SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
1
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
อาจารย์ศรีอร เจนประภาพงศ์
ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
4 มกราคม 2557
ในสังคมปัจจุบันผู้ที่มีทักษะการรู้สารสนเทศจะเป็นผู้ได้เปรียบเพราะเขาสามารถ
วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศของตนเองได้ สามารถเข้าถึงสารสนเทศที่มีอยู่อย่าง
หลากหลายในแหล่งต่างๆ ได้ สามารถประเมินคุณค่า วิเคราะห์ และสังเคราะห์สารสนเทศ
ได้ ตลอดจนสามารถบูรณาการองค์ความรู้ใหม่และใช้สารสนเทศได้ภายใต้กฏกติกาของ
จริยธรรมสารสนเทศ
ดังนั้นกระบวนการการพัฒนาทักษะการรู้สารสนเทศนั้น ผู้ใช้จาเป็นต้องสร้างทักษะ
ในการวิเคราะห์หรือกาหนดความต้องการสารสนเทศ เพื่อกาหนดขอบเขต และลักษณะของ
สารสนเทศที่ต้องการ จึงจะสามารถวางแผนการค้นหาสารสนเทศที่ต้องการได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ โดยมีขั้นตอน ดังนี้
1. ถามตนเองว่าต้องการสารสนเทศไปทาไม / เพื่ออะไร (Goal) เพื่อทา
การบ้าน ส่งผู้สอน ทาโครงงาน/รายงาน ตอบข้อสงสัยหรือแก้ไขปัญหาตน
ตอบสนองตามความสนใจตน เพื่องานวิชาการ เพื่อความเจริญก้าวหน้าในอาชีพการ
งาน ฯลฯ ซึ่งวัตถุประสงค์ข้างต้นจะส่งผลต่อจานวนสารสนเทศ ระดับของสารสนเทศ
และลักษณะสารสนเทศที่จะค้นหาต่อไป
2. เลือก หรือกาหนดหัวข้อที่จะค้นคว้า (Topic) โดยยึดขอบเขตเนื้อหาของ
เรื่องที่เราต้องการว่าต้องการสารสนเทศกว้าง หรือเฉพาะเจาะจงลงไปในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
ต้องการสารสนเทศที่ทันสมัย (ดูว่าเรื่องที่ต้องการเป็นสาขาวิชาใด) หรือ ต้องการสารสนเทศ
ช่วงระยะเวลาใด นอกจากนั้นก็อาจกาหนดว่าจะใช้ ทรัพยากรสารสนเทศประเภทใด
อาทิ หนังสือ บทความในวารสาร เว็บไซต์ e-Journal ฯลฯ หรือแหล่งสารสนเทศ
ใดจึงจะเหมาะสม
2
3. กาหนดแนวคิด (Concept) และ คาสาคัญ (Keyword) เป็นการ
ระดมความคิดเพื่อกาหนดและเชื่อมโยงประเด็นแนวคิดหลัก และแนวคิดรอง เพื่อตอบโจทย์
ในเรื่องที่เราต้องการศึกษาค้นคว้า โดยใช้วิธีการ
1) ตั้งคาถาม “ใคร ทาอะไร ที่ไหน เมื่อไหร่ อย่างไร ทาไม”
2) แปลงคาถาม เป็น แนวคิด (Concept) โดยใช้แผนผังความคิด
(Mindmap) มาช่วย
3) กาหนดลักษณะของสารสนเทศที่ต้องการตามประเด็นที่กาหนดไว้แล้ว
คาถาม/ประเด็นแนวคิด ลักษณะสารสนเทศ
