SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและข้อมูล
ข้อมูลและการรวบรวมข้อมูล
ในการวิจัยจาเป็นจะต้องใช้ข้อมูลควบคู่ไปกับแนวคิด โดยการเชื่องโยงแนวคิด
เข้ากับข้อมูล ข้อมูลจึงเป็นสิ่งที่วัดได้ สิ่งที่นักวิจัยจะต้องทาความเข้าใจก็คือ
ข้อมูล
ประเภท
ของข้อมูล
คุณสมบัติ
ของข้อมูล
ชนิดของ
ข้อมูล
แนวคิด
ในการวัด
แนวคิดในการวัด
การวัด (Measurement) คือ กระบวนการที่ระบุความแตกต่างของคุณสมบัติ
ของหน่วยวิเคราะห์ว่ามีความแตกต่างกันหรือไม่ แตกต่างกันในลักษณะใด
และมากน้อยเพียงใด
เงื่อนไขสาคัญในการวัดตัวแปรมี ๒ ประการ คือ
- นิยามตัวแปรหรือสิ่งที่ต้องการจะวัดให้ชัดเจน
- มีมาตราและหน่วยที่ใช้วัด (Unit of measurement)
◼ การวัดในเชิงคุณลักษณะ (Qualitative measurement)
- การวัดคุณภาพหรือกายภาพที่แสดงลักษณะของปรากฏการณ์ที่สังเกต เช่น
ร้อน – เย็น, ดี – ไม่ดี, หนัก – เบา เป็นต้น การวัดในลักษณะนี้จึงเป็นการวัดใน
เชิงเปรียบเทียบ เพื่อแยกระดับของตัวแปรให้มีความแตกต่างกัน เช่น ความพึ่ง
พอใจ ทัศนคติ รสนิยม เป็นต้น
◼ การวัดในเชิงปริมาณ (Quantitative measurement)
- การจาแนกความแตกต่างที่สามารถบอกจานวน หรือขนาดที่แตกต่างกันได้
อย่างชัดเจน จึงสามารถนาจานวนมารวมกันหรือกระจายเป็นจานวนย่อย ๆ ได้
เช่น รายได้ของประชาชน ปริมาณเงินออม เป็นต้น
ชนิดของข้อมูล
ข้อมูลนามบัญญัติ (Nominal data)
- ข้อมูลที่ได้จากการวัดโดยการจาแนกตัวแปรออกตามลักษณะที่กาหนดขึ้น
แล้วแทนแต่ละกลุ่มด้วยตัวเลข ตัวเลขเหล่านี้เป็นเพียงแต่ชื่อหรือนามไม่อาจ
นามาใช้ในการคานวณทางเลขคณิตได้ (การบวก ลบ คูณ หารข้อมูลชนิดนี้ไม่
มีความหมาย)
- สถิติที่ใช้กับข้อมูลประเภทนี้ ได้แก่ ความถี่ อัตราร้อยละ ฐานนิยมส่วน
สถิติที่นิยมใช้ในการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลกลุ่มเดียวกันคือ Chi -
square
◼ ข้อมูลเรียงอันดับ (Ordinal data)
- ข้อมูลที่ได้จากการวัดโดยการจัดอันดับให้เห็นความแตกต่าง โดยแทน
ค่าด้วยตัวเลข แต่ตัวเลขเหล่านี้ไม่มีค่าทางเลขคณิตที่แท้จริง คือ สามารถ
เปรียบเทียบค่า(มากกว่าน้อยกว่า)ระหว่างหน่วยที่ได้ทาการวัดได้ แต่ยังไม่
สามารถบอกปริมาณของความแตกต่างของแต่ละอันดับได้แน่นอนข้อมูล
ประเภทนี้จึงเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพ
- สถิติที่ใช้กับข้อมูลชนิดนี้ ได้แก่ ความถี่ อัตราร้อยละ ค่าสหสัมพันธ์
ของสเปียร์แมน(Spearman rank correlation) หรือใช้ Chi-square
◼ ข้อมูลอันตรภาค (Interval data)
- ข้อมูลที่ได้จากการวัดโดยใช้มาตราและหน่วยการวัด แต่เป็นการวัด
ของตัวแปรเป็นช่วง ๆ โดยมีช่วงความห่างที่แน่นอน จึงมีคุณสมบัติทางเลข
คณิต (บวก ลบ คูณ หาร) ครบถ้วน แต่ขาดคุณจุดศูนย์โดยธรรมชาติ เช่น
คะแนนสอบ คะแนนทัศนคติ หรือระดับอุณหภูมิ
- สถิติที่ใช้กับข้อมูลประเภทนี้ คือ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (Mean) ค่าเบี่ยง-
เบนมาตรฐาน (Standard deviation) การวิเคราะห์ถดถอย (Regression
analysis)
◼ ข้อมูลอัตราส่วน (Ratio data)
- ข้อมูลที่ได้จากการวัดโดยใช้มาตราและหน่วยวัดเช่นเดียวกับข้อมูล
อันตรภาค แต่มาตราและหน่วยวัดจาแนกค่าของตัวแปรแต่ละค่าออกเป็น
ปริมาณหรือจานวนอย่างชัดเจน โดยแม้แต่ค่าศูนย์ก็สามารถวัดได้
- ข้อมูลชนิดนี้มีคุณสมบัติทางเลขคณิตครบถ้วน (สามารถบวก ลบ คูณ
หารได้) และยังมีจุดศูนย์โดยธรรมชาติ

