SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
Download to read offline
พฤติกรรมการใชโทรศัพทมือถือของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา
ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดพะเยา (BEHAVIOR OF MOBILE
PHONE USERS OF HIGH SCHOOL STUDENTSIN
MUANG DISTRICT, PHAYAO )
รายวิชาการสื่อสารและการนําเสนอ IS2 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5
เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล
ปการศึกษา 2559 โรงเรียนพะเยาพิทยาคม
ความเปนมาและความสําคัญของปญหา
มือถือกลายเปนอีกปจจัยหนึ่งของวัยรุน เพราะมือถือก็มีขอดีอยูไมนอย เปนทั้ง
เครื่องมือสื่อสารที่ยนทั้งระยะทางและระยะเวลาระหวางกัน เทคโนโลยีการสื่อสารผานมือ
ถือนั้นสรางความสะดวกสบายใหกับวัยรุนไดอยางมาก บางครั้งที่มีอุบัติเหตุ หรือ
ตองการความชวยเหลือดวนมือถือก็จะมีประโยชนมากในชวงเวลานั้น หรือบางทีมือถือยัง
ทําหนาที่สราง และกระชับความสัมพันธของคนในสังคม ไมวาจะเปนญาติพี่นอง หรือ
กลุมเพื่อน ถึงแมจะอยูหางไกลกันมากแตก็เชื่อมความสัมพันธกันไดดวยมือถือ ยิ่ง
ปจจุบันนี้มือถือมีเทคโนโลยีกาวหนากวาเดิมมาก ซึ่งนอกจากจะดูหนังฟงเพลงแลวยัง
สามารถใชอินเทอรเน็ต และยังสามารถเลนไดเกือบทุกที่ทุกเวลา ยิ่งทําใหการ
ติดตอสื่อสารงายขึ้นอีก อยางไรก็ตามการใชโทรศัพทมือถือใหเกิดประโยชนสูงสุดนั้น
ตองคํานึงถึงความจําเปน ใชแตพอเพียงเทานั้นเพื่อไมใหตกเปนทาสของมือถือ
พฤติกรรมดานลบจากสํานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาติ(สวช.)
กระทรวงวัฒนธรรม (วธ.) พบวา ปจจุบันโทรศัพทมือถือ กําลังจะกลายเปนสวนหนึ่ง
ของคนยุคโลกาภิวัฒนที่จะขาดไมได จนกลายเปนอวัยวะสวนที่ 33 สังคมมีความ
หนาแนนของสังคมมากขึ้นการสื่อสารจึงมีบทบาทเขามาในชีวิตประจําวันมากขึ้น และ
เทคโนโลยีโทรศัพทมือถือในยุคนี้ ไดทําใหมือถือสื่อสารไดนอกเหนือจากการสนทนา
แตจะมีการแชท หรือการพูดคุยผานการพิมพและสงเปนขอความไดทันใจ และสนทนา
กันไดอยางรวดเร็ว และยังเปนหนทางที่งายตอการทําธุรกิจ การศึกษา และอีกมากมาย
หลายอยาง หรือ จะเปนความบันเทิง มือถือปจจุบันนี้ ฟงเพลงก็ได ถายภาพ ถาย
วีดีโอ เลนวีดีโอก็ได เพื่อตอบสนองความตองการของมนุษย ในยุคที่ตองการความ
รวดเร็วอยางยุคสมัยสุดไฮเทคนี้
จากสภาพปญหาที่กลาวมาขางตนกลุมของขาพเจาสนใจศึกษาพฤติกรรมการใช
โทรศัพทมือถือของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในเขตอําเภอเมือง จังหวัดพะเยาโดยสํารวจ
กลุมตัวอยางจํานวน 50 คน
วัตถุประสงคของการศึกษา
