SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
Download to read offline
การศึกษาผลกระทบการใช้ เทคโนโลยีโทรศัพท์ สื่อสารของนักเรียน
      ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้ นและนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
                      โรงเรียนพะเยาพิทยาคม

                           ชู เกียรติ คาวงค์ ษา
                            จักรภัทร คาตั๋น
                           สมกมล เรือนมูล



                     นักเรียนชันมัธยมศึกษาปี ที่ 5/7



การศึกษาค้ นคว้ าอิสระนี้ เป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษารายวิชาการสื่ อสารและ
   การนาเสนอ (Communication and Presentation) รหัสวิชา ว32286
 ตามหลักสู ตรโรงเรียนมาตรฐานสากล (World-Class Standard School)
                      ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2555
                           โรงเรียนพะเยาพิทยาคม
การศึกษาผลกระทบการใช้ เทคโนโลยีโทรศัพท์ สื่อสารของนักเรียน

 ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้ นและนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย

                   โรงเรียนพะเยาพิทยาคม




                     ชู เกียรติ คาวงค์ ษา

                      จักรภัทร คาตั๋น

                      สมกมล เรือนมูล




    นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5/7 โรงเรียนพะเยาพิทยาคม

                      ปี การศึกษา 2555
ชื่อโครงงาน :      การศึกษาผลกระทบการใช้ เทคโนโลยีทรศัพท์สื่อสารของ

              นักเรี ยนชันมัธยมศึกษาตอนต้ นและนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรี ยน
                         ้                               ้
              พะเยาพิทยาคม

 ผู้จัดทา     :    ชูเกียรติ คาวงษา

                   จักรภัทร คาตัน
                                ๋

                   สมกมล เรื อนมูล

โรงเรี ยน     :      พะเยาพิทยาคม อาเภอเมือง จังหวัดพะเยา

ครู ท่ ปรึกษา :
       ี             ครู ยิ่งศักดิ์   กระจ่างแจ้ ง




                                         บทคัดย่ อ

       การศึกษาค้ นคว้ าด้ วยตนเองฉบับนี ้ มีจดมุ่งหมายเพื่อศึกษาการศึกษาผลกระทบการใช้
                                              ุ
เทคโนโลยีโทรศัพท์สื่อสารของนักเรี ยนโรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม เครื่ องมือที่ใช้ ในการศึกษา
เครื่ องมือที่ใช้ ในการวิจยในครังนี ้คือ แบบทดสอบ (Questionnaire) โดยสอบถามจากนักเรี ยนชัน
                          ั     ้                                                        ้
มัธยมศึกษา ตอนต้ น ถึง ชันมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม ประชากรที่ใช้ ใน
                         ้
การวิจยครังนี ้คือนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาตอนต้ น และชันมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรี ยนพะเยา
      ั ้                    ้                       ้
พิทยาคมโดยพื ้นที่ทาการวิจย บริ เวณภายใน โรงอาหาร โรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม นักเรี ยนชัน
                          ั                                                        ้
มัธยมศึกษา ปี ที่ 1 ถึง ชันมัธยมศึกษาปี ที่ 5 มีจานวนทังหมด 60 คน
                          ้                            ้

       กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ใจการศึกษาครังนี ้ ได้ แก่ นักเรี ยนโรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม ระดับชัน
                                        ้                                                   ้
มัธยมศึกษาตอนต้ น 30 คน และ ระดับชันมัธยมศึกษาตอนปลาย 30 คน
                                   ้
กิตติกรรมประกาศ

       การศึกษาผลกระทบการใช้เ ทคโนโลยีโ ทรศัพท์สื่ อสารของนักเรี ยนชั้นมัธ ยมศึ กษา
ตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม จังหวัดพะเยา การศึกษาครั้งนี้
สาเร็ จลงได้ดวยความกรุ ณาของคุณครู ยิงศักดิ์ กระจ่างแจ้ง ที่ได้กรุ ณาตรวจบทคัดย่อ และให้
             ้                       ่
ข้อคิดที่เป็ นประโยชน์ในการปรับปรุ งแก้ไข

       สุ ดท้าย ขอขอบพระคุณ นักเรี ยนโรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม ในครั้งนี้ ตลอดจนเพื่อนๆ ที่
ไม่ได้ระบุนานในที่น้ ีทุกท่านที่ให้การสนับสนุ น และเป็ นกาลังใจอย่างดีตลอดมา จนการศึกษา
ค้นคว้าด้วยตนเองฉบับนี้สาเร็จลุล่วงด้วยดี




                                                                       ชูเกียรติ ตาวงษา

                                                                   จักรภัทร คาตัน
                                                                                ๋

                                                                       สมกมล เรื อนมูล
สารบัญ

                                                  หน้า

บทคัดย่อ                                          ก

กิตติกรรมประกาศ                                   ข

สารบัญ                                            ค

บทที่ 1 บทนา                                      1

   ความเป็ นมาและความสาคัญ                        2

   วัตถุประสงค์ของการศึกษา                        3

   ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ                      3

   สมมติฐานของการศึกษา                            3

   ขอบเขตการศึกษา                                 4

   นิยามศัพท์ที่เกี่ยวข้อง                        6

บทที่ 2 เอกสารและงารศึกษาที่เกี่ยวข้อง            7

บทที่ 3 วิธีดาเนินการศึกษา                        12

   ประชากรตัวอย่าง                                12

   เครื่ องมือที่ใช้ในการศึกษา                    13

   การเก็บรวบรวมข้อมูล                            14

   สถิติที่ใช้ในการศึกษา                          15
การวิเคราะห์ขอมูล
                ้                                                16

 บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ขอมูล
                        ้                                        17

   ส่ วนที่ 1 การวิเคราะห์ขอมูลทัวไป
                           ้     ่                               17

   ส่ วนที่ 2 ข้อมูลพฤติกรรมการสื่ อสารผ่านเทคโนโลยีโทรศัพท์     18

   ส่ วนที่ 3 ข้อมูลผลกระทบจากการสื่ อสารผ่านเทคโนโลยีโทรศัพท์   19

บทที่ 5 สรุ ป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ                             20

บรรณานุกรม                                                       21

ภาคผนวก                                                          22

  ตัวอย่างแบบสอบถาม                                              23
บทที่ 1

                                            บทนา


ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา

      เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทต่อชีวตประจาวันของมนุษย์ โดยสังคมเปลี่ยนแปลงไปตาม
                                        ิ
วิวฒนาการของโลก ทาให้การติดต่อสื่ อสารของมนุษย์มีความเจริ ญก้าวหน้าไปอย่างไม่หยุดยั้ง
   ั
การติดต่อสื่ อสารมิใช่หยุดอยูเ่ พียงการส่ งจดหมาย โทรเลข หรื อโทรศัพท์ เหมือนในอดีต แต่ได้
มีการพัฒนาระบบการติดต่อสื่ องานแบบใหม่เข้ามาใช้งานแทนที่ระบบเดิม ทันสมัยและรวดเร็ว
ในหารทาธุรกรรมต่าง ๆ

       โทรศัพ ท์สื่ อ สาร คื อ อุ ป กรณ์ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ที่ ใ ช้ใ นการสื่ อ สารสองทางผ่ า น
โทรศัพท์มือถือใช้คลื่นวิทยุในการติดต่อกับเครื อข่ายโทรศัพท์มือถือโดยผ่านสถานี ฐาน โดย
เครื อข่ายของโทรศัพท์มือถือแต่ละผูให้บริ การจะเชื่ อมต่อกับเครื อข่ายของโทรศัพท์บานและ
                                     ้                                                   ้
เครื อข่ายโทรศัพท์มือถือของผูให้บริ การอื่น โทรศัพท์มือถือที่มีความสามารถเพิ่มขึ้นในลักษณะ
                              ้
คอมพิวเตอร์พกพาจะถูกกล่าวถึงในชื่อสมาร์ตโฟน

       โทรศัพท์เคลื่อนที่ เครื่ องแรกถูกผลิ ตและออกแสดงในปี พ.ศ. 2516 โดย มาร์ ติน คู
เปอร์ (Martin Cooper) นักประดิษฐ์จากบริ ษทโมโตโรลา เป็ นโทรศัพท์เคลื่อนที่ขนาดใหญ่ท่ีมี
                                              ั
น้ าหนักประมาณ 1.1 กิโลกรัมปั จจุบนจานวนผูใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่ทวโลก เพิ่มขึ้นจากปี
                                       ั        ้                    ั่
พ.ศ. 2543 ที่มีจานวน 12.4 ล้านคน มาเป็ น 4,600 ล้านคน

           ในปั จจุบนชุ มสายโทรศัพท์ท่ีติดตั้งใหม่ ๆ จะเป็ นระบบ SPC ทั้งหมด ระบบอื่น ๆ
                    ั
                                                                 ั
เลิกผลิตแล้ว ประเทศไทยเรากาลังเร่ งติดตั้งโทรศัพท์เพื่อให้พอใช้กบประชาชน ดังจะเห็นจาก
โครงการ 3 ล้านเลขหมายในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติฉบับที่ 7 และโครงการอื่น
ๆ ต่อไป รวมทั้งวิทยุโทรศัพท์อีกด้วย เพื่อเสริ มให้ระบบสื่ อสารในประเทศไทยมีประสิ ทธิ ภาพ
เอื้ออานวยต่อการพัฒนาประเทศให้เจริ ญรุ่ งเรื องต่อไป
วิวฒนาการโทรศัพท์ มอถือ มีการพัฒนามาเรื่อยๆ สั งเกตได้ จาก
         ั               ื

      • รู ปร่ างขนาดใหญ่ เป็ น รู ปร่ างขนาดเล็ก

      • ภาพหน้าจอขาว – ดา เป็ น ภาพหน้าจอ สี

      • ใช้สาหรับพูดคุยระหว่าง คน 2 คน เป็ น ประชุมสาย ตั้งแต่ 3 สายขึ้นไปได้

      • ใช้ฟังเพลงได้ – ใช้ดูหนังได้ MP3

      • เป็ นกล้องถ่ายรู ป – เป็ นกล้องวีดีโอได้ อัดเสี ยงสนทนาได้

      • ใช้เป็ นเครื่ องคิดเลข เป็ น ออร์แกไนเซอร์ จดบันทึกข้อมูล

      • และอีกหลายๆ คุณสมบัติของโทรศัพท์มือถือ ฯลฯ

ปัจจุบน โทรศัพท์มือถือ ได้พฒนาการมามาก จะเห็นได้จากคุณสมบัติ อาทิเช่น
      ั                    ั

      • สามารถใช้งานได้ท้ งโทรศัพท์และออร์แกไนเซอร์
                          ั

      • สามารถใช้งานได้ยาวนานโดยไม่ตองชาร์ทไฟ
                                    ้

      • สามารถบันทึกข้อมูลต่างๆ ได้ดวยหน่วยความจามากมายหากไม่พอซื้อเพิ่มได้
                                    ้

      • รองรับระบบการใช้งานแบบ wireless Modem และ Business E-mail สามารถถ่ายโอน
ข้อมูลได้โดยใช้ Bluetooth หรื อ USB



       ดัง นั้น จะเห็ น ได้ว่า โทรศัพ ท์เ คลื่ อ นที่ เ ข้า มามี บทบาทในชี วิต ประจ าวัน ของนัก เรี ยน
โรงเรี ยนพะเยาพิทยาคมอย่างมาก ผูวิจยจึงสนใจทาการศึกษาข้อมูล การศึกษาผลกระทบการใช้
                                      ้ ั
โทรศัพท์เคลื่อนที่ของนักเรี ยนโรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม กระบวนการสื่ อสาร จึงเป็ นประเด็นที่
น่าสนใจที่จะศึกษา เพื่อกระตุนให้มีการป้ องกันและแก้ไขปัญหาที่ส่งผลทั้งทางตรงและทางอ้อม
                                ้
จะเป็ นประโยชน์ต่อนักเรี ยนโรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม และต่อสังคมโดยรวม
วัตถุประสงค์ ของการศึกษา

     1. เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีโทรศัพท์เคลื่อนที่ของนักเรี ยนโรงเรี ยนพะเยา
พิทยาคม ประจาปี 2555

     2. เพื่อศึกษาผลกระทบการใช้เทคโนโลยีโทรศัพท์เคลื่อนที่ของนักเรี ยนโรงเรี ยนพะเยา
พิทยาคม



ประโยชน์ ทคาดว่ าทีจะได้ รับ
          ี่       ่

     1. ทราบถึงพฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีโทรศัพท์เคลื่อนที่ของนักเรี ยนโรงเรี ยนพะเยา
พิทยาคม

       2. ทราบผลกระทบการใช้เทคโนโลยีโทรศัพท์เคลื่อนที่ของนักเรี ยนโรงเรี ยนพะเยาพิทยา
คมเพื่อนาไปเป็ นหนทางการป้ องกันและแก้ไขที่อาจจะตามมาในอนาคต



สมมุติฐานของการศึกษา

        1 : พฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีโทรศัพท์มือถือไม่มีผลกระทบต่อพฤติกรรมของ
นักเรี ยนโรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม

        2 : พฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีโทรศัพท์มือถือมีผลกระทบต่อพฤติกรรม ของ
นักเรี ยนโรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม
ขอบเขตของการศึกษา

        ในการวิจ ัย ครั้ งนี้ ผูวิ จ ัย ได้ศึ ก ษาผลกระทบการใช้เ ทคโนโลยีโ ทรศัพ ท์มื อ ถื อ ของ
                                ้
นักเรี ยนโรงเรี ยนพะเยาพิทยาคมโดยพื้นที่ทาการวิจย บริ เวณภายในโรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม
                                                         ั
โดยนักเรี ยนโรงเรี ยนพะเยาพิทยาคมมีจานวนทั้งหมด 30 คน

      การศึกษาครั้งนี้อยูใจขอบเขตของเนื้อหา ประชากร กลุ่มตัวอย่าง และตัวแปร ดังนี้
                         ่

        1. ขอบเขตของเนื้อหา

         การศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ มุ่งศึกษาศึกษาผลกระทบการใช้เทคโนโลยีโทรศัพท์มือถือ ของ
นักเรี ยนโรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม

        2. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง

      2.1 ประชากร คือ นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม ซึ่งได้มา
โดยการสุ่ ม รวม 15 คน

        2.2 กลุ่ ม ตัว อย่ า งที่ ใ ช้ใ จการศึ ก ษาครั้ งนี้ ได้แ ก่ นัก เรี ย นชั้น มัธ ยมศึ ก ษาตอนต้น
โรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม ซึ่งได้มาโดยการสุ่ ม รวม 15 คน

