่ 2 (แนวข้อสอบ)
รายวิชา  000250  พระอภิธรรมปิฎก  ชุดที่  2 (แนวข้อสอบ)รายวิชา  000250  พระอภิธรรมปิฎก  ชุดที่  2 (แนวข้อสอบ)
รายวิชา 000250 พระอภิธรรมปิฎก ชุดที่ 2 (แนวข้อสอบ)
 
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซตแบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ คณิตศาสตร์ ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ คณิตศาสตร์ ป.5 ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ คณิตศาสตร์ ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ คณิตศาสตร์ ป.5
 
คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ
 
วรรณศิลป์
วรรณศิลป์วรรณศิลป์
วรรณศิลป์
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟางคัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
 
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทกPPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
 
พงษ์ศักดิ์ หนูนาค
พงษ์ศักดิ์  หนูนาคพงษ์ศักดิ์  หนูนาค
พงษ์ศักดิ์ หนูนาค
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วย
 
คำกริยา
คำกริยาคำกริยา
คำกริยา
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๓นิทานพื้นบ้าน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๓นิทานพื้นบ้านแผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๓นิทานพื้นบ้าน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๓นิทานพื้นบ้าน
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sine
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sineคัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sine
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sine
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 

Viewers also liked

ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7Nongkran Jarurnphong
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)Nongkran Jarurnphong
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙Nongkran Jarurnphong
 

Viewers also liked (6)

กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
 
Flickr
FlickrFlickr
Flickr
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
 

Similar to สมาส สนธิ 2 ครบ

การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยKittitus Sa-admoang
 
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran Jarurnphong
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์Kalasom Mad-adam
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์Kalasom Mad-adam
 
บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์Gawewat Dechaapinun
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษาsukuman139
 
นาม (วัดมหาธาตุ)
นาม (วัดมหาธาตุ)นาม (วัดมหาธาตุ)
นาม (วัดมหาธาตุ)Prasit Koeiklang
 
ใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยssuser456899
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์krudow14
 
โครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำโครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำkruying pornprasartwittaya
 
Parts of speech
Parts of speechParts of speech
Parts of speechkrupeatie
 

Similar to สมาส สนธิ 2 ครบ (20)

คำสมาส
คำสมาสคำสมาส
คำสมาส
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
 
บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
Intro computer
Intro  computerIntro  computer
Intro computer
 
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษา
 
นาม (วัดมหาธาตุ)
นาม (วัดมหาธาตุ)นาม (วัดมหาธาตุ)
นาม (วัดมหาธาตุ)
 
ใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทย
 
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์
 
บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย
บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย
บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย
 
โครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำโครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำ
 
Parts of speech
Parts of speechParts of speech
Parts of speech
 
Chitrapathachan
ChitrapathachanChitrapathachan
Chitrapathachan
 
หลักการสัมพันธ์บทตติยาวิภัตติ
หลักการสัมพันธ์บทตติยาวิภัตติหลักการสัมพันธ์บทตติยาวิภัตติ
หลักการสัมพันธ์บทตติยาวิภัตติ
 
เสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทยเสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทย
 

More from Anan Pakhing

ยินดีต้อนรับเข้าสู่ การพูด
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ การพูดยินดีต้อนรับเข้าสู่ การพูด
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ การพูดAnan Pakhing
 
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ การพูด
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ การพูดยินดีต้อนรับเข้าสู่ การพูด
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ การพูดAnan Pakhing
 
พัฒนาการอ่าน
พัฒนาการอ่านพัฒนาการอ่าน
พัฒนาการอ่านAnan Pakhing
 
แบบฝึกหัดม.4 5 6 เตรียมเอ็นฯ
แบบฝึกหัดม.4  5 6 เตรียมเอ็นฯแบบฝึกหัดม.4  5 6 เตรียมเอ็นฯ
แบบฝึกหัดม.4 5 6 เตรียมเอ็นฯAnan Pakhing
 
