SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
การวัด (measurement)
เป็นกระบวนการเชิงปริมาณหรือการกาหนดตัวเลขให้กับสิ่งที่ปฏิบัติหรือสิ่งที่ต้อง
การวัด การประเมิน (Assessment)
เป็นการเก็บรวบรวมสังเคราะห์ และตีความหมายข้อมูล
เพื่อช่วยครูในการตัดสินใจ เช่น ช่วยวินิจฉัยปัญหาการเรียนของนักเรียน
หรืออาจ ประเมินผลเพื่อจุดประสงค์เฉพาะบางประการ
ขั้นตอนการวัดทางการศึกษา
1. ระบุจุดประสงค์และขอบเขตของการวัด ว่าวัดอะไร วัดใคร
2. นิยามคุณลักษณะที่ต้องการวัดให้เป็นพฤติกรรมที่วัดได้
3. กาหนดวิธีการวัดและเครื่องมือวัด
4. จัดหาหรือสร้างเครื่องมือวัด กรณีสร้างเครื่องมือใหม่ดาเนินการตามขั้นตอน ดังนี้
...
5. ดาเนินการวัดตามวิธีการที่กาหนด
6. ตรวจสอบและวิเคราะห์ผลการวัด
ความสาคัญของการวัดผลและการประเมินผล
การวัดผล (Measurement / Assessment) และการประเมินผล
(Evaluation)
เป็นองค์ประกอบหนึ่ง ของไตรยางค์ การศึกษา (Educational Trilogy)
ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ คือ
วัตถุประสงค์การศึกษา(EducationalObjectives)
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้(Learning Experiences)
การวัดผลการประเมินผล (Evaluation)
และรู้จักกันโดย ทั่วไปว่า OLE
(O = Objectives; L = Learning experiences; E = Evaluation)
ทั้ง 3 องค์ประกอบนี้ มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันดังแผนภูมิ
อาจแบ่งความสาคัญได้เป็นข้อๆ ดังนี้
1. ช่วยชี้ให้เห็นว่าการดาเนินงานเหมาะสมเพียงใด
2. ทาให้ทราบว่าการดาเนินงานบรรลุตามจุดประสงค์หรือไม่
3. ช่วยกระตุ้นให้มีการเร่งรัด ปรับปรุง และการดาเนินงาน
4.
ช่วยเห็นข้อบกพร่องในการดาเนินงานในแต่ละขั้นตอนเป็ นหลักในการปรับปรุงใ
นการดาเนินงาน
5. ช่วยควบคุมการดาเนินงานให้มีประสิทธิภาพ
6. เป็นแนวทางในการกาหนดวิธีการในการดาเนินงานครั้งต่อไป
องค์ประกอบของการวัดและประเมินผล
1. ผลการวัด( Measurement)
ทาให้ทราบสภาพความจริงของสิ่งที่จะประเมินว่ามีปริมาณเท่าไร
มีคุณสมบัติอย่างไร เพื่อนาข้อมูลไปพิจารณา
2. เกณฑ์การพิจารณา ( criteria)
ในการที่จะตัดสินใจหรือลงสรุปสิ่งใดจะต้องมีมาตรฐานสาหรับสิ่งที่จะเปรียบเทีย
บกับสิ่งที่ได้จากการวัด
3. การตัดสินใจ ( Decision )
เป็นการชี้ขาดหรือสรุปผลการเปรียบเทียบระหว่างผลการวัดกับเกณฑ์ที่กาหนดว่า
สอดคล้องกันหรือไม่ การตัดสินใจที่ดีต้องอาศัยการพิจารณาอย่างถี่ถ้วน
กระทาอย่างยุติธรรม
ทฤษฎีการเรียนรู้ของบลูม (Bloom) ได้แบ่งการเรียนรู้ออกเป็น 6 ระดับ ได้แก่
1. ความรู้ที่เกิดจากความจา (knowledge) ซึ่งเป็นระดับล่างสุด
2. ความเข้าใจ (Comprehend)
3. การประยุกต์(Application)