        3. ตัวแปรที่จะศึกษาค้นคว้า

        3.1 ตัวแปรต้น ได้แก่

             3.1.1 ระดับชั้นมัธยมศึกษา แบ่งเป็ น

                (1.) ชั้นปี ที่ 1

                (2.) ชั้นปี ที่ 2

                (3.) ชั้นปี ที่ 3

                (4.) ชั้นปี ที่ 4
(5.) ชั้นปี ที่ 5

              (6.) ชั้นปี ที่ 6

              3.1.2 ระดับชั้น แบ่งเป็ น

              (1.) ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น

              (2.) ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย

        3.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ ผลกระทบการใช้เทคโนโลยีโทรศัพท์มือถือ ของนักเรี ยน
โรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม



วิธีดาเนินการศึกษา

         การวิจยครั้งนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาผลกระทบการใช้เทคโนโลยีโทรศัพท์มือถือ ของ
                ั
นักเรี ยนโรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม          โดยจะแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับระเบียบวิธีการศึกษาใน
หัวข้อต่อไปนี้

       - ประชากรตัวอย่าง และการสุ่ มตัวอย่าง

       - การเก็บรวบรวมข้อมูล

       - เครื่ องมือที่ใช้ในการทาวิจย
                                    ั

       - สถิติที่ใช้ในการศึกษา

       - การวิเคราะห์ขอมูล
                      ้
นิยามศัพท์ ทเี่ กียวข้ อง
                  ่

        1. นักเรี ยน หมายถึง ผูเ้ รี ยนในระดับชั้นมัธยมศึกษาโรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม จังหวัด
พะเยา

        2. ระดับชั้น หมายถึง ชั้นปี การศึกษาที่นกเรี ยนโรงเรี ยนพะเยาพิทยาคมศึกษาอยู่
                                                ั

        3. โรงเรี ยน หมายถึง โรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม

        4. การสื่ อสาร หมายถึง การสนทนาระหว่างบุคคลใดบุคคลหนึ่งไปยังอีกบุคคลหนึ่ง

     5. โทรศัพท์เคลื่อนที่ หมายถึง อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ในการสื่ อสารสองทางผ่าน
โทรศัพท์มือถือใช้คลื่นวิทยุในการติดต่อกับเครื อข่ายโทรศัพท์มือถือโดยผ่านสถานีฐาน

        6. พฤติกรรม หมายถึง การกระทาที่เกิดขั้นจากมนุษย์เป็ นผูกระทาหรื อแสดงออก
                                                               ้
บทที่ 2
เอกสารและงานศึกษาทีเ่ กียวข้ อง
                        ่



       ในการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจยที่เกี่ยวข้องกับงานวิจยเรื่ อง ศึกษาผลกระทบการ
                                         ั                    ั
ใช้เทคโนโลยีสื่อสารผ่านคอมพิวเตอร์ของนิสิตมหาวิทยาลัยนเรศวร ผูศึกษาได้ศึกษา เรี ยบเรี ยง
                                                                ้
จากเอกสารและงานวิจยที่เกี่ยวข้อง โดยนาเสนอตามลาดับดังนี้
                     ั

       1. ความหมายและประวัติของเทคโนโลยีโทรศัพท์เคลื่อนที่

       2. ผลกระทบการใช้เทคโนโลยีโทรศัพท์เคลื่อนที่



1. ความหมายและประวัตของเทคโนโลยีโทรศัพท์ เคลือนที่
                    ิ                        ่

        1.1 ความหมายของเทคโนโลยีโทรศัพท์ เคลือนที่
                                             ่

         คืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ในการสื่ อสารสองทางผ่าน โทรศัพท์มือถือใช้คลื่นวิทยุใน
การติดต่อกับเครื อข่ายโทรศัพท์มือถือโดยผ่านสถานีฐาน โดยเครื อข่ายของโทรศัพท์มือถือแต่ละ
ผูใ ห้บ ริ ก ารจะเชื่ อ มต่ อ กับ เครื อ ข่ า ยของโทรศัพ ท์บ้า นและเครื อ ข่ า ยโทรศัพ ท์มื อ ถื อ ของผู ้
  ้
ให้บริ การอื่ น โทรศัพ ท์มือถื อที่ มีค วามสามารถเพิ่ มขึ้ นในลักษณะคอมพิว เตอร์ พกพาจะถู ก
กล่าวถึงในชื่อสมาร์ตโฟน



      โทรศัพ ท์มื อถื อในปั จ จุ บันนอกจากจากความสามารถพื้นฐานของโทรศัพท์แล้ว ยัง มี
คุ ณ สมบั ติ พ้ื น ฐานของโทรศัพ ท์ มื อ ถื อ ที่ เ พิ่ ม ขึ้ นมา เช่ น การส่ งข้ อ ความสั้ นเอสเอ็ ม
เอส ปฏิทิน นาฬิกาปลุก ตารางนัดหมาย เกม การใช้งานอินเทอร์ เน็ต บลูทูธ อินฟราเรด กล้อง
ถ่ายภาพ เอ็มเอ็มเอส วิทยุ เครื่ องเล่นเพลง และ จีพีเอส
1.2 ประวัติของเทคโนโลยีโทรศัพท์ เคลือนที่
                                          ่

        ในตอนแรกนั้นนะครับ เมื่อปี พ.ศ. 2483 ระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ยงใช้ระบบการรับส่ ง
                                                                      ั
คลื่นแบบ AM ซึ่ งถูกจากัดอย่างมากเพราะ ช่องสัญญาณแต่ละช่องสามารถใช้ได้เพียงผูใช้เดียว
                                                                                 ้
เท่านั้นและ การติดต่อหมายเลขปลายทางต้องเรี ยกผ่านศูนย์ควบคุม เพื่อให้พนักงานเป็ นผูติดต่อ
                                                                                   ้
ให้ซ่ ึงไม่สะดวกมาก

          ต่อมา ในปี พ.ศ. 2490 ห้องทดลองเบลล์ได้จดสิ ทธิ บตรของระบบนี้ครับ และก็ได้พฒนา
                                                             ั                             ั
ระบบวิทยุโทรศัพท์เคลื่อนที่กลายมาเป็ นระบบโทรศัพท์แบบรวงผึ้ง หรื อโทรศัพท์เซลลูลาร์แต่
ระบบยังไม่สามารถนาไปใช้ในทางธุ รกิจได้ครับ จนกระทัง พ.ศ. 2526 ระบบโทรศัพท์แบบ
                                                               ่
               ็
เซลลูลาร์กได้ถูกติดตั้งขึ้นและเปิ ดให้ใช้บริ การ โดยบริ การทั้งหมดจะถูกแบ่งออกเป็ นส่ วนเล็กๆ
ซึ่ งเรี ยกว่าเซลล์แต่ละเซลล์จะมีขนาดเล็กพ่วงต่อกันเป็ นแบบรวงผึ้ง เนื่องจากพื้นที่ให้บริ การมี
ขนาดเล็ก จึงไม่จาเป็ นต้องใช้เครื่ องส่ งที่มีกาลังสู งๆ และสามารถใช้ความถี่ซ้ าใช้งานได้ และนี่
แหละครับความเป็ นมาของโทรศัพท์เคลื่อนที่ไม่ใช่โทรศัพท์อยูกบที่   ่ ั



2. ผลกระทบการใช้ เทคโนโลยีโทรศัพท์ เคลือนที่
                                       ่

      ผูวจยให้ความหมายของคาว่า ผลกระทบ หมายถึง ผลลัพธ์จากการกระทาของบุคคลใด
        ้ิั
บุคคลหนึ่ง ซึ่งอาจก่อให้เกิดผลด้านดีหรื อเกิดผลด้านเสี ยต่อคนภายในสังคม

        เทคโนโลยีสารสนเทศ ส่ งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เนื่องจากความก้าวหน้า
ของการพัฒนาการสื่ อสารโทรคมนาคมทาให้สังคมติดต่อสื่ อสารสะดวกและรวดเร็ วขึ้น แต่ใน
เวลาเดี ยวกัน ก็ส่งผลเสี ยต่ อมนุ ษย์ได้ เช่ นกัน ส่ งผลกระทบทางการศึกษา ส่ งผลกระทบทาง
สุ ขภาพ เป็ นต้น
กล่ าวถึ ง การใช้ง านโทรศัพ ท์มื อถื อในช่ ว ง 5-6 ปี ที่ ผ่านมา เพื่ อติ ดต่ อสื่ อสารพูด คุ ย
โดยทัวไป ผูใช้จาเป็ นต้องมองหน้าจอโทรศัพท์บางไม่ มากก็น้อย แต่ ในปั จจุ บนเทคโนโลยี
        ่        ้                                       ้                               ั
มากมายถูกนามารวมไว้ในโทรศัพท์มือถือ เพื่อความสะดวกและประโยชน์ใช้สอย ไม่ว่าจะเป็ น
การเล่นอินเทอร์ เน็ตผ่านมือถือ การถ่ายภาพ การจัดเอกสารข้อมูล รวมไปถึงการดูโทรทัศน์ ดู
หนัง ฟั งเพลง เล่นเกมต่าง ๆ เทคโนโลยีเหล่านี้ทาให้ผูใช้งานต้องมองหน้าจอมือถือมากขึ้น จึง
                                                            ้
เป็ นที่น่าสนใจว่าการมองหน้าจอโทรศัพท์มือถื อนาน ๆ จะส่ งผลเสี ยต่ อสุ ขภาพ โดยเฉพาะ
สุ ขภาพสายตาหรื อไม่ อย่างไร? ก่อนจะทราบถึงผลกระทบของการมองหน้าจอโทรศัพท์มือถือ
คงต้ อ งอธิ บ ายถึ ง ส่ วนประกอบและการท างานของหน้ า จอโทรศัพ ท์ มื อ ถื อ กั น ก่ อ น

      เริ่ มต้นที่ส่วนของหน้าจอ ซึ่ งเป็ นส่ วนแสดงผลของโทรศัพท์ มือถือ หน้าจอที่นิยมใช้กน
                                                                                         ั
มากในปั จจุบนเป็ นชนิด แอลซี ดี (ลิควิดคริ สตัล ดิสเพลย์) ซึ่ งประกอบไปด้วยชั้นบาง ๆ ระดับ
               ั
ความหนาเป็ นไมครอนมาประกอบกันหลายชั้น คาถามก็คือ การเกิ ดภาพให้เห็นบนหน้าจอ
แ ส ด ง ผ ล ไ ด้ นั้ น ท า ไ ด้ อ ย่ า ง ไ ร ส า ม า ร ถ อ ธิ บ า ย ไ ด้ ต่ อ ไ ป นี้

                                         ่
            1. ส่ วนให้แสงสว่าง จะอยูลึกที่สุด ทาหน้าที่ให้แสงหรื อความสว่าง โดยอาจใช้หลอดไฟ
เป็ นแบล็กไลต์ หรื อในจอรุ่ นใหม่ ๆ แต่ละจุดบนหน้าจอจะปล่อยแสงออกมาได้ดวยตัวเอง แสง          ้
ที่ เ กิ ด ขึ้ นนี้ จะส่ องผ่ า นรู เล็ ก ๆ ขึ้ นมานั บ พั น รู ทั้ งนี้ ขึ้ นอยู่ ก ั บ ขนาดของหน้ า จอ

    2. ส่ วนควบคุมการแสดงผล มีลกษณะเป็ นแผ่นวงจรมากมายที่ประมวลผลการแสดง
                                ั
ออกมาว่ า จะเป็ นรู ปอะไร แบบใด เช่ น ให้ เ ป็ นเลข 9 หรื อเป็ นตั ว อั ก ษร ก.

        3. ส่ วนแสดงผล เป็ นส่ วนที่เป็ นที่มาของชื่ อหน้าจอแอลซี ดี เพราะในส่ วนนี้จะมีลิควิด
คริ สตัล หรื อคริ สตัลเหลว เป็ นตัวสาคัญที่ทาให้เกิดภาพ และมีส่วนของคัลเลอร์ ฟิ ลเตอร์ เป็ น
ตัวกาหนดสี การเกิดภาพโดยคริ สตัลเหลว ทาได้โดยการปล่อยกระแสไฟฟ้ าจากแบตเตอรี่ ให้
เกิดการเปลี่ยนแปลงความต่างศักย์ไฟฟ้ าขึ้น คริ สตัลเหลวจะจัดเรี ยงตัวไปปิ ดรู ที่แสงส่ องผ่าน
ตามที่ส่วนควบคุ มการแสดงผลกาหนด ทาให้เห็นเป็ นภาพขึ้นมา จากนั้นแสงจะผ่านคัลเลอร์
ฟิ ลเตอร์ กาหนดเป็ นสี ต่าง ๆ เช่น เห็นอักษร A เป็ นแบบตัวเอียงและมีสีน้ าเงิน เป็ นต้น
่
      จากส่ วนประกอบดังกล่าว พอจะสรุ ปได้วา จอโทรศัพท์มือถือที่ให้ความสว่างที่เหมาะสม
การประมวลผลรวดเร็ว การทางานของคริ สตัลเหลวมีประสิ ทธิภาพ และหน้าจอมีความละเอียด
มาก ก็จะให้ภาพที่คมชัด และเนื่องจากการพัฒนาเทคโนโลยีโทรศัพท์มือถือเป็ นไปอย่างรวดเร็ว
ทาให้เทคโนโลยีเก่ามีราคาถูกลง โทรศัพท์มือถือรุ่ นใหม่ ๆ ที่หน้าจอแสดงผลคมชัด มีสีสัน
สวยงาม จึงมีราคาไม่แพง และเป็ นที่นิยม

       ดังที่กล่าวมาแล้วว่าปัจจุบนประโยชน์ใช้สอยของโทรศัพท์มือถือมีมากกว่าการสนทนา
                                 ั
ระหว่างบุคคล รู ปแบบการใช้งานผ่านหน้าจอโทรศัพท์จึงมีมากขึ้น และระยะเวลาในการใช้งาน
นานขึ้น บางครั้งก็มีอาการหรื อความรู ้สึกผิดปกติที่เกี่ยวข้องกับการมองเกิดขึ้น จึงเกิดประเด็น
สงสัยถึงผลกระทบด้านสุ ขภาพตาในการมองจอโทรศัพท์มือถือเป็ นเวลานาน ๆ

          ปัญหาทางตาที่พบบ่อยได้แก่ การปวดเมื่อยตา สายตาล้า ภาพไม่ชดเมื่อเปลี่ยนระยะมอง
                                                                     ั
หรื อเมื่อเงยหน้าจากจอโทรศัพท์ รู ้สึกแสบตา ตาแห้ง ตาพร่ า ไปจนถึงการกลัวว่ามองหน้าจอ
โทรศัพท์นาน ๆ แล้วจอประสาทตาจะเสื่ อม เป็ นต้อกระจก ต้อหิน ทั้งหมดนี้สามารถอธิบายโดย
แยกเป็ นประเด็นต่าง ๆ ได้ดงนี้
                          ั

