SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
วิชาสังคมศึกษา ระดับชั้น ม.๑
ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๙
ครูพิณทิพย์ วิริยธรรมเจริญ
กลุ่มสาระฯการเรียนรู้สังคมศึกษาฯ
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้, อุษาคเนย์ หรือ เอเชียอาคเนย์ เป็นอนุภูมิภาค
ของทวีปเอเชีย ประกอบด้วยประเทศต่าง ๆ ซึ่งทิศเหนือติดจีน ทิศ
ตะวันตกติดอินเดีย ทิศตะวันออกติดปาปัวนิวกินี และทิศใต้ติด
ออสเตรเลีย ภูมิภาคดังกล่าวตั้งอยู่บนรอยต่อของแผ่นทวีปหลายแผ่นที่
ยังมีการไหวสะเทือนรุนแรงและการปะทุของภูเขาไฟอยู่ต่อเนื่อง เอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้แบ่งได้ภาคภูมิศาสตร์ได้สองภาค ได้แก่ เอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้แผ่นดินใหญ่ หรืออินโดจีน ประกอบด้วย กัมพูชา
ลาว พม่า ไทย เวียดนาม และมาเลเซียตะวันตก และเอเชียตะวันออก
เฉียงใต้สมุทร ประกอบด้วย บรูไน มาเลเซียตะวันออก ติมอร์-
เลสเต อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์และสิงคโปร์
• ทาเลที่ตั้งและอาณาเขต
ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตั้งอยู่ทางซีกโลกตะวันออกและทางตะวันออกเฉียงใต้ของ
ทวีปเอเชีย โดยทิศเหนือติดกับประเทศจีน ทิศตะวันออกติดมหาสมุทรแปซิฟิก ทิศใต้ติด
มหาสมุทรอินเดีย และทิศตะวันตกติดประเทศอินเดียและบังคลาเทศ โดยตั้งอยู่ระหว่าง
ละติจูดที่ ๑๐ องศาใต้ถึงละติจูดที่ ๒๘ องศาเหนือ และระหว่างลองจิจูดที่ ๙๒องศา
ตะวันออกถึง ๑๔๑ องศาตะวันตก ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีพื้นที่แบ่งออกเป็น ๒
ส่วนโดยแบ่งตามภูมิศาสตร์คือ ส่วนที่เป็นภาคพื้นทวีป และส่วนที่เป็นหมู่เกาะ
ส่วนที่เป็นภาคพื้นทวีปเป็นพื้นแผ่นดินใหญ่อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปเอเชีย
และอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของภูมิภาคตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบด้วยประเทศ
ไทย พม่า ลาว เวียดนาม กัมพูชา บางส่วนของประเทศมาเลเซีย ส่วนที่เป็นหมู่เกาะ ได้แก่
ประเทศฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย บรูไน สิงคโปร์ บางส่วนของประเทศมาเลเซีย และติมอร์-
เลสเต
• ลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่แบ่งมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิกออกจากกัน มีช่อง
แคบ ๔ แห่ง ได้แก่ ช่องแคบมะละกา ช่องแคบซุนดา ช่องแคบลอมบอก และช่องแคบ
มากัสซาร์ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ยังเปรียบเสมือนสะพานเชื่อมระหว่างทวีปเอเชีย และ
ทวีปออสเตรเลีย
• ภูมิประเทศ
ลักษณะภูมิประเทศของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้แบ่งได้ดังนี้
• บริเวณทิวเขาและที่ราบลาดเนินตะกอนเชิงเขา ทิวเขาภายในแผ่นดินใหญ่วางตัวใน
แนวเหนือ-ใต้ แผ่กระจายออกมาจากชุมเขายูนนาน โดยมี ๓ แนว ได้แก่ แนวทิศ
ตะวันตก คือ ทิวเขาอะระกันในพม่าต่อเนื่องไปในทะเลอันดามัน เป็นภูเขาหินใหม่จึงมี
แผ่นดินไหวเกิดขึ้นบ่อยครั้ง แนวกลางเป็นทิวเขาด้านทิศตะวันออกของพม่าต่อเนื่องลง
ไปถึงภาคเหนือของไทยจนถึงภาคใต้ แนวทิศตะวันออก คือ ทิวเขาในลาวและเวียดนาม
ทิวเขาตามแนวกลางและตะวันออกเป็นภูเขายุคหินกลางจึงไม่มีปรากฏการณ์อัน
เนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงที่รุนแรงเหมือนแนวทิศตะวันตก
• บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้า พบอยู่สองฝั่งของแม่น้้าสายต่าง ๆ ที่ราบส้าคัญได้แก่ ที่ราบลุ่ม
แม่น้้าอิรวดีในพม่า ที่ราบลุ่มแม่น้้าเจ้าพระยาในไทย ที่ราบลุ่มแม่น้้าแดงของเวียดนาม ที่
ราบลุ่มแม่น้้าโขงในประเทศกัมพูชาและเวียดนาม ส่วนที่ราบดินดอนสามเหลี่ยมปาก