4. การวิเคราะห์ ( Analysis) สามารถแก้ปัญหา ตรวจสอบได้
5. การสังเคราะห์ ( Synthesis) สามารถนาส่วนต่างๆ มาประกอบเป็นรูปแบบ
ใหม่ได้ให้แตกต่างจากรูปเดิม เน้นโครงสร้างใหม่
6. การประเมินค่า ( Evaluation) วัดได้ และตัดสินได้ว่าอะไรถูกหรือผิด
ประกอบการตัดสินใจบนพื้นฐานของเหตุผลและเกณฑ์ที่แน่ชัด
การจาแนกจุดมุ่งหมายการเรียนรู้แบ่งออกเป็น 3 ด้าน คือ
1.พุทธิพิสัย (Cognitive Domain) เป็นการเรียนรู้ที่เกิดจาก
พฤติกรรมด้านสมองเป็น พฤติกรรมเกี่ยวข้องกับสติปัญญา ความรู้ ความคิด
ความเฉลียวฉลาด ความสามารถในการคิด เรื่องราวต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพ
ซึ่งเป็นความสามารถทางสติปัญญา
พฤติกรรมทางพุทธิพิสัยแบ่งเป็น6ระดับได้แก่
1.1 ความรู้ความจา ความสามารถในการเก็บรักษาประสบการณ์ต่าง
ๆ จากการที่ได้รับรู้ไว้และ
ระลึกถึงสิ่งนั้นได้เมื่อต้องการ
1.2 ความเข้าใจเป็นความสามารถในการจับใจความสาคัญของสื่อ
และ สามารถแสดงออกมาใน
รูปของการแปลความ การ ตีความ การคาดคะเน การขยายความ หรือ การ
กระทาอื่น ๆ
1.3 การน าความรู้ไปใช้
เป็นขั้นที่ผู้บริโภคสามารถนาความรู้ประสบการณ์ ไปใช้ในการแก้ไข
ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ ซึ่งจะต้องอาศัยความรู้ความเข้าใจ จึงจะสามารถ
นาไปใช้ได้
1.4 การวิเคราะห์ ผู้บริโภคมีความสามารถในการคิด หรือ
การแยกแยะ เรื่องราวสิ่งต่าง ๆ
ออกเป็นส่วนย่อย เป็นองค์ประกอบที่สาคัญได้
และมองเห็นความสัมพันธ์ของส่วน ที่เกี่ยวข้องกัน
ความสามารถในการวิเคราะห์จะแตกต่างกันไปแล้วแต่ความคิดของแต่ละคน
1.5 การสังเคราะห์คือ ความสามารถในการที่ผสมผสานส่วนย่อย ๆ
เข้า เป็นเรื่องราวเดียวกันได้
อย่างมีระบบ เพื่อให้เกิดสิ่งใหม่ที่สมบูรณ์และดีกว่าเดิม อาจเป็นการถ่ายทอด
ความคิดออกมาให้ผู้อื่นเข้าใจได้ง่าย
การกาหนดวางแผนวิธีการดาเนินงานขึ้นใหม่ หรือ อาจจะเกิด
ความคิดในอันที่จะสร้างความสัมพันธ์ของสิ่งที่เป็นนามธรรมขึ้นมาในแบบที่เป็น
รูปแบบ หรือ แนวคิด ใหม่
1.6 การประเมินค่า เป็นความสามารถในการตัดสิน ตีราคา หรือ
สรุป เกี่ยวกับคุณค่าของสิ่ง
ต่างๆ ออกมาในรูปของคุณธรรมอย่างมีกฎเกณฑ์ที่เหมาะสม ซึ่งอาจเป็นไปตาม
เนื้อหาสาระในเรื่องนั้น ๆ หรืออาจเป็นกฎเกณฑ์ที่สังคมยอมรับ
2. จิตพิสัย ( Affective Domain) หมายถึง พฤติกรรมทางด้านจิตใจ เช่น
ค่านิยม ความรู้สึก ความซาบซึ้ง ทัศนคติความเชื่อ ความสนใจและคุณธรรม
พฤติกรรมด้านนี้อาจไม่เกิดขึ้น ทันทีทันใด ดังนั้น
การส่งข่าวสารที่สอดแทรกสิ่งที่ดีงามอยู่ตลอดเวลาโดยใช้รูปแบบการโฆษณาที่
เหมาะสม จะทาให้พฤติกรรมของผู้บริโภคเปลี่ยนไปในแนวทางที่พึงประสงค์ได้
ด้านจิตพิสัยจะ ประกอบด้วยพฤติกรรมย่อยๆ5ระดับได้แก่