         1.อันตรายต่อดวงตาในแง่ความร้อนและรังสี จากโทรศัพท์มือถือขณะกาลังใช้งาน
                     ่ ั
หน้าจอ อาจกล่าวได้วามีอนตรายน้อยมาก เนื่องจากขณะใช้งาน เราถือโทรศัพท์ไว้ที่ระยะการ
มองชัด (ระยะอ่านหนังสื อ) โดยอยูห่างจากศีรษะและดวงตาประมาณ 30 เซนติเมตร ซึ่งห่างมาก
                                 ่
พอที่พลังงานความร้อนที่เกิดขึ้นและพลังงานจากรังสี ในย่านความถี่ไมโครเวฟที่มีกาลังส่ งต่าอยู่
                                                                             ่
แล้ว จะส่ งกระทบต่อตาน้อยมาก และจากข้อมูลในปัจจุบน ยังไม่สามารถพิสูจน์ได้วาการใช้งาน
                                                    ั
โทรศัพท์มือถือมีผลทาให้เกิดโรคทางตาที่มีผลต่อการสู ญเสี ยการมองเห็น ประมวลจากองค์
ความรู ้ในขณะนี้ ไม่พบหลักฐานว่าการมองหน้าจอโทรศัพท์มือถือ ทาให้เกิดจอประสาทตา
เสื่ อม ต้อกระจก และต้อหิ น
2.อาการต่าง ๆ ที่พบได้แก่ ปวดล้า ตาพร่ า ปรับระยะภาพไม่ชด แสบตา ตาแห้ง อาการต่าง
                                                                ั
                                                                   ั
ๆ เหล่านี้เป็ นผลจากการใช้สายตาที่ไม่เหมาะสม ซึ่งสามารถเกิดขึ้นได้กบการใช้สายตาทัวไป ไม่
                                                                                 ่
เฉพาะกับการมองจอโทรศัพท์มือถือเท่านั้น อาการดังกล่าวเกิดขึ้นได้จากหลายปั จจัย เช่ น อายุ
ของผูใช้ การเพ่งมอง ระดับการมองเห็นของแต่ละคน ความผิดปกติ ของค่าสายตาที่มีอยู่เดิ ม
     ้
ความสว่างของหน้า จอ ขนาดของหน้าจอ ระยะเวลาหรื อความถี่ ในการใช้ง านผ่า นหน้า จอ
โทรศัพท์ เป็ นต้น

        จากงานศึกษาที่ ผูศึกษาได้นามาเป็ นแนวทางในการศึกษานั้น ผูวิจยสรุ ปได้ว่า การใช้
                             ้                                           ้ ั
โทรศัพท์เคลื่อนที่ ในปั จจุบน มีผลกระทบต่อเยาวชนของประเทศไทยเป็ นอย่างมาก ซึ่ งจะเห็น
                               ั
ได้จากงานศึกษาของหลายๆ ท่านที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้นดังนั้นผูวิจย จึงสนใจทาการศึกษา
                                                                     ้ ั
ผลกระทบการใช้เทคโนโลยีโทรศัพท์เคลื่อนที่ ของนักเรี ยนโรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม ที่สามารถ
เป็ นตัวแทนได้ดี เนื่องจากนักเรี ยนโรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม จะต้องเรี ยนความรู ้ เทคโนโลยีต่างๆ
ซึ่ งการวิจยครั้งนี้ จึงเป็ นประเด็นที่น่าสนใจที่จะศึกษา เพื่อกระตุนให้มีการป้ องกัน และแก้ไข
           ั                                                       ้
ปั ญหาที่ส่งผลทั้งทางตรงและทางอ้อม จะเป็ นประโยชน์ต่อนักเรี ยนโรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม
และเป็ นประโยชน์ต่อสังคมโดยรวม
บทที่ 3
วิธีการดาเนินการศึกษา

        การศึกษา เรื่ อง “ การศึกษาผลกระทบการใช้เทคโนโลยีโทรศัพท์ เคื่อนที่ของนักเรี ยน
โรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม ” เป็ นการศึกษาที่ใช้แนวทางการศึกษาเชิงปริ มาณ เป็ นการศึกษาที่มุ่ง
หาความรู ้ ความจริ ง จากข้อมูลเชิ งปริ มาณ เน้นการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็ นตัวเลขโดยนาสถิติ
SPSS for Windows (Statistec Package for Social Science for Windows) มาใช้เป็ นเครื่ องมือใน
การวิเคราะห์ขอมูล โดยมีการดาเนินการศึกษาอย่างเป็ นระบบ
               ้
          การศึกษารั้งนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาผลกระทบการใช้เทคโนโลยีโทรศัพท์เคื่อนที่
ของนักเรี ยนโรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม โดยจะแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับระเบียบวิธีการศึกษาใน
หัวข้อต่อไปนี้
          - ประชากรตัวอย่าง และการสุ่ มตัวอย่าง
          - การเก็บรวบรวมข้อมูล
          - เครื่ องมือที่ใช้ในการทาวิจยั
          - สถิติที่ใช้ในการศึกษา
          - การวิเคราะห์ขอมูล ้

ประชากรตัวอย่ าง

        ประชากรที่ ใ ช้ ใ นการวิ จ ัย ครั้ งนี้ คื อ นั ก เรี ย นดรงเรี ยนพะเยาพิ ท ยาคม โดยพื้ น ที่
ทาการศึกษา บริ เ วณภายใน โรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม โดยนักเรี ยนโรงเรี ยนพะเยาพิ ทยาคม
จานวนทั้งหมด 30 คน
        กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ใจการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ นักเรี ยนโรงเรี ยนัเยาพิทยาคมชั้นมัธยมศึกษา
ตอนปลาย 15 คน และ นักเรี ยนโรงเรี ยนัเยาพิทยาคมชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ซึ่งได้มาโดยการ
สุ่ มรวม 15 คน
เครื่องมือทีใช้ ในการศึกษา
            ่

      เครื่ องมือที่ใช้ในการศึกษานครั้งนี้คือ แบบทดสอบ โดยสอบถามจากนักเรี ยนโรงเรี ยน
พะเยาพิทยาคมทุกชั้นปี ศึกษา จากการสุ่ มโดยผูศึกษาแบบสอบถามนั้นแบ่งออกเป็ น 3 ส่ วนดังนี้
                                              ้

       ส่ วนที่ 1 เป็ นแบบสอบถามที่เกี่ยวกับข้อมูลทัวไปเกี่ยวกับนักเรี ยนโรงเรี ยนพะเยาพิทยา
                                                    ่
คม ได้แก่ เพศ อายุ ชั้นปี การศึกษา

       ส่ วนที่ 2 เป็ นแบบสอบถามเกี่ยวกับข้อมูลพฤติกรรมการสื่ อสารผ่านเทคโนโลยี
โทรศัพท์เคลื่อนที่ของนักเรี ยนโรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม ลักษณะแบบสอบถามที่สร้างขึ้น เป็ น
คาถามให้เลือกตอบ ลักษณะคาถามประกอบด้วยข้อความที่เป็ นการให้ความสาคัญต่อปัจจัยใน
แต่ละด้าน โดยในแต่ละข้อคาถามมีคาตอบให้เลือก ดังนี้ โทรศัพท์ที่เลือกใช้ เหตุผล ความถี่
ช่วงเวลา สถานที่

      ส่ วนที่      3        เป็ นแบบสอบถามเกี่ยวกับผลกระทบจากการสื่ อสารผ่านเทคโนโลยี
โทรศัพท์เคลื่อนที่ของนักเรี ยนโรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม ลักษณะแบบสอบถามที่สร้างขึ่น เป็ น
คาถามแบบมาตราส่ วนประมาณค่า ลักษณะคาถามประกอบด้วย ข้อความที่เป็ นผลกระทบที่เกิด
กับตนเอง และสังคม

      มาตรวัดทัศนคิของลิเคอร์ท (Likert Scale) เป็ นมาตรวัดทัศนคติอีกชนิดหนึ่งที่มีผนิยมใช้
                                                                                   ู้
มาก เพราะมีวธีการสร้างง่าย ไม่ตองหาผูเ้ ชี่ยวชาญมาตัดสิ นเพื่อค่าประจาข้อ ไม่ตองคานวณหา
             ิ                  ้                                             ้
ค่าประข้อ มีความเชื่อถือได้สูงมาก ใช้เพียงมี่ขอก็จะหาค่าความเชื่อถือได้สูงพอๆกับเทคนิคอื่น
                                              ้
ในแต่ละคาถามมีคาตอบให้เลือก 2 ระดับ คือ มากที่สุด มาก น้อย น้อยที่สุด และไม่มีผลกระทบ
มีเกณฑ์การให้คะแนนในแต่ละระดับ ดังนี้
ระดับความคิดเห็น        คะแนน

                             มากที่สุด             5

                             มาก                   4

                             น้อย                  3

                             น้อยที่สุดๆ           2

                             ไม่มีผลกระทบ          1



การเก็บรวบรวมข้ อมูล



       ผูศึกษา ทาการค้นคว้า และศึกษาข้อมูลจาก
         ้

      1. ข้อมูลจากเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ เว็บไซด์บนกูเกิลเว็บไซต์ ( Google.com ) โดย
การพิมพ์หน้าเว็บเพจ เกี่ยวกับเทคโนโลยีโทรศัพท์เคลื่อนที่ ประวัติของโทรศัพท์เคลื่อนที่ และ
ผลกระทบการใช้โทรศัพท์

      2. ข้อมูลจากการสัมภาษณ์นิสิตตัวอย่างอย่างไม่เป็ นทางการ (Non Formal Interview)
โดยสัมภาษณ์จากโทรศัพท์มือถือเคลื่อนที่และจากการใช้โปรแกรมสนทนา Msn Messenger

         3. ข้อมูลจากที่ผศึกษาได้ทาการแจกแบบสอบถาม เพื่อสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างซึ่ งเป็ นผูท่ี
                          ู้                                                             ้
                                                               ั
เคยใช้เทคโนโลยีโทรศัพท์เคลื่อนที่โดยที่ทาการแจกแบบสอบถามให้กบนักเรี ยนโรงเรี ยนพะเยา
พิทยาคม โดยผูศึกษาทาการอธิบายวัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้ เพื่อให้ผตอบแบบสอบถาม
                 ้                                                    ู้
ได้เ ข้า ใจก่ อ นให้ ท าการตอบแทนสอบถามและเพื่ อ ป้ องกัน ความผิ ด พลาดของการตอบ
แบบสอบถาม
สถิติทใช้ ในการศึกษา
      ี่

       ผูศึกษานาข้อมูลที่ได้จากการตอบแบบสอบถามของกลึ่มประชากรตัวอย่าง จานวน 25
         ้
ชุด มาวิเคราะห์โดยใช้คอมพิวเตอร์ และโปรแกรม SPSS for Windows (Statistic Package for
Social Scienec for Windows)

       ค่าสถิติที่ใช้เป็ นสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่

         1. ค่าความถี่ ใช้ในการวิเคราะห์ขอมูลทัวไปของผูตอบแทนสอบถาม ใช้ในการวิเคราะห์
                                         ้     ่       ้
เกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้โปรแกรมการใช้โปรแกรมสนทนาผ่านคอมพิวเตอร์ และใช้ในการ
วิเคราะห์เกี่ยวกับทัศนคติและผลกระทบที่มีต่อการใช้เทคโนโลยีโทรศัพท์เคลื่อนที่ของนักเรี ยน
โรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม

         2. ค่าร้อยละ ใช้ในการวิเคราะห์ขอมูลทัวไปของผูตอบแบบสอบถามใช้ในการวิเคราะห์
                                        ้     ่       ้
เกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีโทรศัพท์เคลื่อนที่ และใช้ในการวิเคราะห์เกี่ยวกับทัศนคติ
และผลกระทบ ที่มีต่อการใช้เทคโนโลยีโทรศัพท์เคลื่อนที่ของนักเรี ยนโรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม

      3. ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตใช้ในการวิเคราะห์เกี่ยวกับทัศนคติ และผลกระทบที่มีต่อการใช้
เทคโนโลยีโทรศัพท์เคลื่อนที่ของนักเรี ยนโรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม

      4. ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ใช้ในการวิเคราะห์เกี่ยวกับทัศนคติและผลกระทบที่มีต่อการใช้
เทคโนโลยีโทรศัพท์เคลื่อนที่ของนักเรี ยนโรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม
การวิเคราะห์ ข้อมูล

      ในการวิเคราะห์ขอมูล หลังจากที่ได้เก็บรวบรวมแบบสอบถามกลับคืนมาจานวน 30 ชุด
                     ้
ตามจานวนที่ทาการศึกษาแล้ว ผูศึกษาได้นาแบบสอบถามที่ได้มาดาเนินการดังนี้
                            ้

       1. ตรวจสอบข้อมูล ด้วยการตรวจสอบความสมบูรณ์ และความสอดคล้องของคาตอบใน
การสอบถามทุกข้อทุกประเด็น ทาการแยกแบบสอบถามที่ไม่สมบูรณ์ออก แต่เนื่องจากผูศึกษา
                                                                            ้
อธิ บายวัตถุประสงค์ของการวิจยก่อนให้กลุ่มประชากรตัวอย่างตอบแบบสอบถามจึงทากลุ่ม
                             ั
ประชากรตัวอย่างมีความเข้าใจในข้อคาถามทุกข้อ จึงทาให้แบบสอบถามไม่มีความผิดพลาด

      2. การลงรหัส นาข้อมูลที่ได้มาทาการลงรหัส ในโปรแกรม SPSS for Windows เพื่อทา
การประมวลผลใน่ข้ นตอนต่อไป
                 ั

         3. การประมวลผลข้อมูล ข้อมูลที่ ลงรหัสแล้ว จะนาไปสู่ การวิเคราะห์ขอมูล โดยใช้
                                                                          ้
เครื่ องคอมพิวเตอร์ ในการวิเคราะห์ขอมูลและใช้เครื่ องคอมพิวเตอร์ ในการประมวลผลข้อมูล
                                   ้
ด้วยโปรแกรมสาเร็ จรู ปเพื่อการวิจยทางสังคมศาสตร์ (SPSS for Windows) (Statistic Package
                                 ั
for Social Science for Windows)
บทที่ 4
                                       ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล

       การศึกษาครั้งนี้มุ่งศึกษาผลกระทบการใช้เทคโนโลยีโทรศัพท์สื่อสาร ของนักเรี ยน
   โรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม คณะผูศึกษาได้นาเสนอผลการวิเคราะห์ขอมูลตามลาดับของ
                                  ้                           ้
   จุดมุ่งหมายเป็ น 3 ตอนดังนี้
       ส่ วนที่ 1 ข้อมูลทัวไป
                          ่
       ส่ วนที่ 3 ผลกระทบจากการสื่ อสารผ่านเทคโนโลยีโทรศัพท์เคลื่อนที่

