SlideShare a Scribd company logo
1 of 34
บทที่8การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ความหมายของการวัด การทดสอบ และการประเมินผล การวัดผลการ หมายถึงกระบวนการหาปริมาณหรือจำนวนของสิ่งต่างๆโดยใช้เครื่องมือ อย่างใดอย่างหนึ่ง ผลจากการวัดจะออกมาเป็นตัวเลขหรือสัญลักษ์ การทดสอบการศึกษาหมายถึงกระบวนการวัดอย่างใดอย่างหนึ่งที่กระทำอย่างมีระบบเพื่อใช้เปรียบเทียบความสามารถของบุคคล
การประเมินผลหมายถึงการตัดสินหรือวินิจฉัยต่างๆที่ได้จากการวัดผล บลูมและคณะได้แบ่งพฤติกรรมที่จะวัดออกเป็น3ลักษณะ 1.วัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยคือการวัดเกี่ยวกับ ความรู้ความคิดวัดด้าสมอง 2.วัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยคือการวัดเกี่ยวกับการรู้สึกนึกคิด 3.ใช้วัดพฤติกรรมด้านทักษะพิสัยคือการวัดเกี่ยวกับการใช้กล้ามเนื้อ
จุดมุ่งหมายของการวัดผลการศึกษา 1.วัดผลเพื่อและพัฒนาสมรรถภาพของนักเรียน 2.วัดผลเพื่อวินิจฉัย 3.วัดผลเพื่อจัดอันดับหรือตำแหน่ง 4.วัดผลเพื่อเปรียบเทียบหรือเพื่อทราบพัฒนากรของนักเรียน 5.วัดผลเพื่อพยากรณ์ 6.วัดผลเพื่อประเมินผล
หลักการวัดผลการศึกษา 1.ต้องวัดให้ตรงกับจุดมุ่งหมายของการเรียนการสอน 2.เลือกเครื่องมือที่ดีและเหมาะสม 3.ระวังความคลาดเคลื่อนหรือผิดพลาดของการวัด 4.ประเมินการวัดให้ถูกต้อง 5.ใช้ผลการวัดให้คุ้มค่าเพื่อค้นและพัฒนาสมรรถนของนักเรียน
เครื่องมือที่ใช้วัดผล 1.การสังเกต การสังเกตคือการพิจรารณาปรากฎการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นเพื่อค้นหาความจริงบางประการโดยอาศัยปราสาท
รูปแบบการสังเกต 1.การสังเกตโดยผู้เข้าไปร่วมในเหตุการณ์หรือกิจกรรม 2.การสังเกตโดยผู้สังเกตไมได้เข้าไปร่วมในเหตุการณ์ 2.1การสังเกตแบบไม่มีโครงสร้างหมายถึง การสังเกตโดยผู้ที่สังเกตไม่ได้กำหนดหัวเรื่องเฉพาะเอาไว้ 2.2สังเกตแบบมีโครงสร้างหมายถึงการสังเกตที่ผู้สังเกตกำหนดเรื่องที่เฉพาะเอาไว้ 2.การสัมภาษณ์ การสัมภาษณ์หมายถึงการสนทนหรือพูดโต้ตอบกันอย่างมีจุดมุ่งหมายเพื่อค้นหาความรู้ความจริง
รุปแบบของการสัมภาษณ์ 1การสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง 2การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง 3.แบบสอบถาม     แบบสอบถาเป็นเครื่องมือชนิดหนึ่งที่นิยมใช้กันมากโดยเฉพาะการเก็บข้อมูลทางสังคมศาสตร์
รูปแบบของแบบสอบถาม 1.แบบสอบถามชนิดปลายเปิดแบบสอบถามชนิดนี้ไม่ได้กำหนดคำตอบไว้เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ตอบตอบได้อย่างอิสระ 2.แบบสอบถามปลายปิดแบบสอบถามนี้จะระกอบไปด้วยข้อคำถามและข้อตัวเลือก แบบสอบถามชนิดปลายปิดแบ่งเป็น4แบบ
2.1แบบตรวจสอบรายการเป็นการสร้างรายการของข้อคำถามที่เกี่ยวหรือสัมพันธ์กับคุณลักษณะของพฤติกรรม 2.2มาตรส่วนประมาณค่าเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินการปฎิบัติกิจกรรมทักษะต่างๆ 2.3แบบจัดอันดับมักจะให้ผู้ตอบจัดอันดับความสำคัญหรือคุรภาพโดยให้ผู้ตอบเรียงดับความเข้มมากไปหาความเข้มน้อย 2.4แบบเติมคำสั้นๆในช่องว่างแบบสอบถามนี้จะต้องกำหนดขอบเขตจำเพาะเจาะจงลงไป