2.1 การรับรู้
เป็นกระบวนการที่ผู้บริโภคเลือกที่จะให้ความสนใจต่อข่าวสาร
ใดข่าวสารหนึ่ง
เลือกที่จะรับรู้และตีความหมายของข่าวสาร
โดยการใช้ประสบการณ์เดิมที่มีอยู่ของ แต่ละบุคคล ตลอดจน ความเชื่อ ทัศนคติ
แรงจูงใจในขณะนั้น และหลังจากเลือกตีความข่าวสารแล้ว
ผู้บริโภคจะเลือกที่จะจดจาข่าวสารบางอย่างไว้ในความทรงจาของตน
2.2 การตอบสนอง
เป็นการกระทาที่แสดงออกมาในรูปของความเต็มใจ ยินยอมและพอใจต่อ
สิ่งเร้านั้นซึ่งเป็นการตอบสนองที่เกิดจากการเลือกสรรแล้ว
2.3 การเกิดค่านิยม การเลือกปฏิบัติในสิ่งที่เป็นที่ยอมรับกันในสังคม
การ ยอมรับนับถือใน
คุณค่านั้น ๆ หรือปฏิบัติตามในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง จนกลายเป็นความเชื่อ
แล้วจึงเกิด ทัศนคติที่ดีในสิ่งนั้น
2.4 การจัดระบบ การสร้างแนวคิด
จัดระบบของค่านิยมที่เกิดขึ้นโดยอาศัย ความสัมพันธ์ ถ้าเข้า
กันได้กับวิถีการดาเนินชีวิตผู้บริโภคหรือเข้ากันได้กับค่านิยมเดิมก็จะมีการยึดถือ
ต่อไป แต่ถ้าค่านิยมใหม่ขัดกันกับค่านิยมเดิมอาจเกิดการไม่ยอมรับ
หรืออาจรับค่านิยมใหม่แล้วเลิก ค่านิยมเดิมไป
2.5 บุคลิกภาพ
การนาค่านิยมที่ยึดถือมาแสดงพฤติกรรมที่เป็นนิสัยประจาตัว ให้ประพฤติ
ปฏิบัติแต่สิ่งที่ถูกต้องดีงามพฤติกรรมด้านนี้ จะเกี่ยวกับความรู้สึกและจิตใจ
ซึ่งจะเริ่มจาก การได้รับรู้จากสิ่งแวดล้อม แล้วจึงเกิดปฏิกิริยาโต้ตอบ
ขยายกลายเป็นความรู้สึกด้านต่าง ๆ จนกลายเป็นค่านิยม
และยังพัฒนาต่อไปเป็นความคิด อุดมคติ ซึ่งจะเป็นควบคุมทิศทางพฤติกรรม
ของผู้บริโภค โดยแต่ละคนจะรู้ดีรู้ชั่วอย่างไรนั้น ก็เป็นผลของพฤติกรรมด้านนี้
3.ทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) คือ
พฤติกรรมด้านกล้ามเนื้อประสาท ซึ่ง
แสดงให้เห็นถึงความสามารถในการปฏิบัติงานได้อย่างคล่องแคล่ว ชานิชานาญ
เป็นการแสดงออกมา
ได้โดยตรงโดยมีเวลาและคุณภาพของงานเป็นตัวชี้ระดับของทักษะพฤติกรรมด้า
นทักษะพิสัย ประกอบด้วยพฤติกรรมย่อยๆ5ขั้นดังนี้
3.1 การรับรู้เป็นการให้ผู้บริโภคได้รับรู้เกี่ยวกับข่าวสารที่น่าสนใจ
3.2 กระทาตามแบบ หรือ ตามข่าวสารโฆษณา
3.3 การหาความถูกต้อง พฤติกรรมสามารถปฏิบัติได้ด้วยตนเอง
โดยไม่ต้อง อาศัยเครื่องชี้แนะ
เมื่อได้กระทาซ้า แล้วก็พยายามหาความถูกต้องในการปฏิบัติ
3.4
การกระทาอย่างต่อเนื่องหลังจากตัดสินใจเลือกรูปแบบที่เหมาะสมกับ
ตนเอง และ จะ
กระทาตามรูปแบบนั้นอย่างต่อเนื่อง
จนปฏิบัติงานที่ยุ่งยากซับซ้อนได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้องคล่องแคล่ว
ซึ่งต้องอาศัยการฝึกฝนและกระทาอย่างสม่าเสมอ
3.5 การกระทาได้อย่างเป็นธรรมชาติ
สามารถปฏิบัติได้คล่องแคล่วว่องไว โดยอัตโนมัติเป็นไป
อย่างธรรมชาติ

