SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
แนวข้อสอบรายวิชาระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์

1.    จากคำากล่าวทีว่า “หากผู้บริหารในองค์กรไม่ว่าระดับสูงหรือระดับกลาง
                       ่
      ได้มีโอกาสเรียนรู้การทำาวิจยที่ดี จะมีส่วนช่วยในการตัดสินใจในการ
                                    ั
      บริหารงาน นอกจากนั้นการจ้างบริษทภายนอกมาแก้ไขปัญหาในองค์กร
                                            ั
      ก็จะไม่ใช่สิ่งที่จำาเป็นอีกต่อไป” ท่านมีความเห็นอย่างไรต่อคำาพูดดัง
      กล่าวนี้ โดยในการตอบคำาถามของท่าน กำาหนดให้มีคำาสำาคัญดังต่อไป
      นี้อยู่ด้วย

     ซับซ้อน, ประสิทธิภาพ, อินเตอร์เน็ต, วิสัยทัศน์, ความรวดเร็ว

       การศึ กษาว า ในแต่  ล ะในกรณี ที่ ผู้ บริ หาร ไม่ ว่ าระดั บไหน เข้ าใจในขบวนการ
  •
       ทำา งานวิ จั ยอย่ างดี จะมี ส่ วนช่ วยและเป็ นแนวทางในการบริ หารจั ดการ ประเมิ น

       ตั ดสิ นใจ และสามารถวิ เคราะห์ ปั ญหาที่ จะเกิ ด ในงานวิ จั ยนั้ นๆ แต่ การที่ จะ

       ตั ดสิ นใจจะมี หรื อไม่ มี ประสิ ทธิ ภาพ และจะดำา เนิ นไปในแนวทางใด ขึ้ นยู่ กั บ

       วิ สั ยทั ศน์ ของผู้ บริ หารเอง

       ในการจะสรุ ปว่ าจะทำา งานวิ จั ยนั้ นเองหรื อจ้ าง บริ ษั ทภายนอกมาดำา เนิ นการนั้ น
  •
       ขึ้ นอยู่ กั บวิ สั ยทั ศน์ และความชำา นาญของผู้ บริ หารโดยตรง ว่ าจะสามารถประ

       เมิ นเบื่ องต้ นได้ หรื อไม่ ว่ าในงานนั้ นๆมี ความยาก ง่ าย ขั้ นตอนการดำา เนิ นการที่

       ยุ่ งยาก ซั บซ้ อน เพี ยงใด ทางบริ ษั ทนั้ นๆมี มี ความต้ องการเร่ งด่ วนแค่ ไหน มี

       บุ คลากร เวลา ในการหาข้ อมู ลสำา คั ญมากน้ อยเพี ยงใด คุ้ มจะทำา หรื อคุ้ มที่ จะดำา

       นิ นการเองหรื ไม่ หรื อจ้ างบริ ษั ทที่ ดำา เนิ นการเกี่ ยวกั บด้ านนี้ โดยตรง

       ในเบื่ องต้ นในการตั ดสิ นใจนั้ น มี ความจำา เป็ นอย่ างยิ่ งที่ ต้ องมี การทำา การ
  •
       ทบทวนบรรณกรรมคร่ าวๆ เพื่ อที่ จะได้ เข้ าใจ นำา มาให้ สามารถกำา หนดรู ปแบบ

       ตั วแปรหลั ก และแนวทางต่ างๆ ของตั วงานวิ จั ยนั้ นๆ อาจหาได้ ใน อิ นเท

       อร์ เน็ ท ซึ่ งเป็ นอะไรที่ สะดวกและมุ่ งยากมากนั ก

       ในข้ อดี ของการจั ดจ้ างบริ ษั ทที่ ดำา เนิ นการเกี่ ยวกั บด้ านนี้ โดยตรงมาดำา เนิ นการ
  •
       คื อ ได้ ความสะดวก และ ความรวดเร็ ว ใช้ เวลาน้ อยกว่ ามี ความชำา นาญ มี เวลา

       โดยตรงและเติ มที่ ในการทำา
2.ท่านคิดว่าอะไรคือจุดประสงค์ และ ประโยชน์ ของการทบทวนวรรณกรรม อีกทั้งขอให้
ท่านอธิบายลักษณะของการทบทวนวรรณกรรมที่ไม่ดี และ ผลเสียหายที่จะเกิดขึ้นเนื่อง
มาจากการทบทวนวรรณกรรมที่ไม่ดี
จุ ดประสงค์ การศึ กษาว  าในแต  ละประเด็ นที่  มี ผู  ใดศึ กษา หรื อเขี ยนทฤษฎี ต  างๆที่ เกี่ ยวข  อง