อะไร
ความหมาย
คา
คาอธิบาย การสะกด การออกเสียง คา
เหมือน คาตรงข้าม คาตอบสั้น ๆ
ฯลฯ
ความหมาย
สิ่งของ สัตว์ พืช
สถานการณ์
ข้อมูลเบื้องต้น ภูมิหลัง ตัวเลข สถิติ
ภาพ เสียง ทฤษฎี ข้อเท็จจริง
คาตอบสั้นๆ ฯลฯ
ใคร บุคคล หน่วยงาน ประวัติ ภูมิหลัง ภาพ ที่อยู่ ผลงาน เสียง
ฯลฯ
ที่ไหน สถานที่ ที่ตั้ง ประวัติ ความเป็นมา ตานาน แผนที่
แผนผัง ภาพ ข้อเท็จจริง ตัวเลข ฯลฯ
เมื่อไหร่ เหตุการณ์ ยุคสมัย
แนวโน้ม
ประวัติ พัฒนาการ ข้อเท็จจริง สถิติ
ตัวเลข ภาพ เสียง แผนภูมิ แผนที่ สารสนเทศที่
เป็นปัจจุบัน ฯลฯ
3
คาถาม/ประเด็นแนวคิด ลักษณะสารสนเทศ
อย่างไร ขั้นตอน วิธีการ รายละเอียดการปฏิบัติ วิธีการทา สูตร
คาอธิบาย แผนภูมิ แผนผัง ภาพ ฯลฯ
ทาไม เหตุผล เป้าหมาย
วัตถุประสงค์ ผลกระทบ
ความเป็นมา สภาพปัญหา สภาพการณ์
ข้อเท็จจริง สถิติ ตัวเลข ฯลฯ
4) กาหนดคาสาคัญ (Keyword) เพื่อใช้เป็นคาค้นในการสืบค้น
4
ตัวอย่าง
การกาหนดประเด็นแนวคิดและลักษณะสารสนเทศที่ต้องการจาก
คาถามเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
คาถาม ประเด็นแนวคิด ลักษณะสารสนเทศ
1. โครงการอันเนื่องมาจาก
พระราชดาริจัดตั้งขึ้นมาเพื่อ
อะไร
หลักการ เหตุผล
วัตถุประสงค์
ข้อเท็จจริง คาอธิบาย
2. อยากทราบว่าโครงการอัน
เนื่องมาจากพระราชดาริเริ่มมี
ขึ้นตั้งแต่เมื่อไร
ความเป็นมา ประวัติ
ข้อมูลเบื้องต้น
ภูมิหลัง
3. มีใครบ้างที่เกี่ยวข้องและ
เป็นผู้รับผิดชอบประสานงาน
การดาเนินงานโครงการ
ผู้ริเริ่ม
ผู้รับผิดชอบ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ข้อเท็จจริง
รายละเอียด
ผลงาน
4. โครงการนี้เกี่ยวข้องกับการ
พัฒนาในด้านใดบ้าง ต้องการ
ตัวอย่างประกอบให้เห็น
ชัดเจน
ประเภท ข้อเท็จจริง
แผนภูมิ
คาอธิบาย
5. ขั้นตอนการดาเนินงานของ
โครงการเป็นอย่างไร
ขั้นตอน
วิธีการ
แผนภูมิ วิธีการ ภาพ
รายละเอียดการปฏิบัติ
6. ข้อมูลและแนวโน้มของการ
ดาเนินงานโครงการในรอบ 5
ปีที่ผ่านมาเป็นอย่างไร
แนวโน้ม
พัฒนาการ
ข้อเท็จจริง
สถิติ กราฟ
แผนภูมิ แผนที่
7. พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติห้วย
ฮ้องไคร้ :การแสวงหาความรู้
เชิงพัฒนาอันเนื่องมาจาก
พระราชดาริ มีลักษณะ
อย่างไร
ตัวอย่างโครงการ ข้อเท็จจริง
ภาพ
แผนที่
วีดิทัศน์
5
การวางโครงเรื่อง
โครงเรื่องเป็นกรอบ/ขอบเขตของใจความสาคัญที่กาหนดไว้ เพื่อใช้เป็นแนวทางใน