More Related Content

What's hot

สถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย 169
สถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย 169สถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย 169
สถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย 169
Chanakan Sojayapan
 
สถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย Ok
สถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย Okสถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย Ok
สถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย Ok
Chanakan Sojayapan
 

What's hot (6)

การวัด.docx
การวัด.docxการวัด.docx
การวัด.docx
 
สถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย 169
สถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย 169สถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย 169
สถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย 169
 
สถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย Ok
สถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย Okสถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย Ok
สถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย Ok
 
สถิติ คณิตศาสตร์
สถิติ คณิตศาสตร์สถิติ คณิตศาสตร์
สถิติ คณิตศาสตร์
 
สถิติเบื่องต้น
สถิติเบื่องต้นสถิติเบื่องต้น
สถิติเบื่องต้น
 
สถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยสถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัย
 

Similar to Concepts of measurement and data

๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
NU
 
teaching 7
teaching 7teaching 7
teaching 7
sangkom
 
ฟ้า1
ฟ้า1ฟ้า1
ฟ้า1
fa_o
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผล
wisnun
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
puyss
 
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลการสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
Ultraman Taro
 
บทที่ 8 การวัดประเมินผลการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดประเมินผลการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดประเมินผลการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดประเมินผลการเรียนรู้
ยัยบ้อง ตาบร้า
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
sirinan120
 

Similar to Concepts of measurement and data (20)

๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
 
teaching 7
teaching 7teaching 7
teaching 7
 
3.การออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
3.การออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)3.การออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
3.การออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
 
ฟ้า1
ฟ้า1ฟ้า1
ฟ้า1
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผล
 
L1
L1L1
L1
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
การติดตามผลและการประเมินผลการนำเสนอ
การติดตามผลและการประเมินผลการนำเสนอการติดตามผลและการประเมินผลการนำเสนอ
การติดตามผลและการประเมินผลการนำเสนอ
 
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลการสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
 
บทที่8...
บทที่8...บทที่8...
บทที่8...
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8...
บทที่8...บทที่8...
บทที่8...
 
บทที่ 8 การวัดประเมินผลการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดประเมินผลการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดประเมินผลการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดประเมินผลการเรียนรู้
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8...
บทที่8...บทที่8...
บทที่8...
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
Concepts-of-measurement-ฉบับเต็ม.pptx
Concepts-of-measurement-ฉบับเต็ม.pptxConcepts-of-measurement-ฉบับเต็ม.pptx
Concepts-of-measurement-ฉบับเต็ม.pptx
 

More from iamthesisTH

More from iamthesisTH (20)

Research problems
Research problemsResearch problems
Research problems
 
Research steps
Research stepsResearch steps
Research steps
 
Research relations
Research relationsResearch relations
Research relations
 
Research design
Research designResearch design
Research design
 
Research conceptual model
Research conceptual modelResearch conceptual model
Research conceptual model
 
Qualitative research model1
Qualitative research model1Qualitative research model1
Qualitative research model1
 
Qualitative research error5
Qualitative research error5Qualitative research error5
Qualitative research error5
 
Qualitative research error4
Qualitative research error4Qualitative research error4
Qualitative research error4
 
Qualitative research error3
Qualitative research error3Qualitative research error3
Qualitative research error3
 
Qualitative research error2
Qualitative research error2Qualitative research error2
Qualitative research error2
 
Qualitative research error1
Qualitative research error1Qualitative research error1
Qualitative research error1
 
Probability sampling with known types
Probability sampling with known typesProbability sampling with known types
Probability sampling with known types
 
Reliability
ReliabilityReliability
Reliability
 
Questionnaire procedure
Questionnaire procedureQuestionnaire procedure
Questionnaire procedure
 
Questionnaire and interview1 4
Questionnaire and interview1 4Questionnaire and interview1 4
Questionnaire and interview1 4
 
Quantitative research process
Quantitative research processQuantitative research process
Quantitative research process
 
Qualitative research process2
Qualitative research process2Qualitative research process2
Qualitative research process2
 
Organizational management concepts 7s mc kinsey
Organizational management concepts 7s mc kinseyOrganizational management concepts 7s mc kinsey
Organizational management concepts 7s mc kinsey
 
Organizational management concepts 4M
Organizational management concepts 4MOrganizational management concepts 4M
Organizational management concepts 4M
 
Master in research design
Master in research designMaster in research design
Master in research design
 