แม่น้้าที่ส้าคัญ เช่น ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้้าโขง แม่น้้าเจ้าพระยาและแม่น้้าอิรวดี
เป็นต้น
• ที่ราบชายฝั่งทะเล ได้แก่ บริเวณที่เป็นหาดทรายที่เกิดจากการทับถมของทราย
จากการกระท้าของคลื่นในทะเล บริเวณที่เป็นดินเลนซึ่งมักจะพบป่าไม้ เช่น ป่า
โกงกาง ป่าจาก เป็นต้น พบได้ทั่วไปในทุกประเทศของภูมิภาค ยกเว้นประเทศ
ลาวซึ่งเป็นประเทศเดียวในภูมิภาคที่ไม่มีที่ราบชายฝั่งทะเล เพราะไม่มีอาณา
เขตติดต่อกับทะเล)
• หมู่เกาะ ส่วนใหญ่เป็นเกาะที่เกิดจากภูเขาไฟ ทั้งที่ยังมีพลังและที่ดับสนิทแล้ว
ต่อเนื่องมาจากทิศตะวันตกในแผ่นดินประเทศพม่า ลงไปเป็นหมู่เกาะอันดา
มัน นิโคบาร์ สุมาตรา ชวา ในอินโดนีเซีย และหมู่เกาะในฟิลิปปินส์ ภูมิภาค
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ประกอบด้วยเกาะขนาดใหญ่และขนาดเล็กมากมาย
ประเทศที่มีเกาะจ้านวนมาก ได้แก่ อินโดนีเซีย ซึ่งมีเกาะมากกว่า ๑๗,๐๐๐
เกาะ ประเทศฟิลิปปินส์มีเกาะประมาณ ๗,๐๐๐เกาะ เนื่องจากดินในเขตภูเขา
ไฟจะมีความอุดมสมบูรณ์ จึงท้าให้แถบนี้มีประชากรอาศัยอยู่เป็นจ้านวนมาก
แม้จะต้องเสี่ยงต่อการปะทุของภูเขาไฟและแผ่นดินไหว
• ภูมิอากาศ
ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีลักษณะภูมิอากาศแบบร้อนชื้นหรือเขตร้อน ซึ่งแบ่ง
ออกได้เป็นสองลักษณะ คือ มีสภาพภูมิอากาศชุ่มชื้นในฤดูฝนและแห้งแล้งในฤดูแล้ง
อย่างชัดเจน และอีกลักษณะหนึ่ง คือ มีฝนตกชุ่มชื้นเกือบตลอดทั้งปี เนื่องจากภูมิภาคนี้
ตั้งอยู่ในบริเวณเส้นศูนย์สูตร ดังนั้นจึงมีอุณหภูมิเฉลี่ยรายวันหรือรายเดือนสูงสม่้าเสมอ
ตลอดทั้งปี
• ลักษณะภูมิอากาศที่สลับระหว่างความชุ่มชื้นในฤดูฝน และความแห้งแล้งในฤดูแล้งอย่าง
ชัดเจน จะพบได้ในบริเวณประเทศส่วนต่อกับแผ่นดินใหญ่ของทวีปเอเชีย ได้แก่ พม่า
ไทย ลาว เวียดนาม และกัมพูชา ที่อยู่เหนือละติจูด ๑๐ องศาเหนือขึ้นไป ในฤดูฝนจะ
ได้รับอิทธิพลของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ รวมทั้งพายุที่พัดมาจากทิศตะวันออก ท้าให้
มีฝนตกชุกในระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงตุลาคม ส่วนในช่วงระหว่างเดือนพฤศจิกายนถึง
เมษายนจะมีลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือจากประเทศจีนพัดพาเอาความแห้งแล้งเข้า
มาสู่พื้นที่ ท้าให้เห็นความแตกต่างของทั้งสองฤดู ในบางปีอาจมีพายุหมุนพัดเข้าสู่
แผ่นดินใหญ่ท้าให้มีฝนตกหนักอย่างต่อเนื่อง บริเวณที่ได้รับผลกระทบจากพายุก่อน เช่น
ฟิลิปปินส์ เวียดนาม และลาว จะได้รับผลกระทบมาก ท้าให้เกิดภัยน้้าท่วมและแผ่นดิน
ถล่ม
• ส้าหรับประเทศที่เป็นหมู่เกาะจ้านวนมาก ได้แก่ อินโดนีเซีย และ
ฟิลิปปินส์นั้น จะได้รับอิทธิพลจากลมทะเลและพายุแบบต่าง ๆ เกือบ
ตลอดทั้งปี จึงท้าให้มีฝนตกชุก ยกเว้นบางบริเวณที่อาจจะมีอากาศแห้ง
แล้งได้บ้างเป็นระยะเวลาสั้น เช่น ทางตะวันออกของเกาะชวา ประเทศ
อินโดนีเซีย ส้าหรับประเทศฟิลิปปินส์พายุไต้ฝุ่นซึ่งมีทั้งความเร็วลมสูงและ
ปริมาณน้้าฝนมาก พัดผ่านประเทศเป็นจ้านวนมากกว่า ๑๐ ลูกต่อปี ท้าให้
ประเทศได้รับผลกระทบที่รุนแรงเป็นประจ้า
• สิ่งแวดล้อม
• มังกรโคโมโดในอุทยานแห่งชาติโคโมโด
• ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีลักษณะภูมิอากาศแบบอบอุ่น, ร้อนชื้น
และได้รับอิทธิพลจากลมมรสุม สัตว์ที่มีถิ่นอาศัยอยู่ในเอเชียตะวันออก
เฉียงใต้ค่อนข้างมีความหลากหลาย, บนเกาะบอร์เนียวและเกาะสุมาตรา
จะมีอุรังอุตัง, ช้างเอเชีย, สมเสร็จมลายู, กระซู่ และเสือลายเมฆบอร์เนียว
ก็สามารถพบได้เช่นกัน หกสปีชีส์ย่อยของหมีขอมีถิ่นอาศัยอยู่ในบริเวณนี้
อย่างไรก็ตามมันเป็นสัตว์ที่เสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ที่เกาะปาลาวัน
• เสือสามชนิดที่มีสปีชีส์ย่อยแตกต่างกันสามารถพบได้บนเกาะสุมาตรา