การเรียบเรียงเนื้อหาให้ต่อเนื่องและสัมพันธ์กัน ซึ่งอาจจัดลาดับเนื้อหาตามเหตุการณ์ที่
เกิดขึ้นก่อน-หลัง เหตุผล ความสาคัญ ความเข้าใจ และทิศทางหรือสถานที่
และยังช่วยให้ทราบขอบเขตของการเก็บข้อมูลอีกด้วย
โครงเรื่องจะมีลักษณะคล้ายหน้าสารบัญ ซึ่งโครงเรื่องที่ดีจะต้องมีลักษณะ ดังนี้
1. ประกอบด้วย ชื่อเรื่องรายงาน หัวข้อใหญ่ หัวข้อรอง และหัวข้อย่อย (ถ้ามี)
2. ชื่อหัวข้อ ควรสั้นกะทัดรัดได้ใจความ ครอบคลุมเนื้อหาตอนนั้นโดยเฉพาะ
3. หัวข้อต่าง ๆ เรียงลาดับอย่างต่อเนื่องสัมพันธ์กัน กล่าวคือ หัวข้อใหญ่สัมพันธ์กับชื่อ
เรื่องของรายงาน หัวข้อรองสัมพันธ์กับหัวข้อใหญ่ และหัวข้อย่อยสัมพันธ์กับหัวข้อรอง
4. โครงเรื่องควรเขียนอย่างเป็นระเบียบ สะดวกแก่การอ่านและทาความเข้าใจ ทั้งนี้ใช้
ตัวเลขและย่อหน้าให้พอเหมาะ กล่าวคือหัวข้อที่มีความสาคัญเท่ากันจะต้องอยู่ตรงกันใช้
ตัวเลขแบบเดียวกัน หัวข้อย่อยย่อหน้าลึกเข้าไปกว่าหัวข้อใหญ่ ดังตัวอย่าง
ชื่อเรื่องรายงาน
1. หัวข้อใหญ่
1.1 หัวข้อรอง
1.1.1 หัวข้อย่อย
1.1.2 หัวข้อย่อย
1.1.3 หัวข้อย่อย
1.2 หัวข้อรอง
1.2.1 หัวข้อย่อย
1.2.2 หัวข้อย่อย
2. หัวข้อใหญ่
6
ตัวอย่าง โครงเรื่องที่ดี
ภาพยนตร์
1. ประวัติศาสตร์ภาพยนตร์
2. ประเภทของภาพยนตร์
2.1 เน้นฉาก
2.2 เน้นอารมณ์
2.3 เน้นรูปแบบ
2.4 ตัวอย่างภาพยนตร์
3. ค่ายภาพยนตร์
3.1 ในประเทศไทย
3.2 ในต่างประเทศ
4. อิทธิพลของภาพยนตร์
7
ตัวอย่าง โครงเรื่องที่ดี
ช้างไทย
1. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับช้าง
1.1 กาเนิดช้าง
1.2 ความสาคัญของช้าง
1.3 ลักษณะของช้าง
2. ช้างกับศิลปวัฒนธรรมไทย
2.1 ช้างกับพุทธศาสนา
2.2 ช้างกับวรรณกรรม
2.3 ช้างกับการแสดง
2.4 ช้างกับของชาร่วย
3. การอนุรักษ์ช้างไทย
8
บรรณานุกรม
การเขียนรายงานเชิงวิชาการ. (ม.ป.ป.). สืบค้นจาก
http://it.acc.chula.ac.th/uploads/down/17/แนวทางการเขียนรายงานเชิงวิชาการ.pdf
คู่มือผู้สอนวิชา 000130 ทักษะการรู้สารสนเทศ (Information Literacy skills). (2551).
สืบค้นจาก www.rtc.ac.th/download/ar250951/130-teachermanual-51.doc
เอกสารประกอบการสอนวิชา 00-021-101 การรู้สารสนเทศ (Information Literacy). (2553).
สืบค้นจาก http://dc250.4shared.com/doc/KcmiFpRT/preview.html
*******************