4.การจัดอันดับ เป็นเครื่องมือวัดผลให้นักเรียนหรือผู้ได้รับแบบสอบถามเป็นผู้ตอบโดยจัดอันดับความสำคัญ 5.การประเมินผลจากสภาพจริง    หมายถึงกระบวนการสังเกตการบันทึกและรวบรวมข้อมูลจากงานและวิธีการที่นักเรียนทำการประมเนจากสภาพจริงจะเน้นให้นักเรียนสามารถแก้ไขปัญหา เป็นผู้ค้นพบและผลิตความรุ้
6.การวัดผลภาคปฎิบัติ การวัดผลภาคปฎิบัตเป็นการวัดผลงานที่ให้นักเรียนลงมือปฎิบัติซึ่งสามารถวัดได้ทั้งกระบวนการและผลงานในสถานการณ์จริงรือในสถานการณำลอง สิ่งที่ควรคำนึงในการสอบวัดภาคปฎิบัติคือ 1.ขั้นเตรียมงาน 2.ขั้นปฎิบัติงาน 3.เวลาที่ใช้ในการทำงาน 4.ผลงาน
7.การประเมินผลโดยใช้แฟ้มสะสมงาน      แนวทางการประเมินผลโดยการรวบรวมข้อมูลที่ครูและผู้เรียนทำกิจกรรมต่างๆร่วมกันโดยการกระทำต่อเนื่องตลอดภาคเรียน 8.แบบทดสอบ     แบบทดสอบหมายถึงชุดของคำถามหรือกลุ่มงานใดๆที่สร้างขึ้นเพื่อชักนำใหผู้ถูกทดสอบ แสดงพฤติกรรม หรือปฏิกิริยาโต้ตอบอย่างใดอย่างหนึ่งออกมาให้สังเกตได้    ประเภทของแบบทดสอบสามารถแบ่งประเภทออกได้หลายลักษณะขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่จะใช้ดังนี้
8.1แบ่งตามพฤติกรรมหรือสมรรถภาพที่จะวัดแบ่งเป็น3ประเภท 1.1แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ หมายถึงแบบทดสอบที่วัดสมรรถภาพสมองด้านต่างๆที่นักเรียนได้รับการเรียนรู้ผ่านมาแล้วมีอยู่เท่าใด 1.2แบบทดสอบมาตรฐานหมายถึงแบบทดสอบที่มุ่งวัดผลสัมฤทธิ์มีจุดมุ่งหมายเพื่อเปรียบเทียบคุณภาพต่างๆของนักเรียนที่ต่างกลุ่มกัน
2.แบบทดสอบวัดความถนัดหมายถึงแบบทดสอบที่มุ่งวัดสมรรถภาพสมองของผู้เรียนแบ่งเป็น2แบบคือ 1.แบบทดสอบวัดความถนัดทางการเรียน 2.แบบทดสอบวัดความถนัดเฉพาะ 3.แบบทดสอบวัดบุคลิกภาพทางสังคมหมายถึงแบบทดสอบที่ใช้วัดบุคลิคภาพและการปรับตัวให้เข้ากับสังคม
8.2แบ่งตามลักษณะการตอบ 1.แบบทดสอบภาคปฎิบัติ 2.แบบทดสอบข้อเขียน 3.แบบทดสอบปากเปล่า
8.3แบ่งตามเวลาที่กำหนดให้ตอบ 1.แบบทดสอบที่จำกัดเวลาในการตอบ 2.แบบทดสอบที่ไม่จำกัดเวลาในการตอบ
8.4แบ่งตามจำนวนผู้เข้าสอบ 1.แบบทดสอบแบบเป็นรายบุคคล 2.แบบทดสอบเป็นชั้นหรือเป็นหมู่
8.5แบ่งตามสิ่งเร้าของการถาม 1.แบบทดสอบทางภาษา 2.แบบทดสอบที่ไม่ใช้ภาษา
8.6 แบ่งตามลักษณะของการใช้ประโยชน์ 1.แบบทดสอบย่อย 2.แบบทดสอบรวม 8.7แบ่งตามเนื้อหาของข้อสอบในฉบับ 1.แบบทดสอบอัตนัย 2.แบบทดสอบปรนัย
9.การสังเกต สังเกตเป้นการรวบรวมข้อมูลโดยใช้ปราสาทสัมผัสต่างๆของผู้สังเกตเป็นเครื่องมือ ธรรมชาติของข้อมูลจากการสังเกต ข้อมูลที่ได้จากการสังเกตแบ่งออกเป็นได้2ระดับคือ 1.เป็นรูปธรรม 2.เป็นนามธรรม
10.การสัมภาษณ์ การสัมภาษณ์เป็นการสนทนาอย่างมีจุดมุ่งหมาย เพื่อต้องการผลอย่างใดอย่างหนึ่งเป็นกระบวนการสื่อสารระหว่างุคคลสองคนหรือระหว่างบุคคลกับกลุ่มคนจำนวนจำนวนจำกัด