โคลนติดล้อ ๑
โคลนติดล้อ ๑โคลนติดล้อ ๑
โคลนติดล้อ ๑Anan Pakhing
 
การยืมคำ ตปท.มาใช้
การยืมคำ ตปท.มาใช้การยืมคำ ตปท.มาใช้
การยืมคำ ตปท.มาใช้Anan Pakhing
 
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพการใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพAnan Pakhing
 
การเขียนนิทาน
การเขียนนิทานการเขียนนิทาน
การเขียนนิทานAnan Pakhing
 
Power point ลีกษณะของผู้พูดที่ดี
Power point ลีกษณะของผู้พูดที่ดีPower point ลีกษณะของผู้พูดที่ดี
Power point ลีกษณะของผู้พูดที่ดีAnan Pakhing
 
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความ
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความPower point การอ่านแปลความตีความขยายความ
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความAnan Pakhing
 

More from Anan Pakhing (10)

ยินดีต้อนรับเข้าสู่ การพูด
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ การพูดยินดีต้อนรับเข้าสู่ การพูด
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ การพูด
 
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ การพูด
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ การพูดยินดีต้อนรับเข้าสู่ การพูด
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ การพูด
 
พัฒนาการอ่าน
พัฒนาการอ่านพัฒนาการอ่าน
พัฒนาการอ่าน
 
แบบฝึกหัดม.4 5 6 เตรียมเอ็นฯ
แบบฝึกหัดม.4  5 6 เตรียมเอ็นฯแบบฝึกหัดม.4  5 6 เตรียมเอ็นฯ
แบบฝึกหัดม.4 5 6 เตรียมเอ็นฯ
 
โคลนติดล้อ ๑
โคลนติดล้อ ๑โคลนติดล้อ ๑
โคลนติดล้อ ๑
 
การยืมคำ ตปท.มาใช้
การยืมคำ ตปท.มาใช้การยืมคำ ตปท.มาใช้
การยืมคำ ตปท.มาใช้
 
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพการใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
 
การเขียนนิทาน
การเขียนนิทานการเขียนนิทาน
การเขียนนิทาน
 
Power point ลีกษณะของผู้พูดที่ดี
Power point ลีกษณะของผู้พูดที่ดีPower point ลีกษณะของผู้พูดที่ดี
Power point ลีกษณะของผู้พูดที่ดี
 
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความ
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความPower point การอ่านแปลความตีความขยายความ
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความ
 