More Related Content

What's hot

การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลmaymymay
 
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษาNU
 
งานบทที่ 8
งานบทที่ 8งานบทที่ 8
งานบทที่ 8hadesza
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8sirinan120
 
งานบทที่8
งานบทที่8งานบทที่8
งานบทที่8tum521120935
 
การวัดและประเมินผล
การวัดและประเมินผลการวัดและประเมินผล
การวัดและประเมินผลNavie Bts
 
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้Chainarong Maharak
 
บทที่ 8 การวัดประเมินผลการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดประเมินผลการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดประเมินผลการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดประเมินผลการเรียนรู้ยัยบ้อง ตาบร้า
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8sirinan120
 

What's hot (18)

บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผล
 
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
 
งานบทที่ 8
งานบทที่ 8งานบทที่ 8
งานบทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
งานบทที่8
งานบทที่8งานบทที่8
งานบทที่8
 
งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8
 
งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8
 
การวัดและประเมินผล
การวัดและประเมินผลการวัดและประเมินผล
การวัดและประเมินผล
 
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่ 8 การวัดประเมินผลการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดประเมินผลการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดประเมินผลการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดประเมินผลการเรียนรู้
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8...
บทที่8...บทที่8...
บทที่8...
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8...
บทที่8...บทที่8...
บทที่8...
 

Similar to การวัด.docx

งานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะงานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะnwichunee
 
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้onnichabee
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลwisnun
 
ฟ้า1
ฟ้า1ฟ้า1
ฟ้า1fa_o
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลmaymymay
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลmaymymay
 
สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8Tsheej Thoj
 
เบญ2
เบญ2เบญ2
เบญ2ben_za
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Nat Thida
 
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้Bert Nangngam
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Nat Thida
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Nat Thida
 
teaching 7
teaching 7teaching 7
teaching 7sangkom
 

Similar to การวัด.docx (19)

งานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะงานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะ
 
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผล
 
ฟ้า1
ฟ้า1ฟ้า1
ฟ้า1
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผล
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผล
 
สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8
 
เบญ2
เบญ2เบญ2
เบญ2
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8...
บทที่8...บทที่8...
บทที่8...
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
teaching 7
teaching 7teaching 7
teaching 7
 