ในเรื่ องนี้ มาบ  าง ได  ค  นพบ อะไร หรื อได  อธิ บายไว  อย  างไร มี เรื่ องใดบ  างที่ เคยผ  านการ

ศึ กษา และ ผลที่ ได  จากการวิ เคราะห  ตลอดจนข  อสรุ ป และข  อเสนอแนะของผู  วิ จั ยในอดี ตมี

ความเกี่ ยวข  องกั บ ประเด็ นที่ จะศึ กษาอย  างไร             เพื่ อป  องกั นการทำ าวิ จั ยซ้ ํํ าซ  อน เพื่ อช 

วยให  เกิ ดความคิ ด และมี ทิ ศทางในการทำ างานวิ จั ย ได  แก  การจั ดการกั บป  ญหาที่ เกิ ดขึ้ น

การตั้ งสมมติ ฐานการวิ จั ย วิ ธี การทำ าวิ จั ย แหล  งขอมู ลเพื่ อพั ฒนาความคิ ดในการออกแบบวิ ธี

การศึ กษาเพื่ อมุ  งสู  ความสำ าเร็ จของงานวิ จั ย


ประโยชน์         1. ทำา ให้ ไม่ ทำา วิ จั ยซำ้า กั บผู้ อื่ น


          2. ทำา ให้ ทราบอุ ปส รรค หรื อ ข้ อบกพ ร่ องและจุ ดแข็ งในการทำา วิ จั ยเรื่ องนั้ นๆ

          3. ใช้ เป็ นข้ อมู ลพื้ นฐานประกอบการพิ จารณากำา หนดขอบเขตและตั วแปรการวิ จั ย

          4. ใช้ เป็ นข้ อมู ลในการกำา หนดกรอบแนวคิ ด เทคนิ คการเก็ บ
               ข อมู ลและเครื่ องมื อที่ ใช ใน

                ช่ วยในการกำา หนดสมมติ ฐานการวิ จั ย ช วยแสดงวิ ธี ตี ความผลการวิ จั ย
          5.

          6. ช่ วยกำา หนดรู ปแบบแล ะวิ ธี การวิ จั ย ชี้ แนะการทำ าตาราง สถิ ติ และกราฟ

          7. ช่ วยในการเชื่ อมโยงสิ่ งที่ ค้ นพบในการวิ จั ยครั้ งนี้ กั บ ที่ พบจาการวิ จั ยที่ ผ่ านมา

          8. ช วยเสนอแนะแหล งสำ าหรั บพิ มพ ผลงานวิ จั ย


ลั กษณะของการทบทวนวรรณกรรมที่ ไม่ ดี

      นำ างานที่ เป นที่ รู จั กกั นทั่ วไปมาทบท วนหรื ออภิ ปรายโดย ไม มี การอ างอิ งที่ เหมาะสม
  •
สะกดชื่ อผู แต งหรื อป ที่ พิ มพ ผิ ด
  •
      ใช แนวคิ ดเพื่ อแสดงความรู สึ กหรื อใช แนวคิ ดโดยไม มี การนิ ยามยื ดติ ดกั บความคิ ตตั วเอง
  •
      มี อคติ
      ใช ถ อยคำ าที่ ผู อ านไม เข าใจ
  •
      ยอมรั บในเอกสารที่ ทบทวนหรื อเชื่ อในทุ กสิ่ งที่ เขี ยนไว
  •
      เขี ยนโดยไร จุ ดหมายหรื อไม มี การควบคุ มความถู กต องในการจดบั นทึ กไม่ มี ประเด็ น
  •
      นำ าเรื่ องราวที่ ไม เกี่ ยวข องกั บเรื่ องที่ ตนศึ กษามารวมไว ในงานวิ จั ยของเรา
  •
      อ้ างทฤษฎี ที่ รู้ มาแล้ ว อ้ างซำ้า ซาก
  •
  •   ศี ลธรรม รั บผิ ดชอบ ซื่ อสั ตย์ ทางวิ ชาการ