• เพื่อศึกษาหาพฤติกรรมการใชโทรศัพทมือถือของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในเขต
อําเภอเมือง จังหวัดพะเยา
• เพื่อนําขอมูลที่ไดไปเปรียบเทียบพฤติกรรมการใชโทรศัพทมือถือระหวางนักเรียนชาย
และนักเรียนหญิง
สมมุติฐาน
• พฤติกรรมการใชโทรศัพทมือถือของนักเรียนระดับมัธยมศึกษามีความแตกตางกันในแต
ละคน
• พฤติกรรมการใชโทรศัพทมือถือของนักเรียนชายใชเวลานานกวานักเรียนหญิง
ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ
• ไดทราบเกี่ยวกับพฤติกรรมการใชโทรศัพทมือถือของนักเรียนแตละคนในแตละวัน
• ไดทราบถึงความแตกตางพฤติกรรมการใชโทรศัพทมือถือระวางนักเรียนชายและหญิง
ขอบเขตของการศึกษา
ขอบเขตของเนื้อหา
การศึกษาเกี่ยวกับผลกระทบของพฤติกรรมการใชโทรศัพทมือถือของนักเรียน
ระดับมัธยมศึกษาในเรื่องตางๆไดแก การเรียน การแบงเวลา ความรับผิดชอบ
ความมีวินัยในตนเอง
ประชากรและกลุมตัวอยาง
ประชากรที่ใชในการศึกษาควาในเรื่องนี้ ไดแกกลุมตัวอยางนักเรียนระดับ
มัธยมศึกษาในเขตอําเภอเมือง จังหวัดพะเยา ปการศึกษา 2559 จํานวน 50 คน เปน
ชาย 25 คน หญิง 25 คน
ตัวแปรที่ใชในการศึกษา
ตัวแประอิสระไดแก สถานภาพของนักเรียนจําแนกเปน
เพศ แบงเปน
- ชาย
- หญิง
ระดับชั้น แบงเปน
- ม.1
- ม.2
- ม.3
- ม.4
- ม.5
- ม.6
ตัวแปรตาม ไดแก พฤติกรรมการใชโทรศัพทมือถือของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาใน
เขตอําเภอเมือง จังหวัดพะเยา
นิยามศัพทเฉพาะ
• พฤติกรรม หมายถึง การกระทํา การแสดงออกหรือ การตอบสนองตอสิ่งใดสิ่ง
หนึ่งที่สามารถวัดได ไมวาจะเปนการแสดงหรือการตอบสนองนั้นจะเกิดขึ้นภายใน
หรือนอกรางกาย
• นักเรียน หมายถึง นักเรียนในระดับมัธยมศึกษาในเขตอําเภอเมือง จังหวัดพะเยา
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 36 ปการศึกษา 2559
วิธีดําเนินการศึกษา
ในการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาหาพฤติกรรมการใชโทรศัพทมือถือของนักเรียน
ระดับมัธยมศึกษาในเขตอําเภอเมือง จังหวัดพะเยา ซึ่งมีแนวทางในการดําเนินการดังนี้
• ประชากรและกลุมตัวอยาง
ประชากรที่ใชในการศึกษาควาในเรื่องนี้ ไดแกกลุมตัวอยางนักเรียนระดับ
มัธยมศึกษาในเขตอําเภอเมือง จังหวัดพะเยา ปการศึกษา 2559 จํานวน 50 คน เปน
ชาย 25 คน หญิง 25 คน โดยการใหกลุมตัวอยางตอบแบบสอบถาม ที่เปน
เครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูล ซึ่งคณะผูทําการศึกษาไดจัดทําไวแลว
• เครื่องมือที่ใชในการศึกษา
แบงออกเปน 4 ตอนดังนี้
ตอนที่ 1 เปนแบบสอบถามขอมูลเกี่ยวกับสถานภาพและขอมูลเกี่ยวกับขอมูลทั่วไป
ของผูตอบแบบสอบถาม ซึ่งเปนแบบสํารวจรายการ (Check-list)