   ส่ วนที่ 1 การวิเคราะห์ขอมูลทัวไป
                           ้     ่

   ตารางที่ 1 แสดงจานวนร้อยละสถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม
                                         ้

    ข้ อ                     รายการ                            จานวน        ร้ อยละ
   1. เพศ
                           ชาย                                 26 คน        43.33
                           หญิง                                34 คน        56.67
   2.     ช่วงชั้นปี การศึกษา
              ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1                            8 คน        13.33
              ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2                           4 คน          6.67
              ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3                           21 คน          35
              ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4                            4 คน         6.67
              ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5                           23 คน        38.33

                  รวม                                      60                  100
    จากตารางที่ 2 พบว่าข้อมูลทัวไปของผูตอบแบบสอบถามมีรายละเอียดดังนี้ เพศ พบว่า
                               ่        ้
ส่ วนมากเป็ นเพศหญิง ร้อยละ56.67 เป็ นเพศชาย ร้อยละ 43.33 ช่วงชั้นปี พบว่า ชั้นมัธยมศึกษา
ปี ที่ 1 ร้อยละ 13.33 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ร้อยละ 6.67 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ร้อยละ 35 ชั้น
มัธยมศึกษาปี ที่ 4 ร้อยละ 6.67 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 ร้อยละ 38.33




   ส่ วนที่ 2 ข้อมูลพฤติกรรมการสื่ อสารผ่านเทคโนโลยีโทรศัพท์เคลื่อนที่ของนักเรี ยน
โรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม จาแนก โทรศัพท์ที่เลือกใช้ เหตุผลที่ใช้ ระยะเวลาที่ใช้โทรศัพท์สื่อสาร

   ตารางที่ 2 ยีหอโทรศัพท์ที่นกเรี ยนโรงเรี ยนพะเยาพิทยาคมเลือกใช้
                ่ ้           ั

    ข้ อ                     รายการ                             จานวน               ร้ อยละ
   1.      SAMSUNG                                        19                         31.67
   2.      iPhone                                         4                            6.66
   3.      i-moble                                        2                            3.33
   4.      NOKIA                                          24                            40
   5.      LG                                             1                            1.67
   6.      Back Berry                                     10                         16.67

                   รวม                                             60                100

จากตาราง ยี่ห้อโทรศัพท์ที่นักเรี ยนโรงเรี ยนพะเยาพิทยาคมเลือกใช้ โดยมีรายละเอียดดังนี้
SAMSUNGร้อยละ 31.67 iPhone ร้อยละ 6.66 i-moble ร้อยละ 3.33 NOKIA ร้อยละ 40 LG
ร้อยละ 1.67 Back Berry ร้อยละ 16.67 เหตุผลที่นกเรี ยนเลือกใช้โทรศัพท์ มีเหตุผลหลักคือ
                                                       ั
เพื่อติดต่อสื่ อสาร รองลงมาคือ เล่น facebook ส่ วนระยะเวลาที่ใช้โทรศัพท์ อันดับแรก คือ
ช่วง 14.00 - 17.00 น . อันดับที่ 2คือช่วง 11.00 - 14.00 น.
ส่ วนที่ 3 ข้อมูลผลกระทบจากการสื่ อสารผ่านเทคโนโลยีโทรศัพท์เคลื่อนที่

ตารางที่ 3 เหตุผลที่นกเรี ยนโรงเรี ยนพะเยาพิทยาคมเลือกใช้เทคโนโลยีโทรศัพท์สื่อสาร
                     ั

    ข้ อ                             รายการ                      ˉ
                                                                 x       S.D
   1.      การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตช้า                          3.58     1.5
   2.      โทรศัพท์มีขนาดเล็ก หลุดมือง่าย                       2.92     1.2
   3.      มีอาการปวดหูเมื่อคุยโทรศัพท์นาน                      3.38     1.4
   4.      มีอาการหมกหมุ่นอยูกบโทรศัพท์มากเกินไป
                                 ่ ั                            3.2      1.3
   5.      มีอาการปวดตาเมื่อมองหน้าจอนาน                        3.13     1.3
   6.      ปวดคอที่ตองก้มมองหน้าจอโทรศัพท์
                      ้                                         2.88     1.2
   7.      ทาให้เสี ยอารมณ์ เมือแบตเตอรี่ โทรศัพท์มือถือหมด     3.48     1.4
   8.      ทาให้เสี ยอารมณ์ และเสี ยสมาธิ                       3.11     1.3
   9.      ทาให้เกิดอุบติเหตุเนื่องจรากจดจ่อกับโทรศัพท์มาก
                        ั                                       3.05     1.3
           เกินไป
           รวมเฉลี่ย                                            3.19      1.3

จากตาราง 3 แสดงค่าเฉลี่ยของ สถิติและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานได้ 3.19 และ 1.3 ตามลาดับ
บทที่ 5

                           สรุป อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะ



สรุปผลการศึกษา

       จากการศึกษาพฤติ กรรมการใช้เทคโนโลยีโทรศัพท์เคลื่อนที่ นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษา
ตอนต้นและนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายของโรงเรี ยนพะเยาพิทยาคมพบว่าพฤติกรรมการ
ใช้โทรศัพท์มือถือของวัยรุ่ นในปั จจุ บนถื อว่าเป็ นวัฒนธรรมใหม่ ของวัยรุ่ นไปแล้วเนื่ องจาก
                                        ั
โทรศัพท์มือถือเป็ นเครื่ องมือที่ แ สดงให้เห็ นถึ งสถานะทางสังคมและความโก้เก๋ ของวัยรุ่ นที่
ต้องการจะเปลี่ยนโทรศัพท์บ่อยๆเพราะว่าไม่อยากใช้โทรศัพท์ที่ตกรุ่ นกลัวว่าจะไม่ทดเทียมกับ
                                                                                  ั
เพื่อนและโทรศัพท์มือถือยังทางานได้หลากหลายแลสะดวกสบายมากขึ้นทาให้วยรุ่ นใช้เวลาใน
                                                                             ั
แต่ละวันอยูกบโทรศัพท์มือถือเป็ นส่ วนใหญ่จนไม่ค่อยสนใจผูคนรอบข้างจึงทาให้วยรุ่ นเห็นว่า
             ่ ั                                             ้                  ั
โทรศัพท์มือถือเป็ นสิ่ งสาคัญสาหรับการใช้ชีวิตประจาวันและพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์มือถือ
ของวัยรุ่ นก่อให้เกิดผลกระทบต่างๆตามมาไม่ว่าจะเป็ นผลกระทบต่อสังคมและผลกระทบต่อ
สุ ขภาพ
อภิปรายผลการศึกษา

       จากการศึกษาพบว่า ยี่ห้อโทรศัพท์ที่นักเรี ยนโรงเรี ยนพะเยาพิทยาคมเลื อกใช้ โดยมี
รายละเอียดดังนี้ SAMSUNGร้อยละ 31.67           iPhone ร้อยละ 6.66 i-moble ร้อยละ 3.33
NOKIA ร้อยละ 40 LG ร้อยละ 1.67 Back Berry ร้อยละ 16.67 เหตุผลที่นกเรี ยนเลือกใช้
                                                                 ั
โทรศัพท์ มีเหตุผลหลักคื อ เพื่อติดต่อสื่ อสารรองลงมาคือ เล่น facebook     ส่ วนระยะเวลาที่ใช้
โทรศัพท์ อันดับแรก คือ ช่วง 14.00 - 17.00 น . อันดับที่ 2คือช่วง 11.00 - 14.00 น.
บรรณานุกรม


รัชนี ภารา. (2546) รู ปแบบสื่ อโฆษณาที่มีผลต่อการตัดสิ นใจเลือกซื้อระบบเครื อข่าย
โทรศัพท์มือถือของ ผูบริ โภค การค้นคว้าอิสระ หลักสู ตรบริ หารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการ
                    ้
จัดการธุรกิจทัวไป, มหาวิทยาลัยรังสิ ต
              ่



อติพร ก่อเกียรติพงศ์. (2547) การศึกษาพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ในวัยรุ่ นในเขต
กรุ งเทพมหานคร.การค้นคว้าอิสระ หลักสู ตรบริ หารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ
ธุรกิจผ่านอิเล็กทรอนิกส์, มหาวิทยาลัยรังสิ ต



การใช้อินเทอร์เน็ตจากโทรศัพท์ “Smart Phone” และโทรศัพท์ทวไปการเติบโตของอินเทอร์เน็ต
                                                        ั่
บน โทรศัพท์มือถือรายงานยอดขาย “Smart Phone” ทัวโลกสถิติผใช้ “Smart Phone” เพื่อ
                                              ่         ู้
เข้าถึงบริ การ “เครื อข่ายสังคมออนไลน์”

       http://worawisut.com/2 0 10 / 0 2 / 1 5 / mobile-internet-boom-by-smartphone/
ภาคผนวก
ตัวอย่ างแบบสอบถาม
โปรดทาเครื่องหมาย () ลงในช่ อง (เลือกตอบเพียงข้ อเดียว)

ส่ วนที่ 1 ข้ อมูลทัวไป
                    ่

    1. เพศ                                     ชาย                                     หญิง
    2. อายุ..........ปี
               ่ ั
    3. ศึกษาอยูช้ นมัธยมศึกษาปี ที่..........

ส่ วนที่ 2 ข้ อมูลพฤติกรรมการสื่ อสารผ่ านเทคโนโลยีโทรศัพท์ เคลือน
                                                                ่

    1. โทรศัพท์ที่ท่านเลือกใช้............................
    2. เหตุผลที่ใช้
                    เหตุผลทีใช้
                            ่                        ใช่                                      ไม่ ใช่
          ใช้โทรเข้า - ออก
          ใช้เข้าหาข้อมูลที่ตองการ
                             ้
          ใช่เล่น Facebook
          ใช้แชท Line
          ใช้เล่น Twitter
          เล่นแชท BB
          อื่นๆ


    3. ระยะเวลาที่ใช้โทรศัพท์สื่อสาร
                          ก่อน 11.00 น.
                          11.00 - 14.00 น.
                          14.00 - 17.00 น.
                          17.00 - 20.00 น.
                          20.00 - 23.00 น.
                          อื่นๆ.........................................................
ส่ วนที่ 3 ผลกระทบจากการสื่ อสารผ่านเทคโนโลยีโทรศัพท์เคลือนที่
                                                         ่

                                                             ระดับความคิดเห็น
                              ปัญหาที่มีผล                 5 4 3 2 1
             การเชื่อมต่ออินเทอร์ เน็ตช้า
             โทรศัพท์มีขนาดเล็ก หลุดมือง่าย
             เริ่ มมีอาการปวดหูเมื่อคุยโทรศัพท์นานๆ
             มีอาการหมกหมุ่นอยูกบโทรศัพท์มือถือมาก
                                   ่ ั
             เกินไป
             มีอาการปวดตาเมื่อมองหน้าจอนานๆ
             ปวดคอที่จะต้องก้มมองหน้าจอโทรศัพท์
             ทาให้เสี ยอารมณ์ เมื่อแบตเตอรี่
             โทรศัพท์มือถือหมด
             ทาให้เสี ยอารมณ์และสมาธิ
              ทาให้เกิดอุบติเหตุเนื่ องจากจดจ่อกับ
                           ั
             โทรศัพท์มากเกินไป

More Related Content

What's hot

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6Meaw Sukee
 
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดแบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดKrupol Phato
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทJiraporn Chaimongkol
 
2562 final-project 605-44 46
2562 final-project 605-44 462562 final-project 605-44 46
2562 final-project 605-44 46ssuser0c005f
 
BEHAVIOR OF MOBILE PHONE USERS OF HIGH SCHOOL STUDENTSIN MUANG DISTRICT, PHA...
BEHAVIOR OF MOBILE PHONE USERS OF  HIGH SCHOOL STUDENTSIN MUANG DISTRICT, PHA...BEHAVIOR OF MOBILE PHONE USERS OF  HIGH SCHOOL STUDENTSIN MUANG DISTRICT, PHA...
BEHAVIOR OF MOBILE PHONE USERS OF HIGH SCHOOL STUDENTSIN MUANG DISTRICT, PHA...Chanapa Youngmang
 
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ครูกนกศักดิ์ บัวทอง
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ครูกนกศักดิ์ บัวทองเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ครูกนกศักดิ์ บัวทอง
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ครูกนกศักดิ์ บัวทองกนกศักดิ์ บัวทอง
 
หลักสูตรสาระการงานอาชีพ
หลักสูตรสาระการงานอาชีพหลักสูตรสาระการงานอาชีพ
หลักสูตรสาระการงานอาชีพdechathon
 
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษามโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษาVitamilk
 
Benefits of the internet education
Benefits of the internet educationBenefits of the internet education
Benefits of the internet educationcodexstudio
 
หน่วยที่ 3 ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
หน่วยที่ 3 ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารหน่วยที่ 3 ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
หน่วยที่ 3 ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารsomdetpittayakom school
 
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารสราวุฒิ จบศรี
 
เทคโนโลยีทางสุขภาพ
เทคโนโลยีทางสุขภาพเทคโนโลยีทางสุขภาพ
เทคโนโลยีทางสุขภาพsarawut chaicharoen
 
07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายใน
07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายใน07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายใน
07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายในPrachoom Rangkasikorn
 

What's hot (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
 
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดแบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
 
2562 final-project 605-44 46
2562 final-project 605-44 462562 final-project 605-44 46
2562 final-project 605-44 46
 
BEHAVIOR OF MOBILE PHONE USERS OF HIGH SCHOOL STUDENTSIN MUANG DISTRICT, PHA...
BEHAVIOR OF MOBILE PHONE USERS OF  HIGH SCHOOL STUDENTSIN MUANG DISTRICT, PHA...BEHAVIOR OF MOBILE PHONE USERS OF  HIGH SCHOOL STUDENTSIN MUANG DISTRICT, PHA...
BEHAVIOR OF MOBILE PHONE USERS OF HIGH SCHOOL STUDENTSIN MUANG DISTRICT, PHA...
 