More Related Content

What's hot

บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้Srion Janeprapapong
 
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศบทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศPa'rig Prig
 
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศบท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศPa'rig Prig
 
พฤติกรรมสารสนเทศ
พฤติกรรมสารสนเทศพฤติกรรมสารสนเทศ
พฤติกรรมสารสนเทศNuttaput Suriyakamonphat
 
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดChuleekorn Rakchart
 
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศการวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศsupimon1956
 
ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้Saipanyarangsit School
 
บทที่ 1 สารสนเทศ
บทที่ 1 สารสนเทศบทที่ 1 สารสนเทศ
บทที่ 1 สารสนเทศPa'rig Prig
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศSrion Janeprapapong
 
2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material
2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material
2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate materialPloykarn Lamdual
 
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศหน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
กลุ่มมี่charpter
กลุ่มมี่charpterกลุ่มมี่charpter
กลุ่มมี่charpterOdosa Kasida
 
Information seeking behavior
Information seeking behaviorInformation seeking behavior
Information seeking behaviorpayu008
 
4 ลักษณะของสารสนเทศที่ดี (ใบความรู้)
4 ลักษณะของสารสนเทศที่ดี (ใบความรู้)4 ลักษณะของสารสนเทศที่ดี (ใบความรู้)
4 ลักษณะของสารสนเทศที่ดี (ใบความรู้)phatrinn555
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศNonglak Yuttasinsewee
 
ระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
ระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
ระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศNuttaput Suriyakamonphat
 

What's hot (20)

บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
 
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศบทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
 
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศบท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
 
พฤติกรรมสารสนเทศ
พฤติกรรมสารสนเทศพฤติกรรมสารสนเทศ
พฤติกรรมสารสนเทศ
 
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
 
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศการวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
 
ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
 
บทที่ 1 สารสนเทศ
บทที่ 1 สารสนเทศบทที่ 1 สารสนเทศ
บทที่ 1 สารสนเทศ
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
 
น 13 พฤติกรรมสารสนเทศ.2
น 13 พฤติกรรมสารสนเทศ.2น 13 พฤติกรรมสารสนเทศ.2
น 13 พฤติกรรมสารสนเทศ.2
 
2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material
2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material
2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material
 
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศหน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
 
กลุ่มมี่charpter
กลุ่มมี่charpterกลุ่มมี่charpter
กลุ่มมี่charpter
 
Information seeking behavior
Information seeking behaviorInformation seeking behavior
Information seeking behavior
 
Information service and dissemination
Information service and disseminationInformation service and dissemination
Information service and dissemination
 
4 ลักษณะของสารสนเทศที่ดี (ใบความรู้)
4 ลักษณะของสารสนเทศที่ดี (ใบความรู้)4 ลักษณะของสารสนเทศที่ดี (ใบความรู้)
4 ลักษณะของสารสนเทศที่ดี (ใบความรู้)
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
 
ระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
ระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
ระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
 

Viewers also liked

การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑bensee
 
เรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อนเรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อนBangk Thitisak
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บเกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บSrion Janeprapapong
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศPaweena Kittitongchaikul
 
ทรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศทรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศอิ่' เฉิ่ม
 
แผนการเรียนรู้สุภาษิต
แผนการเรียนรู้สุภาษิตแผนการเรียนรู้สุภาษิต
แผนการเรียนรู้สุภาษิตyaowarat Lertpipatkul
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานPawarit Jitakul
 
ปกโครงงานกล้อง
ปกโครงงานกล้องปกโครงงานกล้อง
ปกโครงงานกล้องkrupornpana55
 
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญPiyarerk Bunkoson
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความขนิษฐา ทวีศรี
 
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001Thidarat Termphon
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานThitaree Permthongchuchai
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงChok Ke
 
โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์xavi2536
 
เรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆ
เรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆเรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆ
เรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆRujira Meechin
 
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก) โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก) Np Vnk
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศmaerimwittayakom school
 

Viewers also liked (20)

การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
 
เรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อนเรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อน
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บเกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ทรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศทรัพยากรสารสนเทศ
ทรัพยากรสารสนเทศ
 
689 2
689 2689 2
689 2
 
แผนการเรียนรู้สุภาษิต
แผนการเรียนรู้สุภาษิตแผนการเรียนรู้สุภาษิต
แผนการเรียนรู้สุภาษิต
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
ปกโครงงานกล้อง
ปกโครงงานกล้องปกโครงงานกล้อง
ปกโครงงานกล้อง
 