ตอนที่ 2 เปนแบบสอบถามขอมูลเกี่ยวกับขอมูลพื้นฐานเกี่ยวกับการใช
โทรศัพทมือถือ ซึ่งเปนแบบสํารวจรายการ (Check-list)
ตอนที่ 3 เปนแบบสอบถามขอมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการใชโทรศัพทมือถือ ซึ่ง
เปนแบบมาตราสวนประมาณคา (Ratting scale) โดยมีเกณฑ 5 ระดับของลิเคอรท
(Likert Scale) ดังนี้ บอยมาก บางครั้ง นอย นอยมาก ไมเคย จํานวน 20 ขอ
ตอนที่ 4 เปนแบบสอบถามแบบปลายเปด (Open-ended question) เกี่ยวกับ
ปญหาและขอเสนอแนะแนวทางการแกไขพฤติกรรมการใชโทรศัพทมือถือ
• การสรางเครื่องมือที่ใชในการวิจัย
1. ศึกษาคนควาเอกสาร บทความและของงานวิจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับพฤติกรรม
การใชโทรศัพทมือถือ เพื่อการตั้งคําถาม ในการศึกษาคนควา
2. ศึกษาความหมาย ทฤษฎี หลักการแนวคิด องคประกอบเพื่อทําเปนนิยามเชิง
เพื่อเปนแนวทางในการสรางแบบสอบถาม จํานวน 20 ขอ
3. นํารางแบบสอบถาม เพื่อตรวจสอบความสมบูรณของ เนื้อหา ภาษาที่ใชใน
คําถามของแบบสอบถามเสนอตอครูที่ปรึกษา และนําขอเสนอแนะมาปรับปรุงแกไข
4. นําแบบสอบถามที่ผานการแกไขปรับปรุงครั้งสุดทายเปนที่เรียบรอยแลวไป
จัดเก็บขอมูลในพื้นที่ปฏิบัติการจริงเพื่อเก็บขอมูลกลุมตัวอยาง จํานวน 50 คน
• การเก็บรวบรวมขอมูล
การดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูล โดยวิธีการและขั้นตอน ในการดําเนินงาน
ดังนี้
1. จัดสงแบบสอบถามดวยตนเองใหกับนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาโดย
อธิบายขั้นตอนการประเมินและขอคําถามกับผูตอบแบบสอบถาม
2. ประเมินแบบสอบถามดวยตนเองโดยใชโปรแกรมคอมพิวเตอรประเมินผล
3. จัดเก็บแบบสอบถามเพื่อนํามาตรวจสอบความถูกตอง
• การวิเคราะหขอมูล
1. รับแบบสอบถามกลับคืน และตรวจสอบความถูกตองของแบบสอบถามมีความ
สมบูรณ จํานวน 50 ชุด คิดเปนรอยละ 100
2. นําแบบสอบถาม มาตรวจใหคะแนนเปนขอตามเกณฑของ บุญชม ศรีสะอาด
(2542:204) และแปลความหมาย
3. นําคะแนนที่ไดมาหาคาทางสถิติดวยเครื่องคอมพิวเตอร ผูศึกษาไดดําเนินการ
วิเคราะหขอมูลดังนี้
3.1 วิเคราะหสถานภาพของผูที่ตอบแบบสอบถาม ตามเพศ โดยใชคารอยละ
3.2 วิเคราะหขอมูลใน ตอนที่ 2 โดยใชคาเฉลี่ย,คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน
3.3 นําผลที่ไดจากการวิเคราะหทางสถิติมาแปลผล
• สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล
แบบสอบถามขอมูลเกี่ยวกับสถานภาพของผูตอบแบบสอบถามวิเคราะหดวยสถิติ
พื้นฐานดังนี้
1. คาสถิติรอยละ (Percentage)
2. คาเฉลี่ย (Mean)
3. คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