สมาส สนธิ 2 ครบ

  • 1. หลักสังเกตคำสมำสในภำษำไทย ๑. เกิดจำกคำมูลภำษำบำลี สันสกฤต ตั้งแต่สองคำขึ้น ๒. เป็นคำที่มีรำกศัพท์มำจำกภำษำบำลีและสันสกฤต เท่ำนั้น เช่น กิจกำร รัฐบำล สำธำรณสมบัติ ภูมิศำสตร์ รำชวงศ์ อักษรศำสตร์ อรรถคดี ฯลฯ อุทกภัย
  • 2. หลักสังเกตคำสมำสในภำษำไทย ๓. พยำงค์สุดท้ำยของคำหน้ำ หำกมีสระ อะ หรือมีตัว กำรันต์อยู่ ให้ยุบตัวนั้นออก เช่น ศิลปะ สมำสกับ ศำสตร์ จะเป็น ศิลปศำสตร์ (ยกเว้นคำบำงคำ เช่น กิจจะลักษณะ เป็นต้น) ๔. แปลควำมจำกหลังมำหน้ำ เช่น รำชบุตร แปลว่ำ บุตรของพระรำชำ เทวบัญชำ แปลว่ำ คำสั่งของเทวดำ รำชกำร แปลว่ำ งำนของพระเจ้ำแผ่นดิน
  • 3. หลักสังเกตคำสมำสในภำษำไทย ๕. ส่วนมำกออกเสียงพยำงค์ท้ำยของคำหน้ำ แม้จะไม่มี รูปสระกำกับอยู่ โดยจะใช้เสียง อะ อิ และ อุ เช่น เทพบุตร แต่บำงคำก็ไม่ออกเสียง เช่น สมัยนิยม สมุทรปรำกำร รสทิพย์ ๖. คำบำลีสันสกฤตที่มีคำว่ำ พระ ซึ่งกลำยเสียงมำ จำกบำลีสันสกฤต ก็ถือว่ำเป็นคำสมำส เช่น พระกร พระจันทร์ พระพักตร์
  • 4. หลักสังเกตคำสมำสในภำษำไทย ๗. ส่วนใหญ่จะลงท้ำยว่ำ กำร กร กรรม ภำพ คดี ธรรม บดี ภัย ภัณฑ์ ภำพ ลักษณ์ วิทยำ ศึกษำ ศำสตร์ เช่น กิจกำร กำยกรรม สำรคดี ธรณีพิบัติภัย คณบดี พิพิธภ ณฑ์ ชีวภำพ ศึกษำศำสตร์ จิตวิทยำ จิตรกร ศีลธรรม ๘. อ่ำนออกเสียงสระระหว่ำงคำ เช่น ภูมิศำสตร์ อ่ำนว่ำ พู – มิ - สำด ประวัติศำสตร์ อ่ำนว่ำ ประ – หวัด – ติ – สำด วิศวกรรมศำสตร์ อ่ำนว่ำ วิด – สะ – วะ – กำ - มะ – สำด นิจศีล อ่ำนว่ำ นิจ – จะ – สีน ไทยธรรม อ่ำนว่ำ ไท – ยะ – ทำ
  • 5. ข้อสังเกต ๑. คำที่ไม่ได้มำจำกภำษำบำลีสันสกฤตทั้งหมด ไม่จัดเป็นคำสมำส เช่น เทพเจ้ำ (เจ้ำ เป็นคำไทย) รำชวัง (วัง เป็นคำไทย) พระโทรน (โทรน เป็นคำอังกฤษ) บำยศรี (บำย เป็นคำเขมร) ๒.คำที่ไม่สำมำรถแปลควำมจำกหลังมำหน้ำได้ไม่ใช่ คำสมำส เช่น ประวัติวรรณคดี แปลว่ำ ประวัติของวรรณคดี นำยกสมำคม แปลว่ำ นำยกของสมำคม วิพำกษ์วิจำรณ์ แปลว่ำ กำรวิพำกษ์และกำรวิจำรณ์
  • 6. ข้อสังเกต ๓. คำสมำสบำงคำไม่ออกเสียงสระตรงพยำงค์ของ คำหน้ำ เช่น ปรำกฏ อ่ำนว่ำ ปรำ – กด – กำน สุภำพบุรุษ อ่ำนว่ำ สุ – พำบ – บุ – หรุด สุพรรณบุรี อ่ำนว่ำ สุ – พรรณ – บุ – รี ชัยนำท อ่ำนว่ำ ไช-นำด อุดรธำนี อ่ำนว่ำ อุ – ดอน – ทำ - นี