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ครูกนกศักดิ์ บัวทอง
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ครูกนกศักดิ์ บัวทองเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ครูกนกศักดิ์ บัวทอง
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ครูกนกศักดิ์ บัวทอง
 
โครงการสอน 1.56
โครงการสอน 1.56โครงการสอน 1.56
โครงการสอน 1.56
 
หลักสูตรสาระการงานอาชีพ
หลักสูตรสาระการงานอาชีพหลักสูตรสาระการงานอาชีพ
หลักสูตรสาระการงานอาชีพ
 
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษามโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
 
Benefits of the internet education
Benefits of the internet educationBenefits of the internet education
Benefits of the internet education
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
 
หน่วยที่ 3 ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
หน่วยที่ 3 ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารหน่วยที่ 3 ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
หน่วยที่ 3 ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
ICT Usage Survey, Thailand 2554
ICT Usage Survey, Thailand 2554ICT Usage Survey, Thailand 2554
ICT Usage Survey, Thailand 2554
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
 
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีทางสุขภาพ
เทคโนโลยีทางสุขภาพเทคโนโลยีทางสุขภาพ
เทคโนโลยีทางสุขภาพ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
Info Study BUU
Info Study BUUInfo Study BUU
Info Study BUU
 
07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายใน
07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายใน07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายใน
07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายใน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12
 

Viewers also liked

แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013Kruthai Kidsdee
 
แบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอนแบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอนNan NaJa
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘Duangnapa Inyayot
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘Duangnapa Inyayot
 
ตัวอย่างการประเมินแบบสอบถาม
ตัวอย่างการประเมินแบบสอบถามตัวอย่างการประเมินแบบสอบถาม
ตัวอย่างการประเมินแบบสอบถามpingkung
 
แบบประเมินผลการสังเกตพฤติกรรม
แบบประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมแบบประเมินผลการสังเกตพฤติกรรม
แบบประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมkruuni
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stadnangnut
 
คู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
คู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนคู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
คู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนKrooIndy Csaru
 
แบบประเมินผลโครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
แบบประเมินผลโครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์แบบประเมินผลโครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
แบบประเมินผลโครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์panomkon
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีmaethaya
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถาม
แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถามแบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถาม
แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถามสำเร็จ นางสีคุณ
 

Viewers also liked (14)

แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
 
แบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอนแบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอน
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
 
ตัวอย่างการประเมินแบบสอบถาม
ตัวอย่างการประเมินแบบสอบถามตัวอย่างการประเมินแบบสอบถาม
ตัวอย่างการประเมินแบบสอบถาม
 
แบบประเมินผลการสังเกตพฤติกรรม
แบบประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมแบบประเมินผลการสังเกตพฤติกรรม
แบบประเมินผลการสังเกตพฤติกรรม
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stad
 
คู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
คู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนคู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
คู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
 
แบบประเมินก่อนเรียนคณิตฯ
แบบประเมินก่อนเรียนคณิตฯแบบประเมินก่อนเรียนคณิตฯ
แบบประเมินก่อนเรียนคณิตฯ
 
แบบประเมินผลโครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
แบบประเมินผลโครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์แบบประเมินผลโครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
แบบประเมินผลโครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
 
ตัวอย่างแบบประเมินการฝึกอบรม
ตัวอย่างแบบประเมินการฝึกอบรมตัวอย่างแบบประเมินการฝึกอบรม
ตัวอย่างแบบประเมินการฝึกอบรม
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถาม
แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถามแบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถาม
แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถาม
 

Similar to Is pre

รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5kruwaeo
 
ICT สภาพปจจุบัน ปญหาและแนวโนม
ICT สภาพปจจุบัน ปญหาและแนวโนมICT สภาพปจจุบัน ปญหาและแนวโนม
ICT สภาพปจจุบัน ปญหาและแนวโนมFerny Kookie
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์mina612
 
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยการอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยกฤตพร สุดสงวน
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Bai'mon Chankaew
 
ICT กับการเรียนการสอน สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโฯ้ม
ICT กับการเรียนการสอน สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโฯ้มICT กับการเรียนการสอน สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโฯ้ม
ICT กับการเรียนการสอน สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโฯ้มMew Kewalin
 
Ict กับการเรียนการสอน สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโน้ม
Ict กับการเรียนการสอน สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโน้มIct กับการเรียนการสอน สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโน้ม
Ict กับการเรียนการสอน สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโน้มMew Kewalin
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6Tar Bt
 
การพัฒนาโปรแกรมบทเรียน เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ วิชา เทคโนโลยีสารสนเท...
การพัฒนาโปรแกรมบทเรียน เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์  วิชา เทคโนโลยีสารสนเท...การพัฒนาโปรแกรมบทเรียน เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์  วิชา เทคโนโลยีสารสนเท...
การพัฒนาโปรแกรมบทเรียน เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ วิชา เทคโนโลยีสารสนเท...Noppakhun Suebloei
 
Tablet1
Tablet1Tablet1
Tablet1jamrat
 
การเรียนการสอนด้วย Tablet
การเรียนการสอนด้วย Tabletการเรียนการสอนด้วย Tablet
การเรียนการสอนด้วย TabletPrachyanun Nilsook
 
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...Panita Wannapiroon Kmutnb
 

Similar to Is pre (20)

รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
Email system
Email systemEmail system
Email system
 
ICT สภาพปจจุบัน ปญหาและแนวโนม
ICT สภาพปจจุบัน ปญหาและแนวโนมICT สภาพปจจุบัน ปญหาและแนวโนม
ICT สภาพปจจุบัน ปญหาและแนวโนม
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยการอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ICT กับการเรียนการสอน สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโฯ้ม
ICT กับการเรียนการสอน สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโฯ้มICT กับการเรียนการสอน สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโฯ้ม
ICT กับการเรียนการสอน สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโฯ้ม
 
Ict กับการเรียนการสอน สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโน้ม
Ict กับการเรียนการสอน สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโน้มIct กับการเรียนการสอน สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโน้ม
Ict กับการเรียนการสอน สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโน้ม
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
การพัฒนาโปรแกรมบทเรียน เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ วิชา เทคโนโลยีสารสนเท...
การพัฒนาโปรแกรมบทเรียน เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์  วิชา เทคโนโลยีสารสนเท...การพัฒนาโปรแกรมบทเรียน เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์  วิชา เทคโนโลยีสารสนเท...
การพัฒนาโปรแกรมบทเรียน เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ วิชา เทคโนโลยีสารสนเท...
 
บทที่ 6new
บทที่ 6newบทที่ 6new
บทที่ 6new
 
Ictoutdoor2012
Ictoutdoor2012Ictoutdoor2012
Ictoutdoor2012
 
Tablet1
Tablet1Tablet1
Tablet1
 
Tablet1
Tablet1Tablet1
Tablet1
 
การเรียนการสอนด้วย Tablet
การเรียนการสอนด้วย Tabletการเรียนการสอนด้วย Tablet
การเรียนการสอนด้วย Tablet
 