4. คาความถี่ (Frequency)
สรุปผลการวิจัย
ดานเพศ พบวาเพศหญิงมากที่สุด จํานวน 28 คน คิดเปนรอยละ 56 และ
เพศชายจํานวน 22 คน คิดเปนรอยละ 44 ตามลําดับ
ดานกลุมอายุ พบวากลุมอายุ16 -18 ป มากที่สุด มีจํานวน 22 คนคิดเปน
รอยละ 44 รองลงมา กลุมอายุ14-15 ป จํานวน 18 คน คิดเปนรอยละ 36 กลุม
อายุ 12-13 ป จํานวน 9 คน คิดเปนรอยละ 10 และกลุมอายุมากกวา18 ป นอย
ที่สุด จํานวน 1 คน คิดเปนรอยละ 2 ตามลําดับ
ดานการศึกษา พบวาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มีจํานวนมากที่สุด คือ มี
จํานวน 34 คนเทากัน คิดเปนรอยละ 68 รองลงมา และนอยที่สุด คือ ระดับ
มัธยมศึกษาตอนตน มีจํานวน 16 คน คิดเปนรอยละ 32 ตามลําดับ
จากแบบสอบถามพบวามีผูใชโทรศัพทมือถือมากที่สุดในตอนกลางคืน
รองลงมา ตอนเย็น/หลังเลิกเรียน, ชวงพักกลางวัน, ในชวงเชา และนอย
ที่สุดคือในเวลาเรียน ตามลําดับ
มีผูที่ใชโทรศัพทมือถือนาน 3 - 5 ชั่วโมงตอวัน มากที่สุด
รองลงมา คือมากกวา 5 ชั่วโมงตอวัน, มากกวา 1 - 3 ชั่วโมงตอวัน
และนอยที่สุด คือนอยกวา 1 ชั่วโมงตอวัน ตามลําดับ
มีผูที่ใชระบบโทรศัพทมือถือแบบเติมเงิน จํานวน37 คน คิดเปนรอยละ
74 และรายเดือน จํานวน 13 คน คิดเปนรอยละ 26 ตามลําดับ
มีคาใชจายเฉลี่ยในการใชโทรศัพทมือถือ มีผูใชจายนอยกวา 200 บาทตอ
เดือน มากที่สุด รองลงมา 200 – 500 บาทตอเดือน คาใชจาย 500 – 800
บาทตอเดือน และมากกวา 800 บาทตอเดือน มากที่สุด ตามลําดับ
ระดับพฤติกรรมการใชโทรศัพทมือถือ เมื่อจําแนกตามเพศ พบวา เพศหญิง มี
ระดับพฤติกรรมการใชโทรศัพทมือถือมากวาเพศชาย
ระดับพฤติกรรมการใชโทรศัพทมือถือ เมื่อจําแนกตามระดับชั้น พบวา
ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตน มีระดับพฤติกรรมการใชโทรศัพทมือถือ มากวาระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลาย
ดานรวมของนักเรียนพบวา เมื่อพิจารณาราย 3 ลําดับจากมากที่สุดไปหานอย
ที่สุดพบวา ขอที่มีคาเฉลี่ยสูงที่สุดคือการใชโทรศัพทมือถือเพื่อเลน Social network
รองลงมาการใชโทรศัพทมือถือในการคนควาหาขอมูล และดานที่นอยที่สุดคือการใช
โทรศัพทมือถือเพื่อฟงเพลง หรือโหลดเพลง ตามลําดับ
สวนใหญผูที่ตอบแบบสอบถามจะใชโทรศัพทมือถือการเลน Social network
เพื่อความสนุกสนานมากกวาที่จะนําไปทําใหเกิดประโยชนที่แทจริง
ภาคผนวก
การแจกแบบสอบถาม
ตัวอยางแบบสอบถาม
ผูจัดทํา
นาย ณัฐพงศ บุญปน NO. 6
นางสาว ภัทรพรรณ แกวจิโน NO. 14
นางสาว สุชัญญา ขัดเปง NO. 17
นางสาว ชญานิษฐ ไชยวุฒิ NO. 21
นางสาว ชนาภา ยังมั่ง NO. 22
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5/10