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
 
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผง
 
โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์
 
เรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆ
เรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆเรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆ
เรื่อง มหัศจรรย์เรื่องกล้วยๆ
 
โครงงานสังคม ม.ปลาย
โครงงานสังคม ม.ปลายโครงงานสังคม ม.ปลาย
โครงงานสังคม ม.ปลาย
 
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก) โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 

Similar to เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ

สารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน บทที่ 3
สารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน บทที่ 3สารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน บทที่ 3
สารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน บทที่ 3Sakonwan Na Roiet
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 
Cognitive tols for open ended learning environments1
Cognitive tols for open ended learning environments1Cognitive tols for open ended learning environments1
Cognitive tols for open ended learning environments1Jiraporn Talabpet
 
46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้าน
46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้าน46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้าน
46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้านPochchara Tiamwong
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4dechathon
 
ค่ากลางปี
ค่ากลางปีค่ากลางปี
ค่ากลางปีanutree pankulab
 
Work4 cognitive tools for open ended
Work4 cognitive tools for open endedWork4 cognitive tools for open ended
Work4 cognitive tools for open endedsaowana
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติการวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติSambushi Kritsada
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1dechathon
 
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์ไชยยา มะณี
 
การค้นหาข้อมูลความรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลความรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลความรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลความรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตKanokkorn Harsuk
 
Chapter4 lecture
Chapter4 lectureChapter4 lecture
Chapter4 lecturesupimon1956
 

Similar to เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ (20)

สารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน บทที่ 3
สารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน บทที่ 3สารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน บทที่ 3
สารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน บทที่ 3
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
Cognitive tols for open ended learning environments1
Cognitive tols for open ended learning environments1Cognitive tols for open ended learning environments1
Cognitive tols for open ended learning environments1
 
46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้าน
46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้าน46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้าน
46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้าน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
 
Chapter6
Chapter6Chapter6
Chapter6
 
ค่ากลางปี
ค่ากลางปีค่ากลางปี
ค่ากลางปี
 
Work4 cognitive tools for open ended
Work4 cognitive tools for open endedWork4 cognitive tools for open ended
Work4 cognitive tools for open ended
 
knowledgebasesociety
knowledgebasesocietyknowledgebasesociety
knowledgebasesociety
 
Learning media 4 oct 2014
Learning media 4 oct 2014Learning media 4 oct 2014
Learning media 4 oct 2014
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
 
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติการวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
 
123
123123
123
 
123
123123
123
 
การค้นหาข้อมูลความรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลความรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลความรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลความรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
 
Chapter4 lecture
Chapter4 lectureChapter4 lecture
Chapter4 lecture
 

More from Srion Janeprapapong

การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...Srion Janeprapapong
 
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556Srion Janeprapapong
 
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาSrion Janeprapapong
 
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ Srion Janeprapapong
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWSrion Janeprapapong
 
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)Srion Janeprapapong
 
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resourcesการสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference ResourcesSrion Janeprapapong
 
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศเทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 
สารานุกรม (Encyclopedias)
สารานุกรม  (Encyclopedias)สารานุกรม  (Encyclopedias)
สารานุกรม (Encyclopedias)Srion Janeprapapong
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)Srion Janeprapapong
 
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรมบทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรมSrion Janeprapapong
 
พจนานุกรม (Dictionaries)
พจนานุกรม  (Dictionaries)พจนานุกรม  (Dictionaries)
พจนานุกรม (Dictionaries)Srion Janeprapapong
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWSrion Janeprapapong
 
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนบทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนSrion Janeprapapong
 
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resourcesเกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resourcesSrion Janeprapapong
 
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ตการประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ตSrion Janeprapapong
 
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืนวิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืนSrion Janeprapapong
 

More from Srion Janeprapapong (20)

การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
 
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
 
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
 
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
 
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
 
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resourcesการสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
 