การวัด.docx

  • 1. การวัด (measurement) เป็นกระบวนการเชิงปริมาณหรือการกาหนดตัวเลขให้กับสิ่งที่ปฏิบัติหรือสิ่งที่ต้อง การวัด การประเมิน (Assessment) เป็นการเก็บรวบรวมสังเคราะห์ และตีความหมายข้อมูล เพื่อช่วยครูในการตัดสินใจ เช่น ช่วยวินิจฉัยปัญหาการเรียนของนักเรียน หรืออาจ ประเมินผลเพื่อจุดประสงค์เฉพาะบางประการ ขั้นตอนการวัดทางการศึกษา 1. ระบุจุดประสงค์และขอบเขตของการวัด ว่าวัดอะไร วัดใคร 2. นิยามคุณลักษณะที่ต้องการวัดให้เป็นพฤติกรรมที่วัดได้ 3. กาหนดวิธีการวัดและเครื่องมือวัด 4. จัดหาหรือสร้างเครื่องมือวัด กรณีสร้างเครื่องมือใหม่ดาเนินการตามขั้นตอน ดังนี้ ... 5. ดาเนินการวัดตามวิธีการที่กาหนด 6. ตรวจสอบและวิเคราะห์ผลการวัด ความสาคัญของการวัดผลและการประเมินผล การวัดผล (Measurement / Assessment) และการประเมินผล (Evaluation) เป็นองค์ประกอบหนึ่ง ของไตรยางค์ การศึกษา (Educational Trilogy) ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ คือ วัตถุประสงค์การศึกษา(EducationalObjectives) การจัดประสบการณ์การเรียนรู้(Learning Experiences) การวัดผลการประเมินผล (Evaluation) และรู้จักกันโดย ทั่วไปว่า OLE (O = Objectives; L = Learning experiences; E = Evaluation) ทั้ง 3 องค์ประกอบนี้ มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันดังแผนภูมิ
  • 2. อาจแบ่งความสาคัญได้เป็นข้อๆ ดังนี้ 1. ช่วยชี้ให้เห็นว่าการดาเนินงานเหมาะสมเพียงใด 2. ทาให้ทราบว่าการดาเนินงานบรรลุตามจุดประสงค์หรือไม่ 3. ช่วยกระตุ้นให้มีการเร่งรัด ปรับปรุง และการดาเนินงาน 4. ช่วยเห็นข้อบกพร่องในการดาเนินงานในแต่ละขั้นตอนเป็ นหลักในการปรับปรุงใ นการดาเนินงาน 5. ช่วยควบคุมการดาเนินงานให้มีประสิทธิภาพ 6. เป็นแนวทางในการกาหนดวิธีการในการดาเนินงานครั้งต่อไป องค์ประกอบของการวัดและประเมินผล 1. ผลการวัด( Measurement) ทาให้ทราบสภาพความจริงของสิ่งที่จะประเมินว่ามีปริมาณเท่าไร มีคุณสมบัติอย่างไร เพื่อนาข้อมูลไปพิจารณา 2. เกณฑ์การพิจารณา ( criteria) ในการที่จะตัดสินใจหรือลงสรุปสิ่งใดจะต้องมีมาตรฐานสาหรับสิ่งที่จะเปรียบเทีย บกับสิ่งที่ได้จากการวัด 3. การตัดสินใจ ( Decision ) เป็นการชี้ขาดหรือสรุปผลการเปรียบเทียบระหว่างผลการวัดกับเกณฑ์ที่กาหนดว่า สอดคล้องกันหรือไม่ การตัดสินใจที่ดีต้องอาศัยการพิจารณาอย่างถี่ถ้วน กระทาอย่างยุติธรรม ทฤษฎีการเรียนรู้ของบลูม (Bloom) ได้แบ่งการเรียนรู้ออกเป็น 6 ระดับ ได้แก่ 1. ความรู้ที่เกิดจากความจา (knowledge) ซึ่งเป็นระดับล่างสุด 2. ความเข้าใจ (Comprehend) 3. การประยุกต์(Application) 4. การวิเคราะห์ ( Analysis) สามารถแก้ปัญหา ตรวจสอบได้ 5. การสังเคราะห์ ( Synthesis) สามารถนาส่วนต่างๆ มาประกอบเป็นรูปแบบ ใหม่ได้ให้แตกต่างจากรูปเดิม เน้นโครงสร้างใหม่ 6. การประเมินค่า ( Evaluation) วัดได้ และตัดสินได้ว่าอะไรถูกหรือผิด ประกอบการตัดสินใจบนพื้นฐานของเหตุผลและเกณฑ์ที่แน่ชัด การจาแนกจุดมุ่งหมายการเรียนรู้แบ่งออกเป็น 3 ด้าน คือ