(เสือโคร่งสุมาตรา), ในมาเลเซียตะวันออก (เสือโคร่งมลายู), และในอินโด
จีน (เสือโคร่งอินโดจีน), โดยทั้งหมดถูกจัดอยู่ในกลุ่มที่ถูกคุกคาม
• มังกรโคโมโดเป็นสัตว์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในสปีชีส์กิ้งก่า และอาศัยอยู่บน
เกาะโคโมโด, เกาะรินจา, เกาะฟลอเรส, และ Gili Motang ในอินโดนีเซีย
• อินทรีฟิลิปปินส์เป็นนกประจาชาติของฟิลิปปินส์ ซึ่งนักวิทยาศาสตร์
กล่าวว่าเป็นเหยี่ยวที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลกและมีเฉพาะในป่าที่
ฟิลิปปินส์เท่านั้น
ควายป่าและควายแคระบนเกาะที่แตกต่างกันพบได้เฉพาะที่เอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้เท่านั้น ในทุกวันนี้ควายสามารถพบได้ทั่วไปในภูมิภาค
แต่ชนิดอื่นนั้นถูกคุกคามและหายาก
กระจงสัตว์คล้ายกวางที่มีขนาดไล่เลี่ยกับแมวหรือสุนัขพันธุ์เล็ก
สามารถพบได้บนเกาะสุมาตรา, เกาะบอร์เนียว และเกาะปาลา
วัน (ฟิลิปปินส์) ขณะที่กระทิงที่มีขนาดใหญ่กว่าควายป่า
สามารถพบได้ที่อินโดจีนเป็นส่วนใหญ่
• ประชากร
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีพื้นที่ประมาณ ๔,๐๐๐,๐๐๐ตารางกิโลเมตร
(๑.๖ ล้านตารางไมล์) มีประชากรมากกว่า ๕๙๓ ล้านคนในปี ๒๐๐๗ โดย
กว่าหนึ่งในห้า (๑๒๕ ล้านคน) อยู่บนเกาะชวาของอินโดนีเซีย ซึ่งเป็นเกาะ
ขนาดใหญ่ที่มีความหนาแน่นที่สุดในโลก ด้วยความที่ประเทศอินโดนีเซียมี
ประชากรถึง ๒๓๐ ล้านคน ท้าให้เป็นประเทศที่มีประชากรหนาแน่นมาก
เป็นอันดับ ๔ ของโลก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีความหลากหลายทางเชื้อ
ชาติและศาสนาที่จะแตกต่างไปในแต่ละประเทศ มีชาวจีนโพ้นทะเล
๓๐ ล้านคน อาศัยอยู่ในภูมิภาคนี้ โดยที่เด่นชัดที่สุดคือที่เกาะคริสต์มาส,
มาเลเซีย, ฟิลิปปินส์, สิงคโปร์, อินโดนีเซีย และไทย รวมถึงชาวฮั้วใน
เวียดนาม
• ศาสนา
ศาสนาอิสลามเป็นศาสนาที่มีผู้นับถือมากที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ด้วยจ้านวนประมาณที่มากถึง ๒๔๐ ล้านคน ซึ่งคิดเป็น ๔๐% ของ
ประชากรทั้งหมด โดยส่วนมากจะอยู่ที่บรูไน, อินโดนีเซีย และ
มาเลเซีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นภูมิภาคที่มีความหลากหลายทาง
ศาสนา โดยศาสนาพุทธมีผู้นับถือเป็นจ้านวนมากในไทย, กัมพูชา, ลาว,
พม่า, เวียดนาม และสิงคโปร์ ลัทธิบูชาบรรพบุรุษและลัทธิขงจื๊อก็มีผู้นับ
ถือมากในเวียดนามและสิงคโปร์ ส่วนศาสนาคริสต์ก็เป็นที่นิยมใน
ฟิลิปปินส์, ภาคตะวันออกของอินโดนีเซีย, มาเลเซียตะวันออก และติมอร์-
เลสเต โดยฟิลิปปินส์เป็นประเทศที่มีผู้นับถือนิกายโรมันคาทอลิกมากที่สุด
ในเอเชีย ส่วนติมอร์-เลสเต ก็นับถือนิกายโรมันคาทอลิกเช่นกัน เนื่องจาก
เคยตกเป็นอาณานิคมของโปรตุเกสมาก่อน
• วัฒนธรรม
• วัฒนธรรมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีความหลากหลายเป็นอย่างมาก บน
แผ่นดินใหญ่จะมีการผสมผสานกันระหว่างวัฒนธรรมอินเดียและจีน ส่วน
อินโดนีเซีย, ฟิลิปปินส์, มาเลเซีย และสิงคโปร์นั้นประกอบด้วยวัฒนธรรม
อาหรับ, โปรตุเกส, สเปน, จีน, อินเดีย และวัฒนธรรมพื้นเมืองมลายู ส่วนบรูไน
จะค่อนข้างแตกต่างจากประเทศอื่น เพราะได้รับอิทธิพลมากมายจาก
วัฒนธรรมอาหรับ
• ในภูมิภาคนี้มีการท้านาข้าวมาแล้วนับพันปี เช่น นาข้าวบานัวที่เกาะลูซอน โดย
นาข้าวต้องใช้ความมุมานะในการดูแลรักษาเป็นอย่างมาก และสามารถเข้ากับ
สภาพภูมิอากาศแบบมรสุมได้เป็นอย่างดี
• บ้านยกบนเสาสูงสามารถหาได้ทั่วไปในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งแต่
ไทยและลาว, เกาะบอร์เนียว, เกาะลูซอนในฟิลิปปินส์, ไปจนถึงปาปัว
นิวกินี โดยมีเทคนิคในการสร้างไม่เหมือนกัน โดยเฉพาะในอินโดนีเซีย รวมไป
ถึงด้านอาวุธยุทโธปกรณ์ เช่น กริช และเครื่องดนตรี เช่น ระนาด