สารานุกรม
สารานุกรมสารานุกรม
สารานุกรม
 
พจนานุกรม
พจนานุกรมพจนานุกรม
พจนานุกรม
 
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศเทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
สารานุกรม (Encyclopedias)
สารานุกรม  (Encyclopedias)สารานุกรม  (Encyclopedias)
สารานุกรม (Encyclopedias)
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
 
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรมบทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
 
พจนานุกรม (Dictionaries)
พจนานุกรม  (Dictionaries)พจนานุกรม  (Dictionaries)
พจนานุกรม (Dictionaries)
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
 
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนบทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
 
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resourcesเกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
 
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ตการประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
 
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืนวิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
 

เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ

  • 1. 1 หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ อาจารย์ศรีอร เจนประภาพงศ์ ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556 4 มกราคม 2557 ในสังคมปัจจุบันผู้ที่มีทักษะการรู้สารสนเทศจะเป็นผู้ได้เปรียบเพราะเขาสามารถ วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศของตนเองได้ สามารถเข้าถึงสารสนเทศที่มีอยู่อย่าง หลากหลายในแหล่งต่างๆ ได้ สามารถประเมินคุณค่า วิเคราะห์ และสังเคราะห์สารสนเทศ ได้ ตลอดจนสามารถบูรณาการองค์ความรู้ใหม่และใช้สารสนเทศได้ภายใต้กฏกติกาของ จริยธรรมสารสนเทศ ดังนั้นกระบวนการการพัฒนาทักษะการรู้สารสนเทศนั้น ผู้ใช้จาเป็นต้องสร้างทักษะ ในการวิเคราะห์หรือกาหนดความต้องการสารสนเทศ เพื่อกาหนดขอบเขต และลักษณะของ สารสนเทศที่ต้องการ จึงจะสามารถวางแผนการค้นหาสารสนเทศที่ต้องการได้อย่างมี ประสิทธิภาพ โดยมีขั้นตอน ดังนี้ 1. ถามตนเองว่าต้องการสารสนเทศไปทาไม / เพื่ออะไร (Goal) เพื่อทา การบ้าน ส่งผู้สอน ทาโครงงาน/รายงาน ตอบข้อสงสัยหรือแก้ไขปัญหาตน ตอบสนองตามความสนใจตน เพื่องานวิชาการ เพื่อความเจริญก้าวหน้าในอาชีพการ งาน ฯลฯ ซึ่งวัตถุประสงค์ข้างต้นจะส่งผลต่อจานวนสารสนเทศ ระดับของสารสนเทศ และลักษณะสารสนเทศที่จะค้นหาต่อไป 2. เลือก หรือกาหนดหัวข้อที่จะค้นคว้า (Topic) โดยยึดขอบเขตเนื้อหาของ เรื่องที่เราต้องการว่าต้องการสารสนเทศกว้าง หรือเฉพาะเจาะจงลงไปในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ต้องการสารสนเทศที่ทันสมัย (ดูว่าเรื่องที่ต้องการเป็นสาขาวิชาใด) หรือ ต้องการสารสนเทศ ช่วงระยะเวลาใด นอกจากนั้นก็อาจกาหนดว่าจะใช้ ทรัพยากรสารสนเทศประเภทใด อาทิ หนังสือ บทความในวารสาร เว็บไซต์ e-Journal ฯลฯ หรือแหล่งสารสนเทศ ใดจึงจะเหมาะสม