More Related Content

What's hot

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7Meaw Sukee
 
Technology library
Technology libraryTechnology library
Technology libraryKKU Library
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6Meaw Sukee
 
คำอธิบายรายวิชา ม.1
คำอธิบายรายวิชา ม.1คำอธิบายรายวิชา ม.1
คำอธิบายรายวิชา ม.1sariya25
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 p
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 pหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 p
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 pWareerut Suwannalop
 
Abstracts
AbstractsAbstracts
Abstractskruwaeo
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยJanchai Pokmoonphon
 
Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5kruwaeo
 
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1Hathaichon Nonruongrit
 
06490318 M Learning (Mobile Learning)
06490318 M Learning (Mobile Learning)06490318 M Learning (Mobile Learning)
06490318 M Learning (Mobile Learning)pterophyta
 
ปัจจัยการเกิดไวรัสคอมพิวเตอร์
ปัจจัยการเกิดไวรัสคอมพิวเตอร์ปัจจัยการเกิดไวรัสคอมพิวเตอร์
ปัจจัยการเกิดไวรัสคอมพิวเตอร์Chock So
 

What's hot (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12
 
Technology library
Technology libraryTechnology library
Technology library
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
 
คำอธิบายรายวิชา ม.1
คำอธิบายรายวิชา ม.1คำอธิบายรายวิชา ม.1
คำอธิบายรายวิชา ม.1
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
โครงการสอน 1.56
โครงการสอน 1.56โครงการสอน 1.56
โครงการสอน 1.56
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 p
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 pหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 p
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 p
 
3
33
3
 
I smyresearch
I smyresearchI smyresearch
I smyresearch
 
Abstracts
AbstractsAbstracts
Abstracts
 
Chapter4
Chapter4Chapter4
Chapter4
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
 
Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5
 
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
 
06490318 M Learning (Mobile Learning)
06490318 M Learning (Mobile Learning)06490318 M Learning (Mobile Learning)
06490318 M Learning (Mobile Learning)
 
ปัจจัยการเกิดไวรัสคอมพิวเตอร์
ปัจจัยการเกิดไวรัสคอมพิวเตอร์ปัจจัยการเกิดไวรัสคอมพิวเตอร์
ปัจจัยการเกิดไวรัสคอมพิวเตอร์
 

Viewers also liked

Lmcp1532 pembangunan bandar mapan penswastaan
Lmcp1532 pembangunan bandar mapan penswastaanLmcp1532 pembangunan bandar mapan penswastaan
Lmcp1532 pembangunan bandar mapan penswastaanHADZIRAH KURSIAH
 
Tugasan 3 penswastaan a155649 muhammad hazim bin shamsul zamri
Tugasan 3 penswastaan a155649 muhammad hazim bin shamsul zamriTugasan 3 penswastaan a155649 muhammad hazim bin shamsul zamri
Tugasan 3 penswastaan a155649 muhammad hazim bin shamsul zamriMuhammad Hazim Shamsul Zamri
 
Brittnylomax assignment 3
Brittnylomax assignment 3Brittnylomax assignment 3
Brittnylomax assignment 3brlomax
 
Tugasan 4
Tugasan 4Tugasan 4
Tugasan 4amirdn
 
Python学習奮闘記#07 webapp
Python学習奮闘記#07 webappPython学習奮闘記#07 webapp
Python学習奮闘記#07 webappTakeshi Akutsu
 
リクルートグループの現場事例から見る AI/ディープラーニング ビジネス活用の勘所
リクルートグループの現場事例から見る AI/ディープラーニング ビジネス活用の勘所リクルートグループの現場事例から見る AI/ディープラーニング ビジネス活用の勘所
リクルートグループの現場事例から見る AI/ディープラーニング ビジネス活用の勘所Recruit Technologies
 