11.แบบสอบถามและแบบสำรวจ แบบสอบถามเป็นชุดคำถามที่สร้างขึ้นเพื่อรวบรวข้อมูลเกี่ยวกับตัวบุคคลในด้านต่างๆ  แบบสอบถามเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการหาข้อมูลเกี่ยวกับตัวบุคคลอย่างแพร่หลายเนื่องจากเป็นเครื่องที่ช่วยที่ให้ได้ข้อมูลในเวลาอันรวดเร็ว
12.แบบสำรวจแบบสำรวจหรือแบบตรวจสอบรายการเป็นเครื่องมือที่ใช้กันมากอีกชนิดหนึ่งโดยปกติจะประกอบด้วยบัญชีรายการสิ่งของหรือเรื่องราวต่างๆที่จะให้ผู้ตอบในลักษณะให้เลือกอย่างใดอย่างหนึ่งในสองอย่างที่กำหนดให้ การวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลเป็นกระบวนการนำข้อมูลซึ่งเก็บรวบรวมได้มาจัดกระทำโดยการจัดระเบียบ แยกแยะ  
ลักษณะของข้อมูล ข้อมูลหมายถึงข้อเท็จจริงหรือข่าวสาร เกี่ยวกับเรื่องต่างๆที่สนใจศึกษา ข้อมูลอาจแบ่งออกเป็น2ประเภทคือ 1.ข้อมูลเชิงปริมาณ  ได้แก่ข้อมูลที่อยู่ในรูปของจำนวน ปริมาณ หรือตัวเลข 2.ข้อมูลเชิงคุณภาพได้แก่ ข้อมูลที่ไม่อยู่ในรูปของจำนวนหรือตัวเลข
ประเภทของการวิเคราะห์ข้อมูล  แบ่งออกเป็น2ประเภทคือ 1.การวิเคราะห์โดยไม่ใช่วิธีการทางสถิติ 2.การวิเคราะห์โดยใช้วิธีการทางสถิติ
การประเมินการศึกษา การประเมินผลทางการศึกษา หมายถึงกระบวนการในการตัดสินใจลงสรุปคุณลักษณะหรือพฤติกรรมของนักเรียนว่ามีคุณภาพดีระดับใดโดยอาศัยเกณฑ์ อย่างใดอย่างหนึ่งในการเปรียบเทียบ มีองค์ประกอบ 3ประการคือ 1.ผลการวัด 2.เกณฑ์การพิจารณา 3.การตัดสิน
ขอบข่ายของการประเมินผลทางการศึกษา    การประเมินทางการศึกษาจะขอบเขตข่ายกว้าง-แคบเพียงใดและครอบคลุมสิ่งใดบ้างนั้นขึ้นอยู่กับความเข้าใจและการมองภาพของคำว่าการศึกษาว่าประกอบด้วยสิ่งใดบ้าง
ความสำคัญของการประเมินการศึกษา 1.ช่วยชี้ให้เห็นว่าการดำเนินงานเหมาะสมเพียงใด 2.ทำให้ทราบว่าการดำเนินงานบรรลุตามประสงค์หรือไม่ 3.ช่วยกระตุ้นให้มีการเร่งรัด ปรับปรุงและดำเนินงาน
หลักการของการประเมินผลการศึกษา 1.กำหนดสิ่งที่จะประเมินให้ชัดเจนและวัดได้ 2.วางแผนการประเมินให้รัดกุม 3.เกณฑ์ที่ใช้ในการประเมินต้องสัมพันธ์กับสิ่งที่ต้องการวัดและจุดหมายของการประเมิน 4.เลือกใช้เครื่องมือในการประเมินที่มีคุณภาพให้เหมาะกับสิ่งที่จะประเมิน 5.ปราศจากความลำเอียง
การกำหนดสิ่งที่จะประเมินเกี่ยวกับการเรียนการสอน 1.การประเมินก่อนมีการเรียนการสอน 2.การประเมินขณะทำการเรียนการสอน 3.การประเมินผลเมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอน
การประเมินแบบอิงเกณฑ์ เป็นการวัดเพื่อต้องการทราบว่าบุคคลนั้นๆมีความสามารถถึงเกณฑ์ที่กำหนดไว้หรือไม่ การประเมินผลต้องนำคะแนนที่ได้จากผลงานไปเทียบกับเกณฑ์กำหนดไว้ การวัดผลใช้ในการวัดสมรรถภาพเป็นราย บุคคล ถ้านักเรียนทำข้อสอบได้ถูกต้องถึงเกณฑ์ที่กำหนดไว้ถือว่าเรียนรู้ตามจุดมุ่งหมายแล้ว
การประเมินแบบอิงกลุ่ม เป็นการวัดเพื่อเปรียบคะแนนของบุคคลใดบุคคลหนึ่งกับบุคคลอื่น  คือจำแนกคะแนนสุงสุดจนต่ำแล้วจึงนำคะแนนเหล่านั้นมาเทียบเพื่อ ประเมิน ต่อไป   
End