  • 2. 2 3. กาหนดแนวคิด (Concept) และ คาสาคัญ (Keyword) เป็นการ ระดมความคิดเพื่อกาหนดและเชื่อมโยงประเด็นแนวคิดหลัก และแนวคิดรอง เพื่อตอบโจทย์ ในเรื่องที่เราต้องการศึกษาค้นคว้า โดยใช้วิธีการ 1) ตั้งคาถาม “ใคร ทาอะไร ที่ไหน เมื่อไหร่ อย่างไร ทาไม” 2) แปลงคาถาม เป็น แนวคิด (Concept) โดยใช้แผนผังความคิด (Mindmap) มาช่วย 3) กาหนดลักษณะของสารสนเทศที่ต้องการตามประเด็นที่กาหนดไว้แล้ว คาถาม/ประเด็นแนวคิด ลักษณะสารสนเทศ อะไร ความหมาย คา คาอธิบาย การสะกด การออกเสียง คา เหมือน คาตรงข้าม คาตอบสั้น ๆ ฯลฯ ความหมาย สิ่งของ สัตว์ พืช สถานการณ์ ข้อมูลเบื้องต้น ภูมิหลัง ตัวเลข สถิติ ภาพ เสียง ทฤษฎี ข้อเท็จจริง คาตอบสั้นๆ ฯลฯ ใคร บุคคล หน่วยงาน ประวัติ ภูมิหลัง ภาพ ที่อยู่ ผลงาน เสียง ฯลฯ ที่ไหน สถานที่ ที่ตั้ง ประวัติ ความเป็นมา ตานาน แผนที่ แผนผัง ภาพ ข้อเท็จจริง ตัวเลข ฯลฯ เมื่อไหร่ เหตุการณ์ ยุคสมัย แนวโน้ม ประวัติ พัฒนาการ ข้อเท็จจริง สถิติ ตัวเลข ภาพ เสียง แผนภูมิ แผนที่ สารสนเทศที่ เป็นปัจจุบัน ฯลฯ
  • 3. 3 คาถาม/ประเด็นแนวคิด ลักษณะสารสนเทศ อย่างไร ขั้นตอน วิธีการ รายละเอียดการปฏิบัติ วิธีการทา สูตร คาอธิบาย แผนภูมิ แผนผัง ภาพ ฯลฯ ทาไม เหตุผล เป้าหมาย วัตถุประสงค์ ผลกระทบ ความเป็นมา สภาพปัญหา สภาพการณ์ ข้อเท็จจริง สถิติ ตัวเลข ฯลฯ 4) กาหนดคาสาคัญ (Keyword) เพื่อใช้เป็นคาค้นในการสืบค้น
  • 4. 4 ตัวอย่าง การกาหนดประเด็นแนวคิดและลักษณะสารสนเทศที่ต้องการจาก คาถามเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง คาถาม ประเด็นแนวคิด ลักษณะสารสนเทศ 1. โครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดาริจัดตั้งขึ้นมาเพื่อ อะไร หลักการ เหตุผล วัตถุประสงค์ ข้อเท็จจริง คาอธิบาย 2. อยากทราบว่าโครงการอัน เนื่องมาจากพระราชดาริเริ่มมี ขึ้นตั้งแต่เมื่อไร ความเป็นมา ประวัติ ข้อมูลเบื้องต้น ภูมิหลัง 3. มีใครบ้างที่เกี่ยวข้องและ เป็นผู้รับผิดชอบประสานงาน การดาเนินงานโครงการ ผู้ริเริ่ม ผู้รับผิดชอบ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ข้อเท็จจริง รายละเอียด ผลงาน 4. โครงการนี้เกี่ยวข้องกับการ พัฒนาในด้านใดบ้าง ต้องการ ตัวอย่างประกอบให้เห็น ชัดเจน ประเภท ข้อเท็จจริง แผนภูมิ คาอธิบาย 5. ขั้นตอนการดาเนินงานของ โครงการเป็นอย่างไร ขั้นตอน วิธีการ แผนภูมิ วิธีการ ภาพ รายละเอียดการปฏิบัติ 6. ข้อมูลและแนวโน้มของการ ดาเนินงานโครงการในรอบ 5 ปีที่ผ่านมาเป็นอย่างไร แนวโน้ม พัฒนาการ ข้อเท็จจริง สถิติ กราฟ แผนภูมิ แผนที่ 7. พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติห้วย ฮ้องไคร้ :การแสวงหาความรู้ เชิงพัฒนาอันเนื่องมาจาก พระราชดาริ มีลักษณะ อย่างไร ตัวอย่างโครงการ ข้อเท็จจริง ภาพ แผนที่ วีดิทัศน์