Introdução aos estudos históricos
Introdução aos estudos históricosIntrodução aos estudos históricos
Introdução aos estudos históricosdayvid
 
Tugasan 4 amalan terbaik dala pembangun bandar mapan a155649 muhammad hazim b...
Tugasan 4 amalan terbaik dala pembangun bandar mapan a155649 muhammad hazim b...Tugasan 4 amalan terbaik dala pembangun bandar mapan a155649 muhammad hazim b...
Tugasan 4 amalan terbaik dala pembangun bandar mapan a155649 muhammad hazim b...Muhammad Hazim Shamsul Zamri
 

Viewers also liked (13)

Dudeney khanif
Dudeney khanifDudeney khanif
Dudeney khanif
 
Jonathan swift
Jonathan swiftJonathan swift
Jonathan swift
 
Lmcp1532 pembangunan bandar mapan penswastaan
Lmcp1532 pembangunan bandar mapan penswastaanLmcp1532 pembangunan bandar mapan penswastaan
Lmcp1532 pembangunan bandar mapan penswastaan
 
Tugasan 3 penswastaan a155649 muhammad hazim bin shamsul zamri
Tugasan 3 penswastaan a155649 muhammad hazim bin shamsul zamriTugasan 3 penswastaan a155649 muhammad hazim bin shamsul zamri
Tugasan 3 penswastaan a155649 muhammad hazim bin shamsul zamri
 
Brittnylomax assignment 3
Brittnylomax assignment 3Brittnylomax assignment 3
Brittnylomax assignment 3
 
Scribd y issuu
Scribd y issuuScribd y issuu
Scribd y issuu
 
Tugasan 4
Tugasan 4Tugasan 4
Tugasan 4
 
Python学習奮闘記#07 webapp
Python学習奮闘記#07 webappPython学習奮闘記#07 webapp
Python学習奮闘記#07 webapp
 
リクルートグループの現場事例から見る AI/ディープラーニング ビジネス活用の勘所
リクルートグループの現場事例から見る AI/ディープラーニング ビジネス活用の勘所リクルートグループの現場事例から見る AI/ディープラーニング ビジネス活用の勘所
リクルートグループの現場事例から見る AI/ディープラーニング ビジネス活用の勘所
 
Tugasan 4 amalan terbaik
Tugasan 4 amalan terbaikTugasan 4 amalan terbaik
Tugasan 4 amalan terbaik
 
Tugasan 4
Tugasan 4Tugasan 4
Tugasan 4
 
Introdução aos estudos históricos
Introdução aos estudos históricosIntrodução aos estudos históricos
Introdução aos estudos históricos
 
Tugasan 4 amalan terbaik dala pembangun bandar mapan a155649 muhammad hazim b...
Tugasan 4 amalan terbaik dala pembangun bandar mapan a155649 muhammad hazim b...Tugasan 4 amalan terbaik dala pembangun bandar mapan a155649 muhammad hazim b...
Tugasan 4 amalan terbaik dala pembangun bandar mapan a155649 muhammad hazim b...
 

Similar to BEHAVIOR OF MOBILE PHONE USERS OF HIGH SCHOOL STUDENTSIN MUANG DISTRICT, PHAYAO

รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่ายรายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่ายJiraporn Chaimongkol
 
วิชาการงานอาชีพมัธยมศึกษาปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห...
วิชาการงานอาชีพมัธยมศึกษาปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห...วิชาการงานอาชีพมัธยมศึกษาปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห...
วิชาการงานอาชีพมัธยมศึกษาปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห...Kruthai Kidsdee
 
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...Nakhon Phanom University
 
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...Nakhon Phanom University
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5kruwaeo
 