         สิ่งสำาคัญอยางยิ่งในการเสนอผลการทบทวนวรรณกรรม คือ ไมควรนำาผลการทบทวนของผูอื่นมาเสนอ
ราวกับวาตนเองเปนผูทำาการทบทวน ความซื่อสัตยของผูวิจัยในการระบุวา
         สวนใดของเนื้อหาสาระเปนผลงานของนักวิชาการอื่นที่ผูวิจัยไดนำามาใชประโยชนเปนสิ่งสำาคัญ มี
มิ ฉะนั้ นจะเกิ ดการละเมิ ดจริ ยธรรมทางวิ ชาการได และไม่ เกิ ดประโยชน์ ในเชิ ง
บู รณาการ


3.ท่านคิดว่าอะไรคือความเหมือน และ ความแตกต่างของวิธีวิจัยเชิง
  คุณภาพ วิธีวจัยเชิงปริมาณ อีกทั้งให้ท่านอธิบายจุดอ่อน จุดแข็ง
                 ิ
  ของวิธีวิจัยทั้งสองวิธี

        ความเหมือน คือรูปแบบ ขั้นตอนชำาดับในการทำาเช่นกำาหนดหัวข้อสำาหรับการวิจัย ,แจกแจงประเด็น
        ปัญหาย่อยสำาหรับการวิจัย ,ตั้งสมมติฐาน ,สร้างกรอบแนวความคิด ,ทบทวนวรรณกรรมและทฤษฎีที่
        เกี่ยวข้อง ,กำาหนดตัวแปร (การสุ่มตัวอย่าง),การออกแบบวิจัย ,การสร้างเครื่องมือสำาหรับการเก็บ
        รวบรวมข้อมูล,การเก็บรวบรวมข้อมูล / การจัดระเบียบข้อมูล ,การวิเคราะห์ข้อมูล การวิจัยเชิงปริมาณ
        หรือการวิจัยเชิงคุณภาพต่างก็มีวัตถุประสงค์อย่างเดียวกัน คือการทำาความเข้าใจ การบรรยาย
        หรืออธิบาย ปรากฏการณ์ที่ศึกษาอย่างเป็นระบบ แต่การใช้เทคนิควิธีการศึกษา และมุมมองต่อ
        ปรากฏการณ์นั้น ๆ


ความแตกต่าง คือ จุดประสงค์ ค่าทีติองการ คือ o การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research)
                                    ่
    (ก) ข้อมูลที่เป็นตัวเลขเป็นฐานยืนยันความถูกต้องของข้อค้นพบและข้อสรุปต่างๆ ของเรื่องที่ทำาการศึกษา
และวิจัย งานวิจัยที่มีคุณภาพดีถ้าสามารถพิสูจน์ได้ว่าให้คำาตอบได้ถูกต้องจากการใช้ระเบียบวิธีที่เหมาะสม
    o การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) การวิจัยที่ที่เน้นการหารายละเอียดต่างๆ ของกลุ่ม
ประชากรที่ทำาการศึกษา ที่จะก่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในเรื่องนั้นๆ ข้อมูลหรือข้อค้นพบอาจได้มา
จากการสังเกตหน่วยที่ต้องการศึกษาเพียงไม่กี่หน่วย หรือเพียงไม่กี่กลุ่มหรือชุมชน การวิจัยชนิดนี้มิได้มุ่งเก็บ
ข้อมูลที่เป็นหรือสามารถทำาให้เป็นตัวเลขจากกลุ่มประชากรเป้าหมายที่ศึกษามาทำาการวิเคราะห์เชิงปริมาณเพื่อ
ให้ได้คำาตอบใช้ได้กว้างขวางทั่วไป



ต้องการสร้างสมมุติฐานและทฤษฎีใหม่ๆ หรือกรณีที่หาคำาอธิบายไม่ได้
เมื่อต้องการศึกษาความเปลี่ยนแปลงของปรากฎการณ์
เมื่อต้องการสร้างความเข้าใจปรากฎการณ์อย่างลึกซึ้ง
เมื่อต้องศึกษากลุ่มหรือชุมชนที่สื่อสารได้ยาก
เมื่อต้องการศึกษาสิ่งที่เป็นนามธรรม เกี่ยวกับค่านิยม ความเชื่อ โลกทัศน์
เมื่อต้องการข้อมูลระดับลึกเพือการตัดสินใจ
                                 ่
เมื่อต้องการปฏิบัตการวิจัยแบบมีส่วนร่วม
                      ิ
       ๑๐.๘ ข้อจำากัด
ข้อค้นพบนำาไปใช้อ้างอิงในกรณีอื่นๆได้จำากัด เพราะไม่เน้น generalization
ผู้วิจัยเป็นเครื่องมือการวิจัยที่สำาคัญทีสุด จึงต้องได้รับการอบรม และมีการเตรียมตัวอย่างดี
                                         ่
ใช้เวลาและทรัพยากรมาก
มีความเป็นอัตนัยของข้อมูล จึงถูกโจมตีเรืองความเที่ยงตรงและความน่าเชื่อถือได้
                                              ่
การวิเคราะห์และการตีความ ต้องการความสามารถเฉพาะของผู้วิจัยสูงมาก
ต้องการผู้วิจัยที่มีความรู้ในหลายศาสตร์