  • 5. 5 การวางโครงเรื่อง โครงเรื่องเป็นกรอบ/ขอบเขตของใจความสาคัญที่กาหนดไว้ เพื่อใช้เป็นแนวทางใน การเรียบเรียงเนื้อหาให้ต่อเนื่องและสัมพันธ์กัน ซึ่งอาจจัดลาดับเนื้อหาตามเหตุการณ์ที่ เกิดขึ้นก่อน-หลัง เหตุผล ความสาคัญ ความเข้าใจ และทิศทางหรือสถานที่ และยังช่วยให้ทราบขอบเขตของการเก็บข้อมูลอีกด้วย โครงเรื่องจะมีลักษณะคล้ายหน้าสารบัญ ซึ่งโครงเรื่องที่ดีจะต้องมีลักษณะ ดังนี้ 1. ประกอบด้วย ชื่อเรื่องรายงาน หัวข้อใหญ่ หัวข้อรอง และหัวข้อย่อย (ถ้ามี) 2. ชื่อหัวข้อ ควรสั้นกะทัดรัดได้ใจความ ครอบคลุมเนื้อหาตอนนั้นโดยเฉพาะ 3. หัวข้อต่าง ๆ เรียงลาดับอย่างต่อเนื่องสัมพันธ์กัน กล่าวคือ หัวข้อใหญ่สัมพันธ์กับชื่อ เรื่องของรายงาน หัวข้อรองสัมพันธ์กับหัวข้อใหญ่ และหัวข้อย่อยสัมพันธ์กับหัวข้อรอง 4. โครงเรื่องควรเขียนอย่างเป็นระเบียบ สะดวกแก่การอ่านและทาความเข้าใจ ทั้งนี้ใช้ ตัวเลขและย่อหน้าให้พอเหมาะ กล่าวคือหัวข้อที่มีความสาคัญเท่ากันจะต้องอยู่ตรงกันใช้ ตัวเลขแบบเดียวกัน หัวข้อย่อยย่อหน้าลึกเข้าไปกว่าหัวข้อใหญ่ ดังตัวอย่าง ชื่อเรื่องรายงาน 1. หัวข้อใหญ่ 1.1 หัวข้อรอง 1.1.1 หัวข้อย่อย 1.1.2 หัวข้อย่อย 1.1.3 หัวข้อย่อย 1.2 หัวข้อรอง 1.2.1 หัวข้อย่อย 1.2.2 หัวข้อย่อย 2. หัวข้อใหญ่
  • 6. 6 ตัวอย่าง โครงเรื่องที่ดี ภาพยนตร์ 1. ประวัติศาสตร์ภาพยนตร์ 2. ประเภทของภาพยนตร์ 2.1 เน้นฉาก 2.2 เน้นอารมณ์ 2.3 เน้นรูปแบบ 2.4 ตัวอย่างภาพยนตร์ 3. ค่ายภาพยนตร์ 3.1 ในประเทศไทย 3.2 ในต่างประเทศ 4. อิทธิพลของภาพยนตร์
  • 7. 7 ตัวอย่าง โครงเรื่องที่ดี ช้างไทย 1. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับช้าง 1.1 กาเนิดช้าง 1.2 ความสาคัญของช้าง 1.3 ลักษณะของช้าง 2. ช้างกับศิลปวัฒนธรรมไทย 2.1 ช้างกับพุทธศาสนา 2.2 ช้างกับวรรณกรรม 2.3 ช้างกับการแสดง 2.4 ช้างกับของชาร่วย 3. การอนุรักษ์ช้างไทย
  • 8. 8 บรรณานุกรม การเขียนรายงานเชิงวิชาการ. (ม.ป.ป.). สืบค้นจาก http://it.acc.chula.ac.th/uploads/down/17/แนวทางการเขียนรายงานเชิงวิชาการ.pdf คู่มือผู้สอนวิชา 000130 ทักษะการรู้สารสนเทศ (Information Literacy skills). (2551). สืบค้นจาก www.rtc.ac.th/download/ar250951/130-teachermanual-51.doc เอกสารประกอบการสอนวิชา 00-021-101 การรู้สารสนเทศ (Information Literacy). (2553). สืบค้นจาก http://dc250.4shared.com/doc/KcmiFpRT/preview.html *******************