More Related Content

What's hot

อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3O'Orh ChatmaNee
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นNattha Namm
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์niralai
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1panisra
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงKru Tew Suetrong
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกSompak3111
 
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6ARM ARM
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยพัน พัน
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2พัน พัน
 
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วมเรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วมพัน พัน
 
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปลรวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปลChavalit Deeudomwongsa
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]นิตยา ทองดียิ่ง
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เกษสุดา สนน้อย
 

What's hot (20)

อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
อินธนูครู
อินธนูครูอินธนูครู
อินธนูครู
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
 
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2
 
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วมเรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปลรวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
 

More from Kornnicha Wonglai

ฟังก์ชันเอกซ์โพแนนเชียล
ฟังก์ชันเอกซ์โพแนนเชียลฟังก์ชันเอกซ์โพแนนเชียล
ฟังก์ชันเอกซ์โพแนนเชียลKornnicha Wonglai
 
นิราศภูเขาทองม.๑
นิราศภูเขาทองม.๑นิราศภูเขาทองม.๑
นิราศภูเขาทองม.๑Kornnicha Wonglai
 
ชุดอาเซียน ครูพิณทิพย์
ชุดอาเซียน ครูพิณทิพย์ชุดอาเซียน ครูพิณทิพย์
ชุดอาเซียน ครูพิณทิพย์Kornnicha Wonglai
 
ตัวแปร การกำหนดค่าและชนิดข้อมูล
ตัวแปร การกำหนดค่าและชนิดข้อมูลตัวแปร การกำหนดค่าและชนิดข้อมูล
ตัวแปร การกำหนดค่าและชนิดข้อมูลKornnicha Wonglai
 
โปรแกรมภาษาไพธอน
โปรแกรมภาษาไพธอนโปรแกรมภาษาไพธอน
โปรแกรมภาษาไพธอนKornnicha Wonglai
 
IT news พาวเวอร์แบงก์พกพา
IT news พาวเวอร์แบงก์พกพาIT news พาวเวอร์แบงก์พกพา
IT news พาวเวอร์แบงก์พกพาKornnicha Wonglai
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Kornnicha Wonglai
 
บทพากย์เอราวัณ
บทพากย์เอราวัณบทพากย์เอราวัณ
บทพากย์เอราวัณKornnicha Wonglai
 
ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
ทฤษฎีกราฟเบื้องต้นทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
ทฤษฎีกราฟเบื้องต้นKornnicha Wonglai
 
การเขียนแบบคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
การเขียนแบบคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำการเขียนแบบคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
การเขียนแบบคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำKornnicha Wonglai
 
ปัญหาท้องในวัยเรียน
ปัญหาท้องในวัยเรียนปัญหาท้องในวัยเรียน
ปัญหาท้องในวัยเรียนKornnicha Wonglai
 
ฟังก์ชันเอกโพแนนเชียล
ฟังก์ชันเอกโพแนนเชียลฟังก์ชันเอกโพแนนเชียล
ฟังก์ชันเอกโพแนนเชียลKornnicha Wonglai
 