แผนแม่บท Ict ศธ
แผนแม่บท Ict ศธแผนแม่บท Ict ศธ
แผนแม่บท Ict ศธ
 
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
 
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
 
h6ju
h6juh6ju
h6ju
 
Planict2552 2556
Planict2552 2556Planict2552 2556
Planict2552 2556
 

Is pre

  • 1. การศึกษาผลกระทบการใช้ เทคโนโลยีโทรศัพท์ สื่อสารของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้ นและนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนพะเยาพิทยาคม ชู เกียรติ คาวงค์ ษา จักรภัทร คาตั๋น สมกมล เรือนมูล นักเรียนชันมัธยมศึกษาปี ที่ 5/7 การศึกษาค้ นคว้ าอิสระนี้ เป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษารายวิชาการสื่ อสารและ การนาเสนอ (Communication and Presentation) รหัสวิชา ว32286 ตามหลักสู ตรโรงเรียนมาตรฐานสากล (World-Class Standard School) ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2555 โรงเรียนพะเยาพิทยาคม
  • 2. การศึกษาผลกระทบการใช้ เทคโนโลยีโทรศัพท์ สื่อสารของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้ นและนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนพะเยาพิทยาคม ชู เกียรติ คาวงค์ ษา จักรภัทร คาตั๋น สมกมล เรือนมูล นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5/7 โรงเรียนพะเยาพิทยาคม ปี การศึกษา 2555
  • 3. ชื่อโครงงาน : การศึกษาผลกระทบการใช้ เทคโนโลยีทรศัพท์สื่อสารของ นักเรี ยนชันมัธยมศึกษาตอนต้ นและนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรี ยน ้ ้ พะเยาพิทยาคม ผู้จัดทา : ชูเกียรติ คาวงษา จักรภัทร คาตัน ๋ สมกมล เรื อนมูล โรงเรี ยน : พะเยาพิทยาคม อาเภอเมือง จังหวัดพะเยา ครู ท่ ปรึกษา : ี ครู ยิ่งศักดิ์ กระจ่างแจ้ ง บทคัดย่ อ การศึกษาค้ นคว้ าด้ วยตนเองฉบับนี ้ มีจดมุ่งหมายเพื่อศึกษาการศึกษาผลกระทบการใช้ ุ เทคโนโลยีโทรศัพท์สื่อสารของนักเรี ยนโรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม เครื่ องมือที่ใช้ ในการศึกษา เครื่ องมือที่ใช้ ในการวิจยในครังนี ้คือ แบบทดสอบ (Questionnaire) โดยสอบถามจากนักเรี ยนชัน ั ้ ้ มัธยมศึกษา ตอนต้ น ถึง ชันมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม ประชากรที่ใช้ ใน ้ การวิจยครังนี ้คือนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาตอนต้ น และชันมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรี ยนพะเยา ั ้ ้ ้ พิทยาคมโดยพื ้นที่ทาการวิจย บริ เวณภายใน โรงอาหาร โรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม นักเรี ยนชัน ั ้ มัธยมศึกษา ปี ที่ 1 ถึง ชันมัธยมศึกษาปี ที่ 5 มีจานวนทังหมด 60 คน ้ ้ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ใจการศึกษาครังนี ้ ได้ แก่ นักเรี ยนโรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม ระดับชัน ้ ้ มัธยมศึกษาตอนต้ น 30 คน และ ระดับชันมัธยมศึกษาตอนปลาย 30 คน ้
  • 4. กิตติกรรมประกาศ การศึกษาผลกระทบการใช้เ ทคโนโลยีโ ทรศัพท์สื่ อสารของนักเรี ยนชั้นมัธ ยมศึ กษา ตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม จังหวัดพะเยา การศึกษาครั้งนี้ สาเร็ จลงได้ดวยความกรุ ณาของคุณครู ยิงศักดิ์ กระจ่างแจ้ง ที่ได้กรุ ณาตรวจบทคัดย่อ และให้ ้ ่ ข้อคิดที่เป็ นประโยชน์ในการปรับปรุ งแก้ไข สุ ดท้าย ขอขอบพระคุณ นักเรี ยนโรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม ในครั้งนี้ ตลอดจนเพื่อนๆ ที่ ไม่ได้ระบุนานในที่น้ ีทุกท่านที่ให้การสนับสนุ น และเป็ นกาลังใจอย่างดีตลอดมา จนการศึกษา ค้นคว้าด้วยตนเองฉบับนี้สาเร็จลุล่วงด้วยดี ชูเกียรติ ตาวงษา จักรภัทร คาตัน ๋ สมกมล เรื อนมูล
  • 5. สารบัญ หน้า บทคัดย่อ ก กิตติกรรมประกาศ ข สารบัญ ค บทที่ 1 บทนา 1 ความเป็ นมาและความสาคัญ 2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา 3 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 3 สมมติฐานของการศึกษา 3 ขอบเขตการศึกษา 4 นิยามศัพท์ที่เกี่ยวข้อง 6 บทที่ 2 เอกสารและงารศึกษาที่เกี่ยวข้อง 7 บทที่ 3 วิธีดาเนินการศึกษา 12 ประชากรตัวอย่าง 12 เครื่ องมือที่ใช้ในการศึกษา 13 การเก็บรวบรวมข้อมูล 14 สถิติที่ใช้ในการศึกษา 15
  • 6. การวิเคราะห์ขอมูล ้ 16 บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ขอมูล ้ 17 ส่ วนที่ 1 การวิเคราะห์ขอมูลทัวไป ้ ่ 17 ส่ วนที่ 2 ข้อมูลพฤติกรรมการสื่ อสารผ่านเทคโนโลยีโทรศัพท์ 18 ส่ วนที่ 3 ข้อมูลผลกระทบจากการสื่ อสารผ่านเทคโนโลยีโทรศัพท์ 19 บทที่ 5 สรุ ป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ 20 บรรณานุกรม 21 ภาคผนวก 22 ตัวอย่างแบบสอบถาม 23
  • 7. บทที่ 1 บทนา ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทต่อชีวตประจาวันของมนุษย์ โดยสังคมเปลี่ยนแปลงไปตาม ิ วิวฒนาการของโลก ทาให้การติดต่อสื่ อสารของมนุษย์มีความเจริ ญก้าวหน้าไปอย่างไม่หยุดยั้ง ั การติดต่อสื่ อสารมิใช่หยุดอยูเ่ พียงการส่ งจดหมาย โทรเลข หรื อโทรศัพท์ เหมือนในอดีต แต่ได้ มีการพัฒนาระบบการติดต่อสื่ องานแบบใหม่เข้ามาใช้งานแทนที่ระบบเดิม ทันสมัยและรวดเร็ว ในหารทาธุรกรรมต่าง ๆ โทรศัพ ท์สื่ อ สาร คื อ อุ ป กรณ์ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ที่ ใ ช้ใ นการสื่ อ สารสองทางผ่ า น โทรศัพท์มือถือใช้คลื่นวิทยุในการติดต่อกับเครื อข่ายโทรศัพท์มือถือโดยผ่านสถานี ฐาน โดย เครื อข่ายของโทรศัพท์มือถือแต่ละผูให้บริ การจะเชื่ อมต่อกับเครื อข่ายของโทรศัพท์บานและ ้ ้ เครื อข่ายโทรศัพท์มือถือของผูให้บริ การอื่น โทรศัพท์มือถือที่มีความสามารถเพิ่มขึ้นในลักษณะ ้ คอมพิวเตอร์พกพาจะถูกกล่าวถึงในชื่อสมาร์ตโฟน โทรศัพท์เคลื่อนที่ เครื่ องแรกถูกผลิ ตและออกแสดงในปี พ.ศ. 2516 โดย มาร์ ติน คู เปอร์ (Martin Cooper) นักประดิษฐ์จากบริ ษทโมโตโรลา เป็ นโทรศัพท์เคลื่อนที่ขนาดใหญ่ท่ีมี ั น้ าหนักประมาณ 1.1 กิโลกรัมปั จจุบนจานวนผูใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่ทวโลก เพิ่มขึ้นจากปี ั ้ ั่ พ.ศ. 2543 ที่มีจานวน 12.4 ล้านคน มาเป็ น 4,600 ล้านคน ในปั จจุบนชุ มสายโทรศัพท์ท่ีติดตั้งใหม่ ๆ จะเป็ นระบบ SPC ทั้งหมด ระบบอื่น ๆ ั ั เลิกผลิตแล้ว ประเทศไทยเรากาลังเร่ งติดตั้งโทรศัพท์เพื่อให้พอใช้กบประชาชน ดังจะเห็นจาก โครงการ 3 ล้านเลขหมายในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติฉบับที่ 7 และโครงการอื่น ๆ ต่อไป รวมทั้งวิทยุโทรศัพท์อีกด้วย เพื่อเสริ มให้ระบบสื่ อสารในประเทศไทยมีประสิ ทธิ ภาพ เอื้ออานวยต่อการพัฒนาประเทศให้เจริ ญรุ่ งเรื องต่อไป
  • 8. วิวฒนาการโทรศัพท์ มอถือ มีการพัฒนามาเรื่อยๆ สั งเกตได้ จาก ั ื • รู ปร่ างขนาดใหญ่ เป็ น รู ปร่ างขนาดเล็ก • ภาพหน้าจอขาว – ดา เป็ น ภาพหน้าจอ สี • ใช้สาหรับพูดคุยระหว่าง คน 2 คน เป็ น ประชุมสาย ตั้งแต่ 3 สายขึ้นไปได้ • ใช้ฟังเพลงได้ – ใช้ดูหนังได้ MP3 • เป็ นกล้องถ่ายรู ป – เป็ นกล้องวีดีโอได้ อัดเสี ยงสนทนาได้ • ใช้เป็ นเครื่ องคิดเลข เป็ น ออร์แกไนเซอร์ จดบันทึกข้อมูล • และอีกหลายๆ คุณสมบัติของโทรศัพท์มือถือ ฯลฯ ปัจจุบน โทรศัพท์มือถือ ได้พฒนาการมามาก จะเห็นได้จากคุณสมบัติ อาทิเช่น ั ั • สามารถใช้งานได้ท้ งโทรศัพท์และออร์แกไนเซอร์ ั • สามารถใช้งานได้ยาวนานโดยไม่ตองชาร์ทไฟ ้ • สามารถบันทึกข้อมูลต่างๆ ได้ดวยหน่วยความจามากมายหากไม่พอซื้อเพิ่มได้ ้ • รองรับระบบการใช้งานแบบ wireless Modem และ Business E-mail สามารถถ่ายโอน ข้อมูลได้โดยใช้ Bluetooth หรื อ USB ดัง นั้น จะเห็ น ได้ว่า โทรศัพ ท์เ คลื่ อ นที่ เ ข้า มามี บทบาทในชี วิต ประจ าวัน ของนัก เรี ยน โรงเรี ยนพะเยาพิทยาคมอย่างมาก ผูวิจยจึงสนใจทาการศึกษาข้อมูล การศึกษาผลกระทบการใช้ ้ ั โทรศัพท์เคลื่อนที่ของนักเรี ยนโรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม กระบวนการสื่ อสาร จึงเป็ นประเด็นที่ น่าสนใจที่จะศึกษา เพื่อกระตุนให้มีการป้ องกันและแก้ไขปัญหาที่ส่งผลทั้งทางตรงและทางอ้อม ้ จะเป็ นประโยชน์ต่อนักเรี ยนโรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม และต่อสังคมโดยรวม
  • 9. วัตถุประสงค์ ของการศึกษา 1. เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีโทรศัพท์เคลื่อนที่ของนักเรี ยนโรงเรี ยนพะเยา พิทยาคม ประจาปี 2555 2. เพื่อศึกษาผลกระทบการใช้เทคโนโลยีโทรศัพท์เคลื่อนที่ของนักเรี ยนโรงเรี ยนพะเยา พิทยาคม ประโยชน์ ทคาดว่ าทีจะได้ รับ ี่ ่ 1. ทราบถึงพฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีโทรศัพท์เคลื่อนที่ของนักเรี ยนโรงเรี ยนพะเยา พิทยาคม 2. ทราบผลกระทบการใช้เทคโนโลยีโทรศัพท์เคลื่อนที่ของนักเรี ยนโรงเรี ยนพะเยาพิทยา คมเพื่อนาไปเป็ นหนทางการป้ องกันและแก้ไขที่อาจจะตามมาในอนาคต สมมุติฐานของการศึกษา 1 : พฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีโทรศัพท์มือถือไม่มีผลกระทบต่อพฤติกรรมของ นักเรี ยนโรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม 2 : พฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีโทรศัพท์มือถือมีผลกระทบต่อพฤติกรรม ของ นักเรี ยนโรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม
  • 10. ขอบเขตของการศึกษา ในการวิจ ัย ครั้ งนี้ ผูวิ จ ัย ได้ศึ ก ษาผลกระทบการใช้เ ทคโนโลยีโ ทรศัพ ท์มื อ ถื อ ของ ้ นักเรี ยนโรงเรี ยนพะเยาพิทยาคมโดยพื้นที่ทาการวิจย บริ เวณภายในโรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม ั โดยนักเรี ยนโรงเรี ยนพะเยาพิทยาคมมีจานวนทั้งหมด 30 คน การศึกษาครั้งนี้อยูใจขอบเขตของเนื้อหา ประชากร กลุ่มตัวอย่าง และตัวแปร ดังนี้ ่ 1. ขอบเขตของเนื้อหา การศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ มุ่งศึกษาศึกษาผลกระทบการใช้เทคโนโลยีโทรศัพท์มือถือ ของ นักเรี ยนโรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม 2. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 2.1 ประชากร คือ นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม ซึ่งได้มา โดยการสุ่ ม รวม 15 คน 2.2 กลุ่ ม ตัว อย่ า งที่ ใ ช้ใ จการศึ ก ษาครั้ งนี้ ได้แ ก่ นัก เรี ย นชั้น มัธ ยมศึ ก ษาตอนต้น โรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม ซึ่งได้มาโดยการสุ่ ม รวม 15 คน 3. ตัวแปรที่จะศึกษาค้นคว้า 3.1 ตัวแปรต้น ได้แก่ 3.1.1 ระดับชั้นมัธยมศึกษา แบ่งเป็ น (1.) ชั้นปี ที่ 1 (2.) ชั้นปี ที่ 2 (3.) ชั้นปี ที่ 3 (4.) ชั้นปี ที่ 4
  • 11. (5.) ชั้นปี ที่ 5 (6.) ชั้นปี ที่ 6 3.1.2 ระดับชั้น แบ่งเป็ น (1.) ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (2.) ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 3.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ ผลกระทบการใช้เทคโนโลยีโทรศัพท์มือถือ ของนักเรี ยน โรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม วิธีดาเนินการศึกษา การวิจยครั้งนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาผลกระทบการใช้เทคโนโลยีโทรศัพท์มือถือ ของ ั นักเรี ยนโรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม โดยจะแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับระเบียบวิธีการศึกษาใน หัวข้อต่อไปนี้ - ประชากรตัวอย่าง และการสุ่ มตัวอย่าง - การเก็บรวบรวมข้อมูล - เครื่ องมือที่ใช้ในการทาวิจย ั - สถิติที่ใช้ในการศึกษา - การวิเคราะห์ขอมูล ้
  • 12. นิยามศัพท์ ทเี่ กียวข้ อง ่ 1. นักเรี ยน หมายถึง ผูเ้ รี ยนในระดับชั้นมัธยมศึกษาโรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม จังหวัด พะเยา 2. ระดับชั้น หมายถึง ชั้นปี การศึกษาที่นกเรี ยนโรงเรี ยนพะเยาพิทยาคมศึกษาอยู่ ั 3. โรงเรี ยน หมายถึง โรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม 4. การสื่ อสาร หมายถึง การสนทนาระหว่างบุคคลใดบุคคลหนึ่งไปยังอีกบุคคลหนึ่ง 5. โทรศัพท์เคลื่อนที่ หมายถึง อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ในการสื่ อสารสองทางผ่าน โทรศัพท์มือถือใช้คลื่นวิทยุในการติดต่อกับเครื อข่ายโทรศัพท์มือถือโดยผ่านสถานีฐาน 6. พฤติกรรม หมายถึง การกระทาที่เกิดขั้นจากมนุษย์เป็ นผูกระทาหรื อแสดงออก ้