Concepts of measurement and data

  • 2. ข้อมูลและการรวบรวมข้อมูล ในการวิจัยจาเป็นจะต้องใช้ข้อมูลควบคู่ไปกับแนวคิด โดยการเชื่องโยงแนวคิด เข้ากับข้อมูล ข้อมูลจึงเป็นสิ่งที่วัดได้ สิ่งที่นักวิจัยจะต้องทาความเข้าใจก็คือ ข้อมูล ประเภท ของข้อมูล คุณสมบัติ ของข้อมูล ชนิดของ ข้อมูล แนวคิด ในการวัด
  • 3. แนวคิดในการวัด การวัด (Measurement) คือ กระบวนการที่ระบุความแตกต่างของคุณสมบัติ ของหน่วยวิเคราะห์ว่ามีความแตกต่างกันหรือไม่ แตกต่างกันในลักษณะใด และมากน้อยเพียงใด เงื่อนไขสาคัญในการวัดตัวแปรมี ๒ ประการ คือ - นิยามตัวแปรหรือสิ่งที่ต้องการจะวัดให้ชัดเจน - มีมาตราและหน่วยที่ใช้วัด (Unit of measurement)
  • 4. ◼ การวัดในเชิงคุณลักษณะ (Qualitative measurement) - การวัดคุณภาพหรือกายภาพที่แสดงลักษณะของปรากฏการณ์ที่สังเกต เช่น ร้อน – เย็น, ดี – ไม่ดี, หนัก – เบา เป็นต้น การวัดในลักษณะนี้จึงเป็นการวัดใน เชิงเปรียบเทียบ เพื่อแยกระดับของตัวแปรให้มีความแตกต่างกัน เช่น ความพึ่ง พอใจ ทัศนคติ รสนิยม เป็นต้น ◼ การวัดในเชิงปริมาณ (Quantitative measurement) - การจาแนกความแตกต่างที่สามารถบอกจานวน หรือขนาดที่แตกต่างกันได้ อย่างชัดเจน จึงสามารถนาจานวนมารวมกันหรือกระจายเป็นจานวนย่อย ๆ ได้ เช่น รายได้ของประชาชน ปริมาณเงินออม เป็นต้น
  • 5. ชนิดของข้อมูล ข้อมูลนามบัญญัติ (Nominal data) - ข้อมูลที่ได้จากการวัดโดยการจาแนกตัวแปรออกตามลักษณะที่กาหนดขึ้น แล้วแทนแต่ละกลุ่มด้วยตัวเลข ตัวเลขเหล่านี้เป็นเพียงแต่ชื่อหรือนามไม่อาจ นามาใช้ในการคานวณทางเลขคณิตได้ (การบวก ลบ คูณ หารข้อมูลชนิดนี้ไม่ มีความหมาย) - สถิติที่ใช้กับข้อมูลประเภทนี้ ได้แก่ ความถี่ อัตราร้อยละ ฐานนิยมส่วน สถิติที่นิยมใช้ในการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลกลุ่มเดียวกันคือ Chi - square
  • 6. ◼ ข้อมูลเรียงอันดับ (Ordinal data) - ข้อมูลที่ได้จากการวัดโดยการจัดอันดับให้เห็นความแตกต่าง โดยแทน ค่าด้วยตัวเลข แต่ตัวเลขเหล่านี้ไม่มีค่าทางเลขคณิตที่แท้จริง คือ สามารถ เปรียบเทียบค่า(มากกว่าน้อยกว่า)ระหว่างหน่วยที่ได้ทาการวัดได้ แต่ยังไม่ สามารถบอกปริมาณของความแตกต่างของแต่ละอันดับได้แน่นอนข้อมูล ประเภทนี้จึงเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพ - สถิติที่ใช้กับข้อมูลชนิดนี้ ได้แก่ ความถี่ อัตราร้อยละ ค่าสหสัมพันธ์ ของสเปียร์แมน(Spearman rank correlation) หรือใช้ Chi-square
  • 7. ◼ ข้อมูลอันตรภาค (Interval data) - ข้อมูลที่ได้จากการวัดโดยใช้มาตราและหน่วยการวัด แต่เป็นการวัด ของตัวแปรเป็นช่วง ๆ โดยมีช่วงความห่างที่แน่นอน จึงมีคุณสมบัติทางเลข คณิต (บวก ลบ คูณ หาร) ครบถ้วน แต่ขาดคุณจุดศูนย์โดยธรรมชาติ เช่น คะแนนสอบ คะแนนทัศนคติ หรือระดับอุณหภูมิ - สถิติที่ใช้กับข้อมูลประเภทนี้ คือ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (Mean) ค่าเบี่ยง- เบนมาตรฐาน (Standard deviation) การวิเคราะห์ถดถอย (Regression analysis)
  • 8. ◼ ข้อมูลอัตราส่วน (Ratio data) - ข้อมูลที่ได้จากการวัดโดยใช้มาตราและหน่วยวัดเช่นเดียวกับข้อมูล อันตรภาค แต่มาตราและหน่วยวัดจาแนกค่าของตัวแปรแต่ละค่าออกเป็น ปริมาณหรือจานวนอย่างชัดเจน โดยแม้แต่ค่าศูนย์ก็สามารถวัดได้ - ข้อมูลชนิดนี้มีคุณสมบัติทางเลขคณิตครบถ้วน (สามารถบวก ลบ คูณ หารได้) และยังมีจุดศูนย์โดยธรรมชาติ