โวหารภาพพจน์ครูอรุณศรี
โวหารภาพพจน์ครูอรุณศรีโวหารภาพพจน์ครูอรุณศรี
โวหารภาพพจน์ครูอรุณศรีKornnicha Wonglai
 
ระบบการสื่อสารข้อมูล
ระบบการสื่อสารข้อมูลระบบการสื่อสารข้อมูล
ระบบการสื่อสารข้อมูลKornnicha Wonglai
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาKornnicha Wonglai
 
ปัญหาท้องในวัยเรียน
ปัญหาท้องในวัยเรียนปัญหาท้องในวัยเรียน
ปัญหาท้องในวัยเรียนKornnicha Wonglai
 

More from Kornnicha Wonglai (20)

ฟังก์ชันเอกซ์โพแนนเชียล
ฟังก์ชันเอกซ์โพแนนเชียลฟังก์ชันเอกซ์โพแนนเชียล
ฟังก์ชันเอกซ์โพแนนเชียล
 
นิราศภูเขาทองม.๑
นิราศภูเขาทองม.๑นิราศภูเขาทองม.๑
นิราศภูเขาทองม.๑
 
ชุดอาเซียน ครูพิณทิพย์
ชุดอาเซียน ครูพิณทิพย์ชุดอาเซียน ครูพิณทิพย์
ชุดอาเซียน ครูพิณทิพย์
 
ตัวแปร การกำหนดค่าและชนิดข้อมูล
ตัวแปร การกำหนดค่าและชนิดข้อมูลตัวแปร การกำหนดค่าและชนิดข้อมูล
ตัวแปร การกำหนดค่าและชนิดข้อมูล
 
โปรแกรมภาษาไพธอน
โปรแกรมภาษาไพธอนโปรแกรมภาษาไพธอน
โปรแกรมภาษาไพธอน
 
IT news พาวเวอร์แบงก์พกพา
IT news พาวเวอร์แบงก์พกพาIT news พาวเวอร์แบงก์พกพา
IT news พาวเวอร์แบงก์พกพา
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
บทพากย์เอราวัณ
บทพากย์เอราวัณบทพากย์เอราวัณ
บทพากย์เอราวัณ
 
ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
ทฤษฎีกราฟเบื้องต้นทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
 
77 จังหวัด
77 จังหวัด77 จังหวัด
77 จังหวัด
 
การเขียนแบบคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
การเขียนแบบคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำการเขียนแบบคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
การเขียนแบบคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
 
ปัญหาท้องในวัยเรียน
ปัญหาท้องในวัยเรียนปัญหาท้องในวัยเรียน
ปัญหาท้องในวัยเรียน
 
ฟังก์ชันเอกโพแนนเชียล
ฟังก์ชันเอกโพแนนเชียลฟังก์ชันเอกโพแนนเชียล
ฟังก์ชันเอกโพแนนเชียล
 
โวหารภาพพจน์ครูอรุณศรี
โวหารภาพพจน์ครูอรุณศรีโวหารภาพพจน์ครูอรุณศรี
โวหารภาพพจน์ครูอรุณศรี
 
ระบบการสื่อสารข้อมูล
ระบบการสื่อสารข้อมูลระบบการสื่อสารข้อมูล
ระบบการสื่อสารข้อมูล
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
ปัญหาท้องในวัยเรียน
ปัญหาท้องในวัยเรียนปัญหาท้องในวัยเรียน
ปัญหาท้องในวัยเรียน
 
ข่าว It-news
ข่าว It-newsข่าว It-news
ข่าว It-news
 
ข่าว It
ข่าว Itข่าว It
ข่าว It
 
ข่าว It news
ข่าว It newsข่าว It news
ข่าว It news
 

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)