  • 13. บทที่ 2 เอกสารและงานศึกษาทีเ่ กียวข้ อง ่ ในการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจยที่เกี่ยวข้องกับงานวิจยเรื่ อง ศึกษาผลกระทบการ ั ั ใช้เทคโนโลยีสื่อสารผ่านคอมพิวเตอร์ของนิสิตมหาวิทยาลัยนเรศวร ผูศึกษาได้ศึกษา เรี ยบเรี ยง ้ จากเอกสารและงานวิจยที่เกี่ยวข้อง โดยนาเสนอตามลาดับดังนี้ ั 1. ความหมายและประวัติของเทคโนโลยีโทรศัพท์เคลื่อนที่ 2. ผลกระทบการใช้เทคโนโลยีโทรศัพท์เคลื่อนที่ 1. ความหมายและประวัตของเทคโนโลยีโทรศัพท์ เคลือนที่ ิ ่ 1.1 ความหมายของเทคโนโลยีโทรศัพท์ เคลือนที่ ่ คืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ในการสื่ อสารสองทางผ่าน โทรศัพท์มือถือใช้คลื่นวิทยุใน การติดต่อกับเครื อข่ายโทรศัพท์มือถือโดยผ่านสถานีฐาน โดยเครื อข่ายของโทรศัพท์มือถือแต่ละ ผูใ ห้บ ริ ก ารจะเชื่ อ มต่ อ กับ เครื อ ข่ า ยของโทรศัพ ท์บ้า นและเครื อ ข่ า ยโทรศัพ ท์มื อ ถื อ ของผู ้ ้ ให้บริ การอื่ น โทรศัพ ท์มือถื อที่ มีค วามสามารถเพิ่ มขึ้ นในลักษณะคอมพิว เตอร์ พกพาจะถู ก กล่าวถึงในชื่อสมาร์ตโฟน โทรศัพ ท์มื อถื อในปั จ จุ บันนอกจากจากความสามารถพื้นฐานของโทรศัพท์แล้ว ยัง มี คุ ณ สมบั ติ พ้ื น ฐานของโทรศัพ ท์ มื อ ถื อ ที่ เ พิ่ ม ขึ้ นมา เช่ น การส่ งข้ อ ความสั้ นเอสเอ็ ม เอส ปฏิทิน นาฬิกาปลุก ตารางนัดหมาย เกม การใช้งานอินเทอร์ เน็ต บลูทูธ อินฟราเรด กล้อง ถ่ายภาพ เอ็มเอ็มเอส วิทยุ เครื่ องเล่นเพลง และ จีพีเอส
  • 14. 1.2 ประวัติของเทคโนโลยีโทรศัพท์ เคลือนที่ ่ ในตอนแรกนั้นนะครับ เมื่อปี พ.ศ. 2483 ระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ยงใช้ระบบการรับส่ ง ั คลื่นแบบ AM ซึ่ งถูกจากัดอย่างมากเพราะ ช่องสัญญาณแต่ละช่องสามารถใช้ได้เพียงผูใช้เดียว ้ เท่านั้นและ การติดต่อหมายเลขปลายทางต้องเรี ยกผ่านศูนย์ควบคุม เพื่อให้พนักงานเป็ นผูติดต่อ ้ ให้ซ่ ึงไม่สะดวกมาก ต่อมา ในปี พ.ศ. 2490 ห้องทดลองเบลล์ได้จดสิ ทธิ บตรของระบบนี้ครับ และก็ได้พฒนา ั ั ระบบวิทยุโทรศัพท์เคลื่อนที่กลายมาเป็ นระบบโทรศัพท์แบบรวงผึ้ง หรื อโทรศัพท์เซลลูลาร์แต่ ระบบยังไม่สามารถนาไปใช้ในทางธุ รกิจได้ครับ จนกระทัง พ.ศ. 2526 ระบบโทรศัพท์แบบ ่ ็ เซลลูลาร์กได้ถูกติดตั้งขึ้นและเปิ ดให้ใช้บริ การ โดยบริ การทั้งหมดจะถูกแบ่งออกเป็ นส่ วนเล็กๆ ซึ่ งเรี ยกว่าเซลล์แต่ละเซลล์จะมีขนาดเล็กพ่วงต่อกันเป็ นแบบรวงผึ้ง เนื่องจากพื้นที่ให้บริ การมี ขนาดเล็ก จึงไม่จาเป็ นต้องใช้เครื่ องส่ งที่มีกาลังสู งๆ และสามารถใช้ความถี่ซ้ าใช้งานได้ และนี่ แหละครับความเป็ นมาของโทรศัพท์เคลื่อนที่ไม่ใช่โทรศัพท์อยูกบที่ ่ ั 2. ผลกระทบการใช้ เทคโนโลยีโทรศัพท์ เคลือนที่ ่ ผูวจยให้ความหมายของคาว่า ผลกระทบ หมายถึง ผลลัพธ์จากการกระทาของบุคคลใด ้ิั บุคคลหนึ่ง ซึ่งอาจก่อให้เกิดผลด้านดีหรื อเกิดผลด้านเสี ยต่อคนภายในสังคม เทคโนโลยีสารสนเทศ ส่ งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เนื่องจากความก้าวหน้า ของการพัฒนาการสื่ อสารโทรคมนาคมทาให้สังคมติดต่อสื่ อสารสะดวกและรวดเร็ วขึ้น แต่ใน เวลาเดี ยวกัน ก็ส่งผลเสี ยต่ อมนุ ษย์ได้ เช่ นกัน ส่ งผลกระทบทางการศึกษา ส่ งผลกระทบทาง สุ ขภาพ เป็ นต้น
  • 15. กล่ าวถึ ง การใช้ง านโทรศัพ ท์มื อถื อในช่ ว ง 5-6 ปี ที่ ผ่านมา เพื่ อติ ดต่ อสื่ อสารพูด คุ ย โดยทัวไป ผูใช้จาเป็ นต้องมองหน้าจอโทรศัพท์บางไม่ มากก็น้อย แต่ ในปั จจุ บนเทคโนโลยี ่ ้ ้ ั มากมายถูกนามารวมไว้ในโทรศัพท์มือถือ เพื่อความสะดวกและประโยชน์ใช้สอย ไม่ว่าจะเป็ น การเล่นอินเทอร์ เน็ตผ่านมือถือ การถ่ายภาพ การจัดเอกสารข้อมูล รวมไปถึงการดูโทรทัศน์ ดู หนัง ฟั งเพลง เล่นเกมต่าง ๆ เทคโนโลยีเหล่านี้ทาให้ผูใช้งานต้องมองหน้าจอมือถือมากขึ้น จึง ้ เป็ นที่น่าสนใจว่าการมองหน้าจอโทรศัพท์มือถื อนาน ๆ จะส่ งผลเสี ยต่ อสุ ขภาพ โดยเฉพาะ สุ ขภาพสายตาหรื อไม่ อย่างไร? ก่อนจะทราบถึงผลกระทบของการมองหน้าจอโทรศัพท์มือถือ คงต้ อ งอธิ บ ายถึ ง ส่ วนประกอบและการท างานของหน้ า จอโทรศัพ ท์ มื อ ถื อ กั น ก่ อ น เริ่ มต้นที่ส่วนของหน้าจอ ซึ่ งเป็ นส่ วนแสดงผลของโทรศัพท์ มือถือ หน้าจอที่นิยมใช้กน ั มากในปั จจุบนเป็ นชนิด แอลซี ดี (ลิควิดคริ สตัล ดิสเพลย์) ซึ่ งประกอบไปด้วยชั้นบาง ๆ ระดับ ั ความหนาเป็ นไมครอนมาประกอบกันหลายชั้น คาถามก็คือ การเกิ ดภาพให้เห็นบนหน้าจอ แ ส ด ง ผ ล ไ ด้ นั้ น ท า ไ ด้ อ ย่ า ง ไ ร ส า ม า ร ถ อ ธิ บ า ย ไ ด้ ต่ อ ไ ป นี้ ่ 1. ส่ วนให้แสงสว่าง จะอยูลึกที่สุด ทาหน้าที่ให้แสงหรื อความสว่าง โดยอาจใช้หลอดไฟ เป็ นแบล็กไลต์ หรื อในจอรุ่ นใหม่ ๆ แต่ละจุดบนหน้าจอจะปล่อยแสงออกมาได้ดวยตัวเอง แสง ้ ที่ เ กิ ด ขึ้ นนี้ จะส่ องผ่ า นรู เล็ ก ๆ ขึ้ นมานั บ พั น รู ทั้ งนี้ ขึ้ นอยู่ ก ั บ ขนาดของหน้ า จอ 2. ส่ วนควบคุมการแสดงผล มีลกษณะเป็ นแผ่นวงจรมากมายที่ประมวลผลการแสดง ั ออกมาว่ า จะเป็ นรู ปอะไร แบบใด เช่ น ให้ เ ป็ นเลข 9 หรื อเป็ นตั ว อั ก ษร ก. 3. ส่ วนแสดงผล เป็ นส่ วนที่เป็ นที่มาของชื่ อหน้าจอแอลซี ดี เพราะในส่ วนนี้จะมีลิควิด คริ สตัล หรื อคริ สตัลเหลว เป็ นตัวสาคัญที่ทาให้เกิดภาพ และมีส่วนของคัลเลอร์ ฟิ ลเตอร์ เป็ น ตัวกาหนดสี การเกิดภาพโดยคริ สตัลเหลว ทาได้โดยการปล่อยกระแสไฟฟ้ าจากแบตเตอรี่ ให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงความต่างศักย์ไฟฟ้ าขึ้น คริ สตัลเหลวจะจัดเรี ยงตัวไปปิ ดรู ที่แสงส่ องผ่าน ตามที่ส่วนควบคุ มการแสดงผลกาหนด ทาให้เห็นเป็ นภาพขึ้นมา จากนั้นแสงจะผ่านคัลเลอร์ ฟิ ลเตอร์ กาหนดเป็ นสี ต่าง ๆ เช่น เห็นอักษร A เป็ นแบบตัวเอียงและมีสีน้ าเงิน เป็ นต้น
  • 16. จากส่ วนประกอบดังกล่าว พอจะสรุ ปได้วา จอโทรศัพท์มือถือที่ให้ความสว่างที่เหมาะสม การประมวลผลรวดเร็ว การทางานของคริ สตัลเหลวมีประสิ ทธิภาพ และหน้าจอมีความละเอียด มาก ก็จะให้ภาพที่คมชัด และเนื่องจากการพัฒนาเทคโนโลยีโทรศัพท์มือถือเป็ นไปอย่างรวดเร็ว ทาให้เทคโนโลยีเก่ามีราคาถูกลง โทรศัพท์มือถือรุ่ นใหม่ ๆ ที่หน้าจอแสดงผลคมชัด มีสีสัน สวยงาม จึงมีราคาไม่แพง และเป็ นที่นิยม ดังที่กล่าวมาแล้วว่าปัจจุบนประโยชน์ใช้สอยของโทรศัพท์มือถือมีมากกว่าการสนทนา ั ระหว่างบุคคล รู ปแบบการใช้งานผ่านหน้าจอโทรศัพท์จึงมีมากขึ้น และระยะเวลาในการใช้งาน นานขึ้น บางครั้งก็มีอาการหรื อความรู ้สึกผิดปกติที่เกี่ยวข้องกับการมองเกิดขึ้น จึงเกิดประเด็น สงสัยถึงผลกระทบด้านสุ ขภาพตาในการมองจอโทรศัพท์มือถือเป็ นเวลานาน ๆ ปัญหาทางตาที่พบบ่อยได้แก่ การปวดเมื่อยตา สายตาล้า ภาพไม่ชดเมื่อเปลี่ยนระยะมอง ั หรื อเมื่อเงยหน้าจากจอโทรศัพท์ รู ้สึกแสบตา ตาแห้ง ตาพร่ า ไปจนถึงการกลัวว่ามองหน้าจอ โทรศัพท์นาน ๆ แล้วจอประสาทตาจะเสื่ อม เป็ นต้อกระจก ต้อหิน ทั้งหมดนี้สามารถอธิบายโดย แยกเป็ นประเด็นต่าง ๆ ได้ดงนี้ ั 1.อันตรายต่อดวงตาในแง่ความร้อนและรังสี จากโทรศัพท์มือถือขณะกาลังใช้งาน ่ ั หน้าจอ อาจกล่าวได้วามีอนตรายน้อยมาก เนื่องจากขณะใช้งาน เราถือโทรศัพท์ไว้ที่ระยะการ มองชัด (ระยะอ่านหนังสื อ) โดยอยูห่างจากศีรษะและดวงตาประมาณ 30 เซนติเมตร ซึ่งห่างมาก ่ พอที่พลังงานความร้อนที่เกิดขึ้นและพลังงานจากรังสี ในย่านความถี่ไมโครเวฟที่มีกาลังส่ งต่าอยู่ ่ แล้ว จะส่ งกระทบต่อตาน้อยมาก และจากข้อมูลในปัจจุบน ยังไม่สามารถพิสูจน์ได้วาการใช้งาน ั โทรศัพท์มือถือมีผลทาให้เกิดโรคทางตาที่มีผลต่อการสู ญเสี ยการมองเห็น ประมวลจากองค์ ความรู ้ในขณะนี้ ไม่พบหลักฐานว่าการมองหน้าจอโทรศัพท์มือถือ ทาให้เกิดจอประสาทตา เสื่ อม ต้อกระจก และต้อหิ น
  • 17. 2.อาการต่าง ๆ ที่พบได้แก่ ปวดล้า ตาพร่ า ปรับระยะภาพไม่ชด แสบตา ตาแห้ง อาการต่าง ั ั ๆ เหล่านี้เป็ นผลจากการใช้สายตาที่ไม่เหมาะสม ซึ่งสามารถเกิดขึ้นได้กบการใช้สายตาทัวไป ไม่ ่ เฉพาะกับการมองจอโทรศัพท์มือถือเท่านั้น อาการดังกล่าวเกิดขึ้นได้จากหลายปั จจัย เช่ น อายุ ของผูใช้ การเพ่งมอง ระดับการมองเห็นของแต่ละคน ความผิดปกติ ของค่าสายตาที่มีอยู่เดิ ม ้ ความสว่างของหน้า จอ ขนาดของหน้าจอ ระยะเวลาหรื อความถี่ ในการใช้ง านผ่า นหน้า จอ โทรศัพท์ เป็ นต้น จากงานศึกษาที่ ผูศึกษาได้นามาเป็ นแนวทางในการศึกษานั้น ผูวิจยสรุ ปได้ว่า การใช้ ้ ้ ั โทรศัพท์เคลื่อนที่ ในปั จจุบน มีผลกระทบต่อเยาวชนของประเทศไทยเป็ นอย่างมาก ซึ่ งจะเห็น ั ได้จากงานศึกษาของหลายๆ ท่านที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้นดังนั้นผูวิจย จึงสนใจทาการศึกษา ้ ั ผลกระทบการใช้เทคโนโลยีโทรศัพท์เคลื่อนที่ ของนักเรี ยนโรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม ที่สามารถ เป็ นตัวแทนได้ดี เนื่องจากนักเรี ยนโรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม จะต้องเรี ยนความรู ้ เทคโนโลยีต่างๆ ซึ่ งการวิจยครั้งนี้ จึงเป็ นประเด็นที่น่าสนใจที่จะศึกษา เพื่อกระตุนให้มีการป้ องกัน และแก้ไข ั ้ ปั ญหาที่ส่งผลทั้งทางตรงและทางอ้อม จะเป็ นประโยชน์ต่อนักเรี ยนโรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม และเป็ นประโยชน์ต่อสังคมโดยรวม
  • 18. บทที่ 3 วิธีการดาเนินการศึกษา การศึกษา เรื่ อง “ การศึกษาผลกระทบการใช้เทคโนโลยีโทรศัพท์ เคื่อนที่ของนักเรี ยน โรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม ” เป็ นการศึกษาที่ใช้แนวทางการศึกษาเชิงปริ มาณ เป็ นการศึกษาที่มุ่ง หาความรู ้ ความจริ ง จากข้อมูลเชิ งปริ มาณ เน้นการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็ นตัวเลขโดยนาสถิติ SPSS for Windows (Statistec Package for Social Science for Windows) มาใช้เป็ นเครื่ องมือใน การวิเคราะห์ขอมูล โดยมีการดาเนินการศึกษาอย่างเป็ นระบบ ้ การศึกษารั้งนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาผลกระทบการใช้เทคโนโลยีโทรศัพท์เคื่อนที่ ของนักเรี ยนโรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม โดยจะแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับระเบียบวิธีการศึกษาใน หัวข้อต่อไปนี้ - ประชากรตัวอย่าง และการสุ่ มตัวอย่าง - การเก็บรวบรวมข้อมูล - เครื่ องมือที่ใช้ในการทาวิจยั - สถิติที่ใช้ในการศึกษา - การวิเคราะห์ขอมูล ้ ประชากรตัวอย่ าง ประชากรที่ ใ ช้ ใ นการวิ จ ัย ครั้ งนี้ คื อ นั ก เรี ย นดรงเรี ยนพะเยาพิ ท ยาคม โดยพื้ น ที่ ทาการศึกษา บริ เ วณภายใน โรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม โดยนักเรี ยนโรงเรี ยนพะเยาพิ ทยาคม จานวนทั้งหมด 30 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ใจการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ นักเรี ยนโรงเรี ยนัเยาพิทยาคมชั้นมัธยมศึกษา ตอนปลาย 15 คน และ นักเรี ยนโรงเรี ยนัเยาพิทยาคมชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ซึ่งได้มาโดยการ สุ่ มรวม 15 คน
  • 19. เครื่องมือทีใช้ ในการศึกษา ่ เครื่ องมือที่ใช้ในการศึกษานครั้งนี้คือ แบบทดสอบ โดยสอบถามจากนักเรี ยนโรงเรี ยน พะเยาพิทยาคมทุกชั้นปี ศึกษา จากการสุ่ มโดยผูศึกษาแบบสอบถามนั้นแบ่งออกเป็ น 3 ส่ วนดังนี้ ้ ส่ วนที่ 1 เป็ นแบบสอบถามที่เกี่ยวกับข้อมูลทัวไปเกี่ยวกับนักเรี ยนโรงเรี ยนพะเยาพิทยา ่ คม ได้แก่ เพศ อายุ ชั้นปี การศึกษา ส่ วนที่ 2 เป็ นแบบสอบถามเกี่ยวกับข้อมูลพฤติกรรมการสื่ อสารผ่านเทคโนโลยี โทรศัพท์เคลื่อนที่ของนักเรี ยนโรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม ลักษณะแบบสอบถามที่สร้างขึ้น เป็ น คาถามให้เลือกตอบ ลักษณะคาถามประกอบด้วยข้อความที่เป็ นการให้ความสาคัญต่อปัจจัยใน แต่ละด้าน โดยในแต่ละข้อคาถามมีคาตอบให้เลือก ดังนี้ โทรศัพท์ที่เลือกใช้ เหตุผล ความถี่ ช่วงเวลา สถานที่ ส่ วนที่ 3 เป็ นแบบสอบถามเกี่ยวกับผลกระทบจากการสื่ อสารผ่านเทคโนโลยี โทรศัพท์เคลื่อนที่ของนักเรี ยนโรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม ลักษณะแบบสอบถามที่สร้างขึ่น เป็ น คาถามแบบมาตราส่ วนประมาณค่า ลักษณะคาถามประกอบด้วย ข้อความที่เป็ นผลกระทบที่เกิด กับตนเอง และสังคม มาตรวัดทัศนคิของลิเคอร์ท (Likert Scale) เป็ นมาตรวัดทัศนคติอีกชนิดหนึ่งที่มีผนิยมใช้ ู้ มาก เพราะมีวธีการสร้างง่าย ไม่ตองหาผูเ้ ชี่ยวชาญมาตัดสิ นเพื่อค่าประจาข้อ ไม่ตองคานวณหา ิ ้ ้ ค่าประข้อ มีความเชื่อถือได้สูงมาก ใช้เพียงมี่ขอก็จะหาค่าความเชื่อถือได้สูงพอๆกับเทคนิคอื่น ้ ในแต่ละคาถามมีคาตอบให้เลือก 2 ระดับ คือ มากที่สุด มาก น้อย น้อยที่สุด และไม่มีผลกระทบ มีเกณฑ์การให้คะแนนในแต่ละระดับ ดังนี้