3บทคัดย่อวิจัยเครื่องมือวัดภาคปฏิบัติ
3บทคัดย่อวิจัยเครื่องมือวัดภาคปฏิบัติ3บทคัดย่อวิจัยเครื่องมือวัดภาคปฏิบัติ
3บทคัดย่อวิจัยเครื่องมือวัดภาคปฏิบัติJeeraJaree Srithai
 
สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02Wes Yod
 
สังคมก้มหน้า บท-1
สังคมก้มหน้า บท-1สังคมก้มหน้า บท-1
สังคมก้มหน้า บท-1kessara61977
 
โครงงานสำรวจ
โครงงานสำรวจโครงงานสำรวจ
โครงงานสำรวจkessara61977
 
คำอธาบยรายวิชาคอมพิวเตอร์เพิ่มเติม ม5
คำอธาบยรายวิชาคอมพิวเตอร์เพิ่มเติม ม5คำอธาบยรายวิชาคอมพิวเตอร์เพิ่มเติม ม5
คำอธาบยรายวิชาคอมพิวเตอร์เพิ่มเติม ม5นนท์ จรุงศิรวัฒน์
 
2015รายงานปฏิบัติงาน255738หน้า
2015รายงานปฏิบัติงาน255738หน้า2015รายงานปฏิบัติงาน255738หน้า
2015รายงานปฏิบัติงาน255738หน้าKruthai Kidsdee
 
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์ไชยยา มะณี
 

Similar to BEHAVIOR OF MOBILE PHONE USERS OF HIGH SCHOOL STUDENTSIN MUANG DISTRICT, PHAYAO (20)

บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
7บทที่3
7บทที่3 7บทที่3
7บทที่3
 
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัยมคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
 
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่ายรายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
 
วิชาการงานอาชีพมัธยมศึกษาปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห...
วิชาการงานอาชีพมัธยมศึกษาปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห...วิชาการงานอาชีพมัธยมศึกษาปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห...
วิชาการงานอาชีพมัธยมศึกษาปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห...
 
1
11
1
 
1
11
1
 
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
 
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
 
Research 2005 29
Research 2005 29Research 2005 29
Research 2005 29
 
2015รายงานปฏิบัติงาน255738หน้า
2015รายงานปฏิบัติงาน255738หน้า2015รายงานปฏิบัติงาน255738หน้า
2015รายงานปฏิบัติงาน255738หน้า
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
3บทคัดย่อวิจัยเครื่องมือวัดภาคปฏิบัติ
3บทคัดย่อวิจัยเครื่องมือวัดภาคปฏิบัติ3บทคัดย่อวิจัยเครื่องมือวัดภาคปฏิบัติ
3บทคัดย่อวิจัยเครื่องมือวัดภาคปฏิบัติ
 
สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02
 
สังคมก้มหน้า บท-1
สังคมก้มหน้า บท-1สังคมก้มหน้า บท-1
สังคมก้มหน้า บท-1
 
โครงงานสำรวจ
โครงงานสำรวจโครงงานสำรวจ
โครงงานสำรวจ
 
คำอธาบยรายวิชาคอมพิวเตอร์เพิ่มเติม ม5
คำอธาบยรายวิชาคอมพิวเตอร์เพิ่มเติม ม5คำอธาบยรายวิชาคอมพิวเตอร์เพิ่มเติม ม5
คำอธาบยรายวิชาคอมพิวเตอร์เพิ่มเติม ม5
 
2015รายงานปฏิบัติงาน255738หน้า
2015รายงานปฏิบัติงาน255738หน้า2015รายงานปฏิบัติงาน255738หน้า
2015รายงานปฏิบัติงาน255738หน้า
 
2015รายงานปฏิบัติงาน255738หน้า
2015รายงานปฏิบัติงาน255738หน้า2015รายงานปฏิบัติงาน255738หน้า
2015รายงานปฏิบัติงาน255738หน้า
 
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
 

BEHAVIOR OF MOBILE PHONE USERS OF HIGH SCHOOL STUDENTSIN MUANG DISTRICT, PHAYAO