  • 3. 1.พุทธิพิสัย (Cognitive Domain) เป็นการเรียนรู้ที่เกิดจาก พฤติกรรมด้านสมองเป็น พฤติกรรมเกี่ยวข้องกับสติปัญญา ความรู้ ความคิด ความเฉลียวฉลาด ความสามารถในการคิด เรื่องราวต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งเป็นความสามารถทางสติปัญญา พฤติกรรมทางพุทธิพิสัยแบ่งเป็น6ระดับได้แก่ 1.1 ความรู้ความจา ความสามารถในการเก็บรักษาประสบการณ์ต่าง ๆ จากการที่ได้รับรู้ไว้และ ระลึกถึงสิ่งนั้นได้เมื่อต้องการ 1.2 ความเข้าใจเป็นความสามารถในการจับใจความสาคัญของสื่อ และ สามารถแสดงออกมาใน รูปของการแปลความ การ ตีความ การคาดคะเน การขยายความ หรือ การ กระทาอื่น ๆ 1.3 การน าความรู้ไปใช้ เป็นขั้นที่ผู้บริโภคสามารถนาความรู้ประสบการณ์ ไปใช้ในการแก้ไข ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ ซึ่งจะต้องอาศัยความรู้ความเข้าใจ จึงจะสามารถ นาไปใช้ได้ 1.4 การวิเคราะห์ ผู้บริโภคมีความสามารถในการคิด หรือ การแยกแยะ เรื่องราวสิ่งต่าง ๆ ออกเป็นส่วนย่อย เป็นองค์ประกอบที่สาคัญได้ และมองเห็นความสัมพันธ์ของส่วน ที่เกี่ยวข้องกัน ความสามารถในการวิเคราะห์จะแตกต่างกันไปแล้วแต่ความคิดของแต่ละคน 1.5 การสังเคราะห์คือ ความสามารถในการที่ผสมผสานส่วนย่อย ๆ เข้า เป็นเรื่องราวเดียวกันได้ อย่างมีระบบ เพื่อให้เกิดสิ่งใหม่ที่สมบูรณ์และดีกว่าเดิม อาจเป็นการถ่ายทอด ความคิดออกมาให้ผู้อื่นเข้าใจได้ง่าย การกาหนดวางแผนวิธีการดาเนินงานขึ้นใหม่ หรือ อาจจะเกิด ความคิดในอันที่จะสร้างความสัมพันธ์ของสิ่งที่เป็นนามธรรมขึ้นมาในแบบที่เป็น รูปแบบ หรือ แนวคิด ใหม่ 1.6 การประเมินค่า เป็นความสามารถในการตัดสิน ตีราคา หรือ สรุป เกี่ยวกับคุณค่าของสิ่ง ต่างๆ ออกมาในรูปของคุณธรรมอย่างมีกฎเกณฑ์ที่เหมาะสม ซึ่งอาจเป็นไปตาม เนื้อหาสาระในเรื่องนั้น ๆ หรืออาจเป็นกฎเกณฑ์ที่สังคมยอมรับ 2. จิตพิสัย ( Affective Domain) หมายถึง พฤติกรรมทางด้านจิตใจ เช่น ค่านิยม ความรู้สึก ความซาบซึ้ง ทัศนคติความเชื่อ ความสนใจและคุณธรรม พฤติกรรมด้านนี้อาจไม่เกิดขึ้น ทันทีทันใด ดังนั้น