  • 7. คำสมำสแบบสนธิ กำรสนธิ เป็นการเปลี่ยนแปลงเสียงตามหลักภาษาบาลีสันสกฤต เมื่อเสียงสองเสียงอย่ใูกล้กัน จะมีการกลมกลืนเป็นเสียง เดียวกัน โดยมีการเปลี่ยนแปลงพยัญชนะสระและนิคหิตที่มาเชื่อมเพื่อการกลมกลืนเสียง ให้เป็นธรรมชาติของการออกเสียง และทาให้คาเหล่านนั้มีเสียงสนั้เข้า เช่น สุข + อภิบาล เป็น สุขาภิบาล นร + อินทร์ เป็น นรินทร์ หรือ นเรนทร์ กำรสนธิ มี ๓ ลักษณะ คือ ๑. สระสนธิ ๒. พยัญชนะสนธิ ๓. สระสนธิ
  • 8. สระสนธิเป็นกำรนำคำ ที่ลงท้ำยสระไปสนธิกับคำ ที่ขึ้นต้นด้วยสระ เมื่อสนธิแล้วจะมีการเปลี่ยนแปลงรูปสระ เพื่อให้เสียงสระ 2 เสียงได้ กลมกลืนเป็นเสียงสระเดียวกัน สระที่เป็นคาท้ายของคาหน้าจะได้แก่ สระอะ อา อิ อี อุ อู เป็นส่วนใหญ่ เช่น ๑. สระอะ อา สนธิกับสระอะ อา ด้วยกัน จะรวมเป็นสระอะ อา เช่น เทศ + อภิบาล = เทศาภิบาล ศิลปะ+ อาชีพ = ศิลปาชีพ ธนะ+อาคาร = ธนาคาร กาญจน + อาภรณ์= กาญจนาภรณ์ ** ถ้าสระอะ อา สนธิกับสระอะ อาของพยางค์ที่มีตัวสะกด จะรวมเป็น สระอะที่มีตัวสะกด เช่นมหา + อรรณพ = มหรรณพ มหา + อศัจรรย์ = มหัศจรรย์
  • 9. สระสนธิเป็นกำรนำคำ ที่ลงท้ำยสระ ไปสนธิกับคำ ที่ขนึ้ต้นด้วยสระ (ต่อ) ** ถ้าสระอะ อา สนธิกับสระอิ อี จะรวมเป็น สระอิ อี หรือเอ เช่น นร + อินทร์=นรินทร์/นเรนทร์มหา + อิสิ = มหิสี/ มเหสี ** ถ้าสระอะ อา สนธิกับสระอุ อู จะรวมเป็น สระอุ อู หรือโอ เช่น มัคค+อุเทศก์= มัคคุเทศก์สุข + อุทัย - สุโขทัย นย+อุบาย = นโยบาย ราช + อุปถัมภ์= ราชูปถัมภ์ ** ถ้าสระอะ อา สนธิกับสระเอ ไอ โอ เอา จะรวมเป็น สระเอ ไอ โอ เอา เช่น อน + เอก = อเนก มหา + โอฬาร = มโหฬาร โภค+ ไอศวรรย์ = โภไคศวรรย์ ปัญญา+ โอภาส = ปัญโญภาส
  • 10. สระสนธิ (ต่อ) ๒. สระอิ อี สนธิกับสระอิ จะรวมเป็นสระอิ เช่น ภูมิ + อินทร์ = ภูมินทร์ มุนี + อินทร์ = มุนินทร์ แต่ถ้ำสระอิ อี สนธิกับสระอ่นื เช่น อะ อำ อุ โอ มีวิธีกำร ๒ คือ ก. แปลงรูปอิ อี เป็น ย ก่อน แล้วจึงนำไปสนธิตำมแบบ อะ แต่ถ้ำคำ นั้นมีตัวสะกด ตัวตำม ต้องตัดตัวตำมออกเสียก่อน เช่นรัตติ เป็น รัตย ไม่ใช่ รัตติย อัคคี เป็น แล้วจึงนำมำสนธิ ดังนี้ มติ + อธิบำย เป็น มัตย + อธิบำย = มัตยำธิบำย อัคคี + โอภำส เป็น อัคย+ โอภำส =อัคโยภำส ข. ตัดอิ อี ออก แล้วสนธิแบบ อะ อำ เช่น หัตถี +อำจำรย์ = หัตถำจำรย์ ศักดิ + อำนุภำพ = ศักดำนุ