  • 20. ระดับความคิดเห็น คะแนน มากที่สุด 5 มาก 4 น้อย 3 น้อยที่สุดๆ 2 ไม่มีผลกระทบ 1 การเก็บรวบรวมข้ อมูล ผูศึกษา ทาการค้นคว้า และศึกษาข้อมูลจาก ้ 1. ข้อมูลจากเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ เว็บไซด์บนกูเกิลเว็บไซต์ ( Google.com ) โดย การพิมพ์หน้าเว็บเพจ เกี่ยวกับเทคโนโลยีโทรศัพท์เคลื่อนที่ ประวัติของโทรศัพท์เคลื่อนที่ และ ผลกระทบการใช้โทรศัพท์ 2. ข้อมูลจากการสัมภาษณ์นิสิตตัวอย่างอย่างไม่เป็ นทางการ (Non Formal Interview) โดยสัมภาษณ์จากโทรศัพท์มือถือเคลื่อนที่และจากการใช้โปรแกรมสนทนา Msn Messenger 3. ข้อมูลจากที่ผศึกษาได้ทาการแจกแบบสอบถาม เพื่อสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างซึ่ งเป็ นผูท่ี ู้ ้ ั เคยใช้เทคโนโลยีโทรศัพท์เคลื่อนที่โดยที่ทาการแจกแบบสอบถามให้กบนักเรี ยนโรงเรี ยนพะเยา พิทยาคม โดยผูศึกษาทาการอธิบายวัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้ เพื่อให้ผตอบแบบสอบถาม ้ ู้ ได้เ ข้า ใจก่ อ นให้ ท าการตอบแทนสอบถามและเพื่ อ ป้ องกัน ความผิ ด พลาดของการตอบ แบบสอบถาม
  • 21. สถิติทใช้ ในการศึกษา ี่ ผูศึกษานาข้อมูลที่ได้จากการตอบแบบสอบถามของกลึ่มประชากรตัวอย่าง จานวน 25 ้ ชุด มาวิเคราะห์โดยใช้คอมพิวเตอร์ และโปรแกรม SPSS for Windows (Statistic Package for Social Scienec for Windows) ค่าสถิติที่ใช้เป็ นสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ 1. ค่าความถี่ ใช้ในการวิเคราะห์ขอมูลทัวไปของผูตอบแทนสอบถาม ใช้ในการวิเคราะห์ ้ ่ ้ เกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้โปรแกรมการใช้โปรแกรมสนทนาผ่านคอมพิวเตอร์ และใช้ในการ วิเคราะห์เกี่ยวกับทัศนคติและผลกระทบที่มีต่อการใช้เทคโนโลยีโทรศัพท์เคลื่อนที่ของนักเรี ยน โรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม 2. ค่าร้อยละ ใช้ในการวิเคราะห์ขอมูลทัวไปของผูตอบแบบสอบถามใช้ในการวิเคราะห์ ้ ่ ้ เกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีโทรศัพท์เคลื่อนที่ และใช้ในการวิเคราะห์เกี่ยวกับทัศนคติ และผลกระทบ ที่มีต่อการใช้เทคโนโลยีโทรศัพท์เคลื่อนที่ของนักเรี ยนโรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม 3. ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตใช้ในการวิเคราะห์เกี่ยวกับทัศนคติ และผลกระทบที่มีต่อการใช้ เทคโนโลยีโทรศัพท์เคลื่อนที่ของนักเรี ยนโรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม 4. ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ใช้ในการวิเคราะห์เกี่ยวกับทัศนคติและผลกระทบที่มีต่อการใช้ เทคโนโลยีโทรศัพท์เคลื่อนที่ของนักเรี ยนโรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม
  • 22. การวิเคราะห์ ข้อมูล ในการวิเคราะห์ขอมูล หลังจากที่ได้เก็บรวบรวมแบบสอบถามกลับคืนมาจานวน 30 ชุด ้ ตามจานวนที่ทาการศึกษาแล้ว ผูศึกษาได้นาแบบสอบถามที่ได้มาดาเนินการดังนี้ ้ 1. ตรวจสอบข้อมูล ด้วยการตรวจสอบความสมบูรณ์ และความสอดคล้องของคาตอบใน การสอบถามทุกข้อทุกประเด็น ทาการแยกแบบสอบถามที่ไม่สมบูรณ์ออก แต่เนื่องจากผูศึกษา ้ อธิ บายวัตถุประสงค์ของการวิจยก่อนให้กลุ่มประชากรตัวอย่างตอบแบบสอบถามจึงทากลุ่ม ั ประชากรตัวอย่างมีความเข้าใจในข้อคาถามทุกข้อ จึงทาให้แบบสอบถามไม่มีความผิดพลาด 2. การลงรหัส นาข้อมูลที่ได้มาทาการลงรหัส ในโปรแกรม SPSS for Windows เพื่อทา การประมวลผลใน่ข้ นตอนต่อไป ั 3. การประมวลผลข้อมูล ข้อมูลที่ ลงรหัสแล้ว จะนาไปสู่ การวิเคราะห์ขอมูล โดยใช้ ้ เครื่ องคอมพิวเตอร์ ในการวิเคราะห์ขอมูลและใช้เครื่ องคอมพิวเตอร์ ในการประมวลผลข้อมูล ้ ด้วยโปรแกรมสาเร็ จรู ปเพื่อการวิจยทางสังคมศาสตร์ (SPSS for Windows) (Statistic Package ั for Social Science for Windows)
  • 23. บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล การศึกษาครั้งนี้มุ่งศึกษาผลกระทบการใช้เทคโนโลยีโทรศัพท์สื่อสาร ของนักเรี ยน โรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม คณะผูศึกษาได้นาเสนอผลการวิเคราะห์ขอมูลตามลาดับของ ้ ้ จุดมุ่งหมายเป็ น 3 ตอนดังนี้ ส่ วนที่ 1 ข้อมูลทัวไป ่ ส่ วนที่ 3 ผลกระทบจากการสื่ อสารผ่านเทคโนโลยีโทรศัพท์เคลื่อนที่ ส่ วนที่ 1 การวิเคราะห์ขอมูลทัวไป ้ ่ ตารางที่ 1 แสดงจานวนร้อยละสถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม ้ ข้ อ รายการ จานวน ร้ อยละ 1. เพศ ชาย 26 คน 43.33 หญิง 34 คน 56.67 2. ช่วงชั้นปี การศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 8 คน 13.33 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 4 คน 6.67 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 21 คน 35 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 4 คน 6.67 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 23 คน 38.33 รวม 60 100 จากตารางที่ 2 พบว่าข้อมูลทัวไปของผูตอบแบบสอบถามมีรายละเอียดดังนี้ เพศ พบว่า ่ ้ ส่ วนมากเป็ นเพศหญิง ร้อยละ56.67 เป็ นเพศชาย ร้อยละ 43.33 ช่วงชั้นปี พบว่า ชั้นมัธยมศึกษา
  • 24. ปี ที่ 1 ร้อยละ 13.33 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ร้อยละ 6.67 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ร้อยละ 35 ชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ 4 ร้อยละ 6.67 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 ร้อยละ 38.33 ส่ วนที่ 2 ข้อมูลพฤติกรรมการสื่ อสารผ่านเทคโนโลยีโทรศัพท์เคลื่อนที่ของนักเรี ยน โรงเรี ยนพะเยาพิทยาคม จาแนก โทรศัพท์ที่เลือกใช้ เหตุผลที่ใช้ ระยะเวลาที่ใช้โทรศัพท์สื่อสาร ตารางที่ 2 ยีหอโทรศัพท์ที่นกเรี ยนโรงเรี ยนพะเยาพิทยาคมเลือกใช้ ่ ้ ั ข้ อ รายการ จานวน ร้ อยละ 1. SAMSUNG 19 31.67 2. iPhone 4 6.66 3. i-moble 2 3.33 4. NOKIA 24 40 5. LG 1 1.67 6. Back Berry 10 16.67 รวม 60 100 จากตาราง ยี่ห้อโทรศัพท์ที่นักเรี ยนโรงเรี ยนพะเยาพิทยาคมเลือกใช้ โดยมีรายละเอียดดังนี้ SAMSUNGร้อยละ 31.67 iPhone ร้อยละ 6.66 i-moble ร้อยละ 3.33 NOKIA ร้อยละ 40 LG ร้อยละ 1.67 Back Berry ร้อยละ 16.67 เหตุผลที่นกเรี ยนเลือกใช้โทรศัพท์ มีเหตุผลหลักคือ ั เพื่อติดต่อสื่ อสาร รองลงมาคือ เล่น facebook ส่ วนระยะเวลาที่ใช้โทรศัพท์ อันดับแรก คือ ช่วง 14.00 - 17.00 น . อันดับที่ 2คือช่วง 11.00 - 14.00 น.
  • 25. ส่ วนที่ 3 ข้อมูลผลกระทบจากการสื่ อสารผ่านเทคโนโลยีโทรศัพท์เคลื่อนที่ ตารางที่ 3 เหตุผลที่นกเรี ยนโรงเรี ยนพะเยาพิทยาคมเลือกใช้เทคโนโลยีโทรศัพท์สื่อสาร ั ข้ อ รายการ ˉ x S.D 1. การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตช้า 3.58 1.5 2. โทรศัพท์มีขนาดเล็ก หลุดมือง่าย 2.92 1.2 3. มีอาการปวดหูเมื่อคุยโทรศัพท์นาน 3.38 1.4 4. มีอาการหมกหมุ่นอยูกบโทรศัพท์มากเกินไป ่ ั 3.2 1.3 5. มีอาการปวดตาเมื่อมองหน้าจอนาน 3.13 1.3 6. ปวดคอที่ตองก้มมองหน้าจอโทรศัพท์ ้ 2.88 1.2 7. ทาให้เสี ยอารมณ์ เมือแบตเตอรี่ โทรศัพท์มือถือหมด 3.48 1.4 8. ทาให้เสี ยอารมณ์ และเสี ยสมาธิ 3.11 1.3 9. ทาให้เกิดอุบติเหตุเนื่องจรากจดจ่อกับโทรศัพท์มาก ั 3.05 1.3 เกินไป รวมเฉลี่ย 3.19 1.3 จากตาราง 3 แสดงค่าเฉลี่ยของ สถิติและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานได้ 3.19 และ 1.3 ตามลาดับ
  • 26. บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะ สรุปผลการศึกษา จากการศึกษาพฤติ กรรมการใช้เทคโนโลยีโทรศัพท์เคลื่อนที่ นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษา ตอนต้นและนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายของโรงเรี ยนพะเยาพิทยาคมพบว่าพฤติกรรมการ ใช้โทรศัพท์มือถือของวัยรุ่ นในปั จจุ บนถื อว่าเป็ นวัฒนธรรมใหม่ ของวัยรุ่ นไปแล้วเนื่ องจาก ั โทรศัพท์มือถือเป็ นเครื่ องมือที่ แ สดงให้เห็ นถึ งสถานะทางสังคมและความโก้เก๋ ของวัยรุ่ นที่ ต้องการจะเปลี่ยนโทรศัพท์บ่อยๆเพราะว่าไม่อยากใช้โทรศัพท์ที่ตกรุ่ นกลัวว่าจะไม่ทดเทียมกับ ั เพื่อนและโทรศัพท์มือถือยังทางานได้หลากหลายแลสะดวกสบายมากขึ้นทาให้วยรุ่ นใช้เวลาใน ั แต่ละวันอยูกบโทรศัพท์มือถือเป็ นส่ วนใหญ่จนไม่ค่อยสนใจผูคนรอบข้างจึงทาให้วยรุ่ นเห็นว่า ่ ั ้ ั โทรศัพท์มือถือเป็ นสิ่ งสาคัญสาหรับการใช้ชีวิตประจาวันและพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์มือถือ ของวัยรุ่ นก่อให้เกิดผลกระทบต่างๆตามมาไม่ว่าจะเป็ นผลกระทบต่อสังคมและผลกระทบต่อ สุ ขภาพ อภิปรายผลการศึกษา จากการศึกษาพบว่า ยี่ห้อโทรศัพท์ที่นักเรี ยนโรงเรี ยนพะเยาพิทยาคมเลื อกใช้ โดยมี รายละเอียดดังนี้ SAMSUNGร้อยละ 31.67 iPhone ร้อยละ 6.66 i-moble ร้อยละ 3.33 NOKIA ร้อยละ 40 LG ร้อยละ 1.67 Back Berry ร้อยละ 16.67 เหตุผลที่นกเรี ยนเลือกใช้ ั โทรศัพท์ มีเหตุผลหลักคื อ เพื่อติดต่อสื่ อสารรองลงมาคือ เล่น facebook ส่ วนระยะเวลาที่ใช้ โทรศัพท์ อันดับแรก คือ ช่วง 14.00 - 17.00 น . อันดับที่ 2คือช่วง 11.00 - 14.00 น.
  • 27. บรรณานุกรม รัชนี ภารา. (2546) รู ปแบบสื่ อโฆษณาที่มีผลต่อการตัดสิ นใจเลือกซื้อระบบเครื อข่าย โทรศัพท์มือถือของ ผูบริ โภค การค้นคว้าอิสระ หลักสู ตรบริ หารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการ ้ จัดการธุรกิจทัวไป, มหาวิทยาลัยรังสิ ต ่ อติพร ก่อเกียรติพงศ์. (2547) การศึกษาพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ในวัยรุ่ นในเขต กรุ งเทพมหานคร.การค้นคว้าอิสระ หลักสู ตรบริ หารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ ธุรกิจผ่านอิเล็กทรอนิกส์, มหาวิทยาลัยรังสิ ต การใช้อินเทอร์เน็ตจากโทรศัพท์ “Smart Phone” และโทรศัพท์ทวไปการเติบโตของอินเทอร์เน็ต ั่ บน โทรศัพท์มือถือรายงานยอดขาย “Smart Phone” ทัวโลกสถิติผใช้ “Smart Phone” เพื่อ ่ ู้ เข้าถึงบริ การ “เครื อข่ายสังคมออนไลน์” http://worawisut.com/2 0 10 / 0 2 / 1 5 / mobile-internet-boom-by-smartphone/
  • 29. ตัวอย่ างแบบสอบถาม โปรดทาเครื่องหมาย () ลงในช่ อง (เลือกตอบเพียงข้ อเดียว) ส่ วนที่ 1 ข้ อมูลทัวไป ่ 1. เพศ ชาย หญิง 2. อายุ..........ปี ่ ั 3. ศึกษาอยูช้ นมัธยมศึกษาปี ที่.......... ส่ วนที่ 2 ข้ อมูลพฤติกรรมการสื่ อสารผ่ านเทคโนโลยีโทรศัพท์ เคลือน ่ 1. โทรศัพท์ที่ท่านเลือกใช้............................ 2. เหตุผลที่ใช้ เหตุผลทีใช้ ่ ใช่ ไม่ ใช่ ใช้โทรเข้า - ออก ใช้เข้าหาข้อมูลที่ตองการ ้ ใช่เล่น Facebook ใช้แชท Line ใช้เล่น Twitter เล่นแชท BB อื่นๆ 3. ระยะเวลาที่ใช้โทรศัพท์สื่อสาร ก่อน 11.00 น. 11.00 - 14.00 น. 14.00 - 17.00 น. 17.00 - 20.00 น. 20.00 - 23.00 น. อื่นๆ.........................................................
  • 30. ส่ วนที่ 3 ผลกระทบจากการสื่ อสารผ่านเทคโนโลยีโทรศัพท์เคลือนที่ ่ ระดับความคิดเห็น ปัญหาที่มีผล 5 4 3 2 1 การเชื่อมต่ออินเทอร์ เน็ตช้า โทรศัพท์มีขนาดเล็ก หลุดมือง่าย เริ่ มมีอาการปวดหูเมื่อคุยโทรศัพท์นานๆ มีอาการหมกหมุ่นอยูกบโทรศัพท์มือถือมาก ่ ั เกินไป มีอาการปวดตาเมื่อมองหน้าจอนานๆ ปวดคอที่จะต้องก้มมองหน้าจอโทรศัพท์ ทาให้เสี ยอารมณ์ เมื่อแบตเตอรี่ โทรศัพท์มือถือหมด ทาให้เสี ยอารมณ์และสมาธิ ทาให้เกิดอุบติเหตุเนื่ องจากจดจ่อกับ ั โทรศัพท์มากเกินไป