  • 4. การส่งข่าวสารที่สอดแทรกสิ่งที่ดีงามอยู่ตลอดเวลาโดยใช้รูปแบบการโฆษณาที่ เหมาะสม จะทาให้พฤติกรรมของผู้บริโภคเปลี่ยนไปในแนวทางที่พึงประสงค์ได้ ด้านจิตพิสัยจะ ประกอบด้วยพฤติกรรมย่อยๆ5ระดับได้แก่ 2.1 การรับรู้ เป็นกระบวนการที่ผู้บริโภคเลือกที่จะให้ความสนใจต่อข่าวสาร ใดข่าวสารหนึ่ง เลือกที่จะรับรู้และตีความหมายของข่าวสาร โดยการใช้ประสบการณ์เดิมที่มีอยู่ของ แต่ละบุคคล ตลอดจน ความเชื่อ ทัศนคติ แรงจูงใจในขณะนั้น และหลังจากเลือกตีความข่าวสารแล้ว ผู้บริโภคจะเลือกที่จะจดจาข่าวสารบางอย่างไว้ในความทรงจาของตน 2.2 การตอบสนอง เป็นการกระทาที่แสดงออกมาในรูปของความเต็มใจ ยินยอมและพอใจต่อ สิ่งเร้านั้นซึ่งเป็นการตอบสนองที่เกิดจากการเลือกสรรแล้ว 2.3 การเกิดค่านิยม การเลือกปฏิบัติในสิ่งที่เป็นที่ยอมรับกันในสังคม การ ยอมรับนับถือใน คุณค่านั้น ๆ หรือปฏิบัติตามในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง จนกลายเป็นความเชื่อ แล้วจึงเกิด ทัศนคติที่ดีในสิ่งนั้น 2.4 การจัดระบบ การสร้างแนวคิด จัดระบบของค่านิยมที่เกิดขึ้นโดยอาศัย ความสัมพันธ์ ถ้าเข้า กันได้กับวิถีการดาเนินชีวิตผู้บริโภคหรือเข้ากันได้กับค่านิยมเดิมก็จะมีการยึดถือ ต่อไป แต่ถ้าค่านิยมใหม่ขัดกันกับค่านิยมเดิมอาจเกิดการไม่ยอมรับ หรืออาจรับค่านิยมใหม่แล้วเลิก ค่านิยมเดิมไป 2.5 บุคลิกภาพ การนาค่านิยมที่ยึดถือมาแสดงพฤติกรรมที่เป็นนิสัยประจาตัว ให้ประพฤติ ปฏิบัติแต่สิ่งที่ถูกต้องดีงามพฤติกรรมด้านนี้ จะเกี่ยวกับความรู้สึกและจิตใจ ซึ่งจะเริ่มจาก การได้รับรู้จากสิ่งแวดล้อม แล้วจึงเกิดปฏิกิริยาโต้ตอบ ขยายกลายเป็นความรู้สึกด้านต่าง ๆ จนกลายเป็นค่านิยม และยังพัฒนาต่อไปเป็นความคิด อุดมคติ ซึ่งจะเป็นควบคุมทิศทางพฤติกรรม ของผู้บริโภค โดยแต่ละคนจะรู้ดีรู้ชั่วอย่างไรนั้น ก็เป็นผลของพฤติกรรมด้านนี้ 3.ทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) คือ พฤติกรรมด้านกล้ามเนื้อประสาท ซึ่ง แสดงให้เห็นถึงความสามารถในการปฏิบัติงานได้อย่างคล่องแคล่ว ชานิชานาญ เป็นการแสดงออกมา ได้โดยตรงโดยมีเวลาและคุณภาพของงานเป็นตัวชี้ระดับของทักษะพฤติกรรมด้า นทักษะพิสัย ประกอบด้วยพฤติกรรมย่อยๆ5ขั้นดังนี้
  • 5. 3.1 การรับรู้เป็นการให้ผู้บริโภคได้รับรู้เกี่ยวกับข่าวสารที่น่าสนใจ 3.2 กระทาตามแบบ หรือ ตามข่าวสารโฆษณา 3.3 การหาความถูกต้อง พฤติกรรมสามารถปฏิบัติได้ด้วยตนเอง โดยไม่ต้อง อาศัยเครื่องชี้แนะ เมื่อได้กระทาซ้า แล้วก็พยายามหาความถูกต้องในการปฏิบัติ 3.4 การกระทาอย่างต่อเนื่องหลังจากตัดสินใจเลือกรูปแบบที่เหมาะสมกับ ตนเอง และ จะ กระทาตามรูปแบบนั้นอย่างต่อเนื่อง จนปฏิบัติงานที่ยุ่งยากซับซ้อนได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้องคล่องแคล่ว ซึ่งต้องอาศัยการฝึกฝนและกระทาอย่างสม่าเสมอ 3.5 การกระทาได้อย่างเป็นธรรมชาติ สามารถปฏิบัติได้คล่องแคล่วว่องไว โดยอัตโนมัติเป็นไป อย่างธรรมชาติ