  • 1. เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ วิชาสังคมศึกษา ระดับชั้น ม.๑ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๙ ครูพิณทิพย์ วิริยธรรมเจริญ กลุ่มสาระฯการเรียนรู้สังคมศึกษาฯ
  • 2.
  • 3. เอเชียตะวันออกเฉียงใต้, อุษาคเนย์ หรือ เอเชียอาคเนย์ เป็นอนุภูมิภาค ของทวีปเอเชีย ประกอบด้วยประเทศต่าง ๆ ซึ่งทิศเหนือติดจีน ทิศ ตะวันตกติดอินเดีย ทิศตะวันออกติดปาปัวนิวกินี และทิศใต้ติด ออสเตรเลีย ภูมิภาคดังกล่าวตั้งอยู่บนรอยต่อของแผ่นทวีปหลายแผ่นที่ ยังมีการไหวสะเทือนรุนแรงและการปะทุของภูเขาไฟอยู่ต่อเนื่อง เอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้แบ่งได้ภาคภูมิศาสตร์ได้สองภาค ได้แก่ เอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้แผ่นดินใหญ่ หรืออินโดจีน ประกอบด้วย กัมพูชา ลาว พม่า ไทย เวียดนาม และมาเลเซียตะวันตก และเอเชียตะวันออก เฉียงใต้สมุทร ประกอบด้วย บรูไน มาเลเซียตะวันออก ติมอร์- เลสเต อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์และสิงคโปร์
  • 4. • ทาเลที่ตั้งและอาณาเขต ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตั้งอยู่ทางซีกโลกตะวันออกและทางตะวันออกเฉียงใต้ของ ทวีปเอเชีย โดยทิศเหนือติดกับประเทศจีน ทิศตะวันออกติดมหาสมุทรแปซิฟิก ทิศใต้ติด มหาสมุทรอินเดีย และทิศตะวันตกติดประเทศอินเดียและบังคลาเทศ โดยตั้งอยู่ระหว่าง ละติจูดที่ ๑๐ องศาใต้ถึงละติจูดที่ ๒๘ องศาเหนือ และระหว่างลองจิจูดที่ ๙๒องศา ตะวันออกถึง ๑๔๑ องศาตะวันตก ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีพื้นที่แบ่งออกเป็น ๒ ส่วนโดยแบ่งตามภูมิศาสตร์คือ ส่วนที่เป็นภาคพื้นทวีป และส่วนที่เป็นหมู่เกาะ ส่วนที่เป็นภาคพื้นทวีปเป็นพื้นแผ่นดินใหญ่อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปเอเชีย และอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของภูมิภาคตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบด้วยประเทศ ไทย พม่า ลาว เวียดนาม กัมพูชา บางส่วนของประเทศมาเลเซีย ส่วนที่เป็นหมู่เกาะ ได้แก่ ประเทศฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย บรูไน สิงคโปร์ บางส่วนของประเทศมาเลเซีย และติมอร์- เลสเต • ลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่แบ่งมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิกออกจากกัน มีช่อง แคบ ๔ แห่ง ได้แก่ ช่องแคบมะละกา ช่องแคบซุนดา ช่องแคบลอมบอก และช่องแคบ มากัสซาร์ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ยังเปรียบเสมือนสะพานเชื่อมระหว่างทวีปเอเชีย และ ทวีปออสเตรเลีย
  • 5. • ภูมิประเทศ ลักษณะภูมิประเทศของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้แบ่งได้ดังนี้ • บริเวณทิวเขาและที่ราบลาดเนินตะกอนเชิงเขา ทิวเขาภายในแผ่นดินใหญ่วางตัวใน แนวเหนือ-ใต้ แผ่กระจายออกมาจากชุมเขายูนนาน โดยมี ๓ แนว ได้แก่ แนวทิศ ตะวันตก คือ ทิวเขาอะระกันในพม่าต่อเนื่องไปในทะเลอันดามัน เป็นภูเขาหินใหม่จึงมี แผ่นดินไหวเกิดขึ้นบ่อยครั้ง แนวกลางเป็นทิวเขาด้านทิศตะวันออกของพม่าต่อเนื่องลง ไปถึงภาคเหนือของไทยจนถึงภาคใต้ แนวทิศตะวันออก คือ ทิวเขาในลาวและเวียดนาม ทิวเขาตามแนวกลางและตะวันออกเป็นภูเขายุคหินกลางจึงไม่มีปรากฏการณ์อัน เนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงที่รุนแรงเหมือนแนวทิศตะวันตก • บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้า พบอยู่สองฝั่งของแม่น้้าสายต่าง ๆ ที่ราบส้าคัญได้แก่ ที่ราบลุ่ม แม่น้้าอิรวดีในพม่า ที่ราบลุ่มแม่น้้าเจ้าพระยาในไทย ที่ราบลุ่มแม่น้้าแดงของเวียดนาม ที่ ราบลุ่มแม่น้้าโขงในประเทศกัมพูชาและเวียดนาม ส่วนที่ราบดินดอนสามเหลี่ยมปาก แม่น้้าที่ส้าคัญ เช่น ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้้าโขง แม่น้้าเจ้าพระยาและแม่น้้าอิรวดี เป็นต้น