                   เชิงคุณภาพ                                                      เชิงปริมาณ
-   เข้าใจปรากฏการณ์ทางสังคม                     -   ควบคุม ทำานายผลและหาความสัมพันธ์ของตัวระหว่างแปร
-   มองภาพรวม                                    -   มองตัวแปรทีละตัวเป็นเหตุและผล
-   มีความเฉพาะในแต่ละบริบท                      -   อิสระจากบริบท อ้างอิง ไปยังกลุ่มประชากร
-   นักวิจัยสังเกตแบบมีส่วนร่วม                  -   นักวิจัยอยู่เหนือสิ่งที่วิจัย
-   เขียนบรรยายและตีความ                         -   ใช้การวิเคราะห์ทางสถิติ

เปรียบเทียบความแตกต่างของการวิจัยเชิงคุณภาพกับการวิจัยเชิงปริมาณ
ข้อแตกต่าง การวิจัยเชิงปริมาณ                                การวิจัยเชิงคุณภาพ
2.             - มุ่งวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร    - ต้องการเข้าใจความหมาย กระบวนการความรู้สึกนึกคิด
วัตถุประสงค์ อิสระกับตัวแปรตาม                               โดยเชือมโยงกับบริบทของสังคม
                                                                       ่
3. การกำาหนด - กำาหนดล่วงหน้าก่อนทำาการวิจัย                 - กำาหนดคร่าวๆพร้อมทีจะเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์
                                                                                      ่
สมมุติฐาน
4. การคัด      - สุ่มโดยอาศัยการสุ่มชนิดทีทราบโอกาสหรือ
                                            ่                - สุ่มโดยอาศัยการสุ่มชนิดที่ไม่ทราบโอกาสหรือความน่าจะ
เลือกตัวอย่าง ความน่าจะเป็นที่ถกเลือก (Probability)
                                  ู                          เป็นที่จะถูกเลือกเป็นตัวอย่าง
                                                             (Non-probability sampling)
5. จำานวน      - จำานวนมาก                                   - จำานวนน้อย
ตัวอย่าง
6. ขอบเขต - ศึกษาในวงกว้าง โดยเลือกเฉพาะกลุ่มตัวอย่าง - ศึกษาแนวลึกเฉพาะกลุ่มทีสนใจ       ่
การวิจัย       ทีสุ่มมา
                 ่
7. บทบาท - แยกผู้วิจัยออกจากเรื่องทีศึกษา ่                  - ผู้วิจัยเป็นเครืองมือในการทำาวิจัย
                                                                               ่
ของผู้วิจัย
8. วิธีการเก็บ - แบบสอบถาม                                   - การสังเกต
ข้อมูล         - แบบสัมภาษณ์                                 - การสัมภาษณ์เจาะลึก
                                                             - การจัดสนทนากลุ่ม
                                                             - การบันทึกประวัตชีวบุคคล
                                                                                  ิ
9. การ         - วิเคราะห์เชิงปริมาณโดยใช้สถิตช่วย
                                                 ิ           - วิเคราะห์เชิงตรรกะเป็นหลักอาจมีการวิเคราะห์เชิงปริมาณ
วิเคราะห์      (Statistical analysis)                        ช่วยเล็กน้อย (content analysis)
ข้อมูล
10. การ        - รายงานผลโดยอ้างอิงสถิติ (Report statistical - รายงานผลโดยอ้างอิงคำาพูดหรือเรื่องราวจริงจากกลุ่ม
รายงานผล       analysis)                                     ตัวอย่าง (Report rich narrative)
11. การสรุป -นำาไปใช้อ้างอิงแทนประชาการทั้งหมดได้            - ใช้อ้างอิงได้เฉพาะกลุ่ม
ผล
12. ทักษะ      - มีความสามารถทางสถิติ                        - มีความละเอียดอ่อนในการสังเกต เก็บรวบรวมข้อมูล และ
ของนักวิจัย                                                  การตีความ
          การวิจัยเชิงมานุษยวิทยา                                        การวิจัยเชิงทดลอง
                    การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์                     การวิจัยเชิงกึ่งทดลอง
                             การวิจัยเชิงอนาคต             การวิจัยเชิงสำารวจ
                                     การวิจัยเชิงประเมิน
                                              เชิงคุณภาพ           เชิงปริมาณ