More Related Content

What's hot

บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้Bert Nangngam
 
การวัด.docx
การวัด.docxการวัด.docx
การวัด.docxssuserdad9e8
 
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผล
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผลมโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผล
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผลNU
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1onnichabee
 
แก้ไขใหม่
แก้ไขใหม่แก้ไขใหม่
แก้ไขใหม่onnichabee
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Nat Thida
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Nat Thida
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Nat Thida
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Nat Thida
 
การวัดและประเมินผล
การวัดและประเมินผลการวัดและประเมินผล
การวัดและประเมินผลNavie Bts
 

What's hot (11)

บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 
การวัด.docx
การวัด.docxการวัด.docx
การวัด.docx
 
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผล
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผลมโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผล
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผล
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
แก้ไขใหม่
แก้ไขใหม่แก้ไขใหม่
แก้ไขใหม่
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 
การวัดและประเมินผล
การวัดและประเมินผลการวัดและประเมินผล
การวัดและประเมินผล
 

Similar to บทที่ 8 การวัดประเมินผลการเรียนรู้

บทที่ 8 การวัดเเละการประเมินผลการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดเเละการประเมินผลการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดเเละการประเมินผลการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดเเละการประเมินผลการเรียนรู้nan1799
 
บทที่ 8 การวัดเเละการประเมินผลการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดเเละการประเมินผลการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดเเละการประเมินผลการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดเเละการประเมินผลการเรียนรู้nan1799
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Nat Thida
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Nat Thida
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลmaymymay
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลmaymymay
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลmaymymay
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลSarawut Tikummul
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลSarawut Tikummul
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลwisnun
 
ฟ้า1
ฟ้า1ฟ้า1
ฟ้า1fa_o
 
สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8Tsheej Thoj
 

Similar to บทที่ 8 การวัดประเมินผลการเรียนรู้ (19)

บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่ 8 การวัดเเละการประเมินผลการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดเเละการประเมินผลการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดเเละการประเมินผลการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดเเละการประเมินผลการเรียนรู้
 
บทที่ 8 การวัดเเละการประเมินผลการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดเเละการประเมินผลการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดเเละการประเมินผลการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดเเละการประเมินผลการเรียนรู้
 
บทที่๘
บทที่๘บทที่๘
บทที่๘
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผล
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผล
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผล
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผล
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผล
 
งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8
 
งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8
 
งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผล
 
ฟ้า1
ฟ้า1ฟ้า1
ฟ้า1
 
สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 

บทที่ 8 การวัดประเมินผลการเรียนรู้