  • 6. • ที่ราบชายฝั่งทะเล ได้แก่ บริเวณที่เป็นหาดทรายที่เกิดจากการทับถมของทราย จากการกระท้าของคลื่นในทะเล บริเวณที่เป็นดินเลนซึ่งมักจะพบป่าไม้ เช่น ป่า โกงกาง ป่าจาก เป็นต้น พบได้ทั่วไปในทุกประเทศของภูมิภาค ยกเว้นประเทศ ลาวซึ่งเป็นประเทศเดียวในภูมิภาคที่ไม่มีที่ราบชายฝั่งทะเล เพราะไม่มีอาณา เขตติดต่อกับทะเล) • หมู่เกาะ ส่วนใหญ่เป็นเกาะที่เกิดจากภูเขาไฟ ทั้งที่ยังมีพลังและที่ดับสนิทแล้ว ต่อเนื่องมาจากทิศตะวันตกในแผ่นดินประเทศพม่า ลงไปเป็นหมู่เกาะอันดา มัน นิโคบาร์ สุมาตรา ชวา ในอินโดนีเซีย และหมู่เกาะในฟิลิปปินส์ ภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ประกอบด้วยเกาะขนาดใหญ่และขนาดเล็กมากมาย ประเทศที่มีเกาะจ้านวนมาก ได้แก่ อินโดนีเซีย ซึ่งมีเกาะมากกว่า ๑๗,๐๐๐ เกาะ ประเทศฟิลิปปินส์มีเกาะประมาณ ๗,๐๐๐เกาะ เนื่องจากดินในเขตภูเขา ไฟจะมีความอุดมสมบูรณ์ จึงท้าให้แถบนี้มีประชากรอาศัยอยู่เป็นจ้านวนมาก แม้จะต้องเสี่ยงต่อการปะทุของภูเขาไฟและแผ่นดินไหว
  • 7. • ภูมิอากาศ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีลักษณะภูมิอากาศแบบร้อนชื้นหรือเขตร้อน ซึ่งแบ่ง ออกได้เป็นสองลักษณะ คือ มีสภาพภูมิอากาศชุ่มชื้นในฤดูฝนและแห้งแล้งในฤดูแล้ง อย่างชัดเจน และอีกลักษณะหนึ่ง คือ มีฝนตกชุ่มชื้นเกือบตลอดทั้งปี เนื่องจากภูมิภาคนี้ ตั้งอยู่ในบริเวณเส้นศูนย์สูตร ดังนั้นจึงมีอุณหภูมิเฉลี่ยรายวันหรือรายเดือนสูงสม่้าเสมอ ตลอดทั้งปี • ลักษณะภูมิอากาศที่สลับระหว่างความชุ่มชื้นในฤดูฝน และความแห้งแล้งในฤดูแล้งอย่าง ชัดเจน จะพบได้ในบริเวณประเทศส่วนต่อกับแผ่นดินใหญ่ของทวีปเอเชีย ได้แก่ พม่า ไทย ลาว เวียดนาม และกัมพูชา ที่อยู่เหนือละติจูด ๑๐ องศาเหนือขึ้นไป ในฤดูฝนจะ ได้รับอิทธิพลของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ รวมทั้งพายุที่พัดมาจากทิศตะวันออก ท้าให้ มีฝนตกชุกในระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงตุลาคม ส่วนในช่วงระหว่างเดือนพฤศจิกายนถึง เมษายนจะมีลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือจากประเทศจีนพัดพาเอาความแห้งแล้งเข้า มาสู่พื้นที่ ท้าให้เห็นความแตกต่างของทั้งสองฤดู ในบางปีอาจมีพายุหมุนพัดเข้าสู่ แผ่นดินใหญ่ท้าให้มีฝนตกหนักอย่างต่อเนื่อง บริเวณที่ได้รับผลกระทบจากพายุก่อน เช่น ฟิลิปปินส์ เวียดนาม และลาว จะได้รับผลกระทบมาก ท้าให้เกิดภัยน้้าท่วมและแผ่นดิน ถล่ม
  • 8. • ส้าหรับประเทศที่เป็นหมู่เกาะจ้านวนมาก ได้แก่ อินโดนีเซีย และ ฟิลิปปินส์นั้น จะได้รับอิทธิพลจากลมทะเลและพายุแบบต่าง ๆ เกือบ ตลอดทั้งปี จึงท้าให้มีฝนตกชุก ยกเว้นบางบริเวณที่อาจจะมีอากาศแห้ง แล้งได้บ้างเป็นระยะเวลาสั้น เช่น ทางตะวันออกของเกาะชวา ประเทศ อินโดนีเซีย ส้าหรับประเทศฟิลิปปินส์พายุไต้ฝุ่นซึ่งมีทั้งความเร็วลมสูงและ ปริมาณน้้าฝนมาก พัดผ่านประเทศเป็นจ้านวนมากกว่า ๑๐ ลูกต่อปี ท้าให้ ประเทศได้รับผลกระทบที่รุนแรงเป็นประจ้า
  • 9. • สิ่งแวดล้อม • มังกรโคโมโดในอุทยานแห่งชาติโคโมโด • ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีลักษณะภูมิอากาศแบบอบอุ่น, ร้อนชื้น และได้รับอิทธิพลจากลมมรสุม สัตว์ที่มีถิ่นอาศัยอยู่ในเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ค่อนข้างมีความหลากหลาย, บนเกาะบอร์เนียวและเกาะสุมาตรา จะมีอุรังอุตัง, ช้างเอเชีย, สมเสร็จมลายู, กระซู่ และเสือลายเมฆบอร์เนียว ก็สามารถพบได้เช่นกัน หกสปีชีส์ย่อยของหมีขอมีถิ่นอาศัยอยู่ในบริเวณนี้ อย่างไรก็ตามมันเป็นสัตว์ที่เสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ที่เกาะปาลาวัน