    แนวทางเชิงคุณภาพ ลักษณะทั่วไป การพรรณาความ เรียงความ ข้อความ โดยปกติการทำาวิจัย
เชิงคุณภาพนี้ค่อนข้างยาก และผู้วิจัยต้องมีความเข้าใจที่ดีในเรื่องที่ตนเองทำาอยู่ วิธีการเก็บรวบรวม
ข้อมูล การใช้เอกสาร การใช้ชีวิตในชุมชน การสัมภาษณ์บุคคล การประชุมกลุ่ม (Focus Group) การ
ประชุมระดมสมอง (Brain Storming)
แนวทางเชิงคุณภาพ วิธีการวิเคราะห์ การนำาเอาข้อมูลมาประมวลข้อสนเทศ ข้อคิดเห็น มาเรียบ
เรียงเป็นเรื่อง

     แนวทางเชิงปริมาณ ลักษณะทั่วไป การแสวงหาข้อมูล โดยการนำาเอาข้อมูลที่สำารวจมาแปลงเป็น
ตัวเลข มุ่งซึ่งการวิเคราะห์ทางตัวเลข ผลสรุปเป็นตัวเลข วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ตัวเลขสถิติต่าง ๆ
จาก Secondary Data หรือแบบสอบถาม

    แนวทางเชิงปริมาณ วิธีการวิเคราะห์ ใช้เครื่องมือทางสถิติในการวิเคราะห์

          2.ความแตกต่างของการการวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ จะมีความแตกต่างใน
ประเด็นต่างๆคือ
          2.1 ลักษณะของข้อมูล ข้อมูลของการวิจัยเชิงปริมาณจะเป็นข้อมูลเชิงตัวเลขที่สามารถวัดได้ เช่นถ้า
วัดความรู้ก็จะต้องมีการกำาหนดได้มีความรู้ระดับใด ขณะที่การวิจัยเชิงคุณภาพข้อมูลจะเป็นเรื่องของความรู้สึก
นึกคิด ข้อมูลจะอยู่ในรูปของการบรรยาย การพรรณนาสิ่งต่างๆที่เกิดขึ้น
          2.2 วัตถุประสงค์ การวิจัยเชิงปริมาณจะมีวัตถุประสงค์สำาคัญคือ
          *การทดสอบทฤษฎี การวิจัยเชิงปริมาณจะต้องมีทฤษฎีอยู่ก่อนแล้ว จากนั้นก็นำาเอาทฤษฎีหรือ
กรอบแนวคิดนั้นมาทดสอบว่าเป็นจริงกับกรณีที่เราศึกษาหรือไม่
          **การวิจัยเชิงปริมาณใช้เพื่อการสรุปข้อมูลที่มีจำานวนมาก เพื่อให้เห็นภาพทั่วไปของสิ่งที่เกิดขึ้นได้
          ***การวิจัยเชิงปริมาณมีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการแสดงความถูกต้องของสิ่งที่เกิดขึ้น
          ขณะที่การวิจัยเชิงคุณภาพจะมีวัตถุประสงค์ที่สำาคัญคือ
          *ต้องการสร้างทฤษฎีใหม่ หรือการสร้างองค์ความรู้ใหม่ขึ้นมา
          **เป็นการวิจัยที่ต้องการวิเคราะห์ข้อมูลในระดับลึก
          **การวิจัยเชิงคุณภาพมีความต้องการที่จะทำาความเข้าใจกับความหมายในสิ่งที่จะศึกษา ซึ่งบางครั้ง
เป็นเรื่องที่ต้องตีความ เช่นถ้าเราพบเห็นคนทักทายกันด้วยการสวัสดีเราอาจจะเข้าใจว่าทั้ง 2 ฝ่ายมีความพอใจ
ซึ่งกันและกัน แต่ถ้าเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพอาจจะต้องทำาความเข้าใจว่าแท้จริงแล้วการทักทายกันเป็นเพียงการ
แสดงออกภายนอกเท่านั้น แต่มความหมายอื่นที่ซ่อนอยู่ภายใต้การทักทาย การวิจัยเชิงคุณภาพจึงต้องอธิบาย
                                   ี
คุณค่าที่แท้จริงของสิ่งที่เกิดขึ้น
          ดังนั้นการวิจัยเชิงคุณภาพไม่ใช่เรื่องง่ายๆ การทำาวิจัยคุณภาพจะต้องมีการกำาหนดประเด็นให้ชดเจนเสีย