  • 11. สระสนธิ (ต่อ) ๓. สระอุ อู สระอุ อู สนธิกัน รวมกันเป็นรูปสระอุ อู เช่น ครุ, คุรุ + อุปถัมภ์ = ครุปกรณ์ คุรุปกรณ์คุรูปกรณ์ คร,ุ คุรุ + อุปถัมภ์ = ครุปถัมภ์ คุรปุถัมภ์คุรูปถัมภ์ แต่ถ้าสระอุ อู นี้สนธิกับสระอื่น จะต้องเปลี่ยนรูป อุ อู เป็น ว แล้วสนธิตามแบบ อะ อา เช่น จักขุ+อาพาธ เป็น จักขว+อาพาธ = จักขวาพาธ ธนู + อาคม เป็น ธนว+อาคม = ธันวาคม
  • 12. พยัญชนะสนธิ คือการเชื่อมคาระหว่างพยัญชนะ กับ พยัญชนะ โดยมีการ เปลี่ยนแปลง พยัญชนะคาเดิมก่อนนามาสนธิ ซึ่งเป็นคาบาลีสันสกฤตที่ไทยเรา รับมาใช้ มีเพียงไม่กี่คา มักจะเปลี่ยน ส เป็น โ หรือ ร ได้แก่ มนสฺ + ภาพ = มโนภาพ มนสฺ + ธรรม = มโนธรรม รหสฺ + ฐาน = รโหฐาน เตชสฺ + ธาตุ = เตโชธาตุ นิสฺ+ ภัย = นิรภัย นิสฺ+ ทุกข์ = นิรทุกข์ ทสฺุ+ กันดาร = ทรุกันดาร ทุสฺ+ ลักษณ์ = ทรลักษณ์ ศิรสฺ+ เพฐน์ = ศิโรเพฐน์ เตชสฺ+ ชย = เตโชชย (ไทยใช้เดโช ชัย )
  • 13. พยัญชนะวรรคของบำลี วรรค/ แถว ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ก ก ข ค ฆ ง จ จ ฉ ช ฌ ญ ต ต ถ ท ธ น ฏ ฎ ฐ ฑ ฒ ณ ป ป ผ พ ภ ม เศษวรรค ย ร ล ว ส ห ฬ นิคหิต
  • 14. นิคหิตสนธิ เป็นการนาคาที่ลงท้ายด้วยนิคหิต ไปสนธิกับอีกคาหนึ่ง มีหลักเกณฑ์ดังนี้ ๑. นิคหิตสนธิกับสระ เปลี่ยนนิคหิตเป็น ม เช่น ส +อาทาน = สมาทาน ส +อาคม = สมาคม ส + อาจาร = สมาจาร ส + อิทธิ = สมิทธิ ส + อุทัย = สมุทัย ส + ฤทธิ์ = สัมฤทธิ์ ๒. นิคหิตสนธิกับพยัญชนะวรรคใด ให้เปลี่ยน นิคหิตนั้นเป็นพยัญชนะ ตัวสุดท้ายของวรรคนนั้ๆ เช่น ส + กร = สังกร ส + ขาร = สังขาร ( วรรค ก ) ส + จร = สัญจร ส + ชาติ = สัญชาติ ( วรรค จ ) ส + ฐาน = สัณฐาน ส + ฐิตา = สัณฐิตา ( วรรค ฏ ) ส + ธาน = สันธาน ส + นิบาต = สันนิบาต ( วรรค ต ) ส + ภาร = สมภาร ส + ผสั = สัมผัส ( วรรค ป )
  • 15. นิคหิตสนธิ(ต่อ) นิคหิตสนธิกับเศษวรรค (ย ร ล ว ศ ส ษ ห) เปลี่ยนนิคหิตเป็น ส ก่อนแล้วจึงสนธิกัน เช่น ส + โยค = สังโยค ส + หรณ์ = สังหรณ์ ส + วร = สังวร ส + สำร = สังสำร ส + สรรค์ = สังสรรค์ ส + สนทน = สังสันทน์ ส + วำส = สังวำส ส + หำร = สังหำร