  • 10. • เสือสามชนิดที่มีสปีชีส์ย่อยแตกต่างกันสามารถพบได้บนเกาะสุมาตรา (เสือโคร่งสุมาตรา), ในมาเลเซียตะวันออก (เสือโคร่งมลายู), และในอินโด จีน (เสือโคร่งอินโดจีน), โดยทั้งหมดถูกจัดอยู่ในกลุ่มที่ถูกคุกคาม • มังกรโคโมโดเป็นสัตว์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในสปีชีส์กิ้งก่า และอาศัยอยู่บน เกาะโคโมโด, เกาะรินจา, เกาะฟลอเรส, และ Gili Motang ในอินโดนีเซีย
  • 13. กระจงสัตว์คล้ายกวางที่มีขนาดไล่เลี่ยกับแมวหรือสุนัขพันธุ์เล็ก สามารถพบได้บนเกาะสุมาตรา, เกาะบอร์เนียว และเกาะปาลา วัน (ฟิลิปปินส์) ขณะที่กระทิงที่มีขนาดใหญ่กว่าควายป่า สามารถพบได้ที่อินโดจีนเป็นส่วนใหญ่
  • 14. • ประชากร เอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีพื้นที่ประมาณ ๔,๐๐๐,๐๐๐ตารางกิโลเมตร (๑.๖ ล้านตารางไมล์) มีประชากรมากกว่า ๕๙๓ ล้านคนในปี ๒๐๐๗ โดย กว่าหนึ่งในห้า (๑๒๕ ล้านคน) อยู่บนเกาะชวาของอินโดนีเซีย ซึ่งเป็นเกาะ ขนาดใหญ่ที่มีความหนาแน่นที่สุดในโลก ด้วยความที่ประเทศอินโดนีเซียมี ประชากรถึง ๒๓๐ ล้านคน ท้าให้เป็นประเทศที่มีประชากรหนาแน่นมาก เป็นอันดับ ๔ ของโลก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีความหลากหลายทางเชื้อ ชาติและศาสนาที่จะแตกต่างไปในแต่ละประเทศ มีชาวจีนโพ้นทะเล ๓๐ ล้านคน อาศัยอยู่ในภูมิภาคนี้ โดยที่เด่นชัดที่สุดคือที่เกาะคริสต์มาส, มาเลเซีย, ฟิลิปปินส์, สิงคโปร์, อินโดนีเซีย และไทย รวมถึงชาวฮั้วใน เวียดนาม
  • 15. • ศาสนา ศาสนาอิสลามเป็นศาสนาที่มีผู้นับถือมากที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ด้วยจ้านวนประมาณที่มากถึง ๒๔๐ ล้านคน ซึ่งคิดเป็น ๔๐% ของ ประชากรทั้งหมด โดยส่วนมากจะอยู่ที่บรูไน, อินโดนีเซีย และ มาเลเซีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นภูมิภาคที่มีความหลากหลายทาง ศาสนา โดยศาสนาพุทธมีผู้นับถือเป็นจ้านวนมากในไทย, กัมพูชา, ลาว, พม่า, เวียดนาม และสิงคโปร์ ลัทธิบูชาบรรพบุรุษและลัทธิขงจื๊อก็มีผู้นับ ถือมากในเวียดนามและสิงคโปร์ ส่วนศาสนาคริสต์ก็เป็นที่นิยมใน ฟิลิปปินส์, ภาคตะวันออกของอินโดนีเซีย, มาเลเซียตะวันออก และติมอร์- เลสเต โดยฟิลิปปินส์เป็นประเทศที่มีผู้นับถือนิกายโรมันคาทอลิกมากที่สุด ในเอเชีย ส่วนติมอร์-เลสเต ก็นับถือนิกายโรมันคาทอลิกเช่นกัน เนื่องจาก เคยตกเป็นอาณานิคมของโปรตุเกสมาก่อน
  • 16. • วัฒนธรรม • วัฒนธรรมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีความหลากหลายเป็นอย่างมาก บน แผ่นดินใหญ่จะมีการผสมผสานกันระหว่างวัฒนธรรมอินเดียและจีน ส่วน อินโดนีเซีย, ฟิลิปปินส์, มาเลเซีย และสิงคโปร์นั้นประกอบด้วยวัฒนธรรม อาหรับ, โปรตุเกส, สเปน, จีน, อินเดีย และวัฒนธรรมพื้นเมืองมลายู ส่วนบรูไน จะค่อนข้างแตกต่างจากประเทศอื่น เพราะได้รับอิทธิพลมากมายจาก วัฒนธรรมอาหรับ • ในภูมิภาคนี้มีการท้านาข้าวมาแล้วนับพันปี เช่น นาข้าวบานัวที่เกาะลูซอน โดย นาข้าวต้องใช้ความมุมานะในการดูแลรักษาเป็นอย่างมาก และสามารถเข้ากับ สภาพภูมิอากาศแบบมรสุมได้เป็นอย่างดี • บ้านยกบนเสาสูงสามารถหาได้ทั่วไปในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งแต่ ไทยและลาว, เกาะบอร์เนียว, เกาะลูซอนในฟิลิปปินส์, ไปจนถึงปาปัว นิวกินี โดยมีเทคนิคในการสร้างไม่เหมือนกัน โดยเฉพาะในอินโดนีเซีย รวมไป ถึงด้านอาวุธยุทโธปกรณ์ เช่น กริช และเครื่องดนตรี เช่น ระนาด