                                                                                                     ั
ก่อน จากนั้นจึงเอาข้อมูลมาอธิบายให้เห็นความสัมพันธ์ และต้องมีความเข้าใจในสิ่งที่อธิบายว่ามีความสำาคัญ
อย่างไร
          ในขณะการวิจัยเชิงปริมาณจะง่ายตรงที่เราสามารถตีความจากข้อมูลที่เป็นตัวเลขที่เก็บได้จากกลุ่ม
ตัวอย่าง
          ขณะที่การตีความหมายของปรากฏการณ์ในการวิจัยเชิงคุณภาพจะยากตรงที่หากเราใช้กรอบคิดหรือ
ทฤษฎีต่างกันการตีความหมายของปรากฎการณ์ก็จะต่างกันด้วย
          2.3 วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล จะแตกต่างกันตรงที่การวิจัยเชิงปริมาณจะใช้สถิติเป็นเครื่องมือในการ
วิเคราะห์ ขณะการวิจัยเชิงคุณภาพจะใช้การสรุปในแบบอุปนัยในการวิเคราะห์
          ***การวิจัยเชิงคุณภาพ เป็นการวิจัยที่ได้รับการยอมรับมากขึ้นในปัจจุบัน เนื่องจาก ความตกตำ่าของ
การวิจัยที่ใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์
          เพราะดั้งเดิมนั้นการแสวงหาความรู้มาจะจากภายในตัวตนของนักคิด นักปรัชญา แต่มาวันหนึ่งก็เกิดนัก
คิดกลุ่มหนึ่งมองว่าความรู้ที่มาจากภายในตนนั้นไม่มีความน่าเชื่อถือ จึงต้องหาความรู้จากภายนอก โดยจุด
เปลียนที่สำาคัญที่ทำาให้การแสวงหาความรู้มีแนวทางที่เปลี่ยนไปคือการปฏิวัติทางด้านวิทยาศาสตร์ เพราะวิธีการ
     ่
หาความรู้ตามแนวทางของวิทยาศาสตร์ เป็นการแสวงหาความรู้จากโลกภายนอก มีจดแข็งตรงที่ความรู้จาก
                                                                                   ุ
ภายนอกเป็นความจริงที่มาจากสิ่งที่เห็นจริงๆ หรือเป็นประจักษ์นิยม
          การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวทำาให้โลกทั้งโลกตกอยู่ในความเชื่อแบบวิทยาศาสตร์ จนปัจจุบันได้มีการ
พิสูจน์พบว่าแท้ที่จริงแล้ววิทยาศาสตร์ไม่ได้แก้ปัญหาทุกอย่างของโลกได้ รวมทั้งการศึกษาแบบวิทยาศาสตร์ก็
ไม่ได้ช่วยในการค้นหาความจริงทั้งหมดได้
           ดังนั้นเมื่อการแสวงหาความรู้จากภายนอกมีจุดอ่อน ในศตวรรษที่ 19 ทำาให้คนเริ่มกลับมามองตนเอง
มากขึ้น ทำาให้คนสนใจศึกษาการวิจัยเชิงคุณภาพมากขึ้น เพราะวิชาทางสังคมศาสตร์เป็นวิชาที่ว่าด้วยมนุษย์ การ
ที่จะห้ามไม่ให้มนุษย์ศึกษาเรื่องของมนุษย์ด้วยตัวมนุษย์เอง จึงไม่น่าจะถูกต้อง เพราะมนุษย์ย่อมรู้เรื่องของ
มนุษย์ได้ดที่สุด
             ี
          เนื่องจากการวิจัยคุณภาพให้ความสำาคัญกับจิต ขณะการวิจัยปริมาณให้ความสำาคัญกับวัตถุ
          สภาพของข้อมูลของวิจัยเชิงคุณภาพ
1.ข้อมูลมีความยืดหยุ่น ขณะวิจัยเชิงปริมาณข้อมูลจะไม่ยืดหยุ่น เช่นถ้าเราตอบแบบสอบถามเราก็จะ
ต้องตอบตามข้อเลือกที่นักวิจัยกำาหนดออกมา ขณะในการวิจัยเชิงคุณภาพผู้ตอบสามารถตอบได้อย่างหลาก
หลาย นั่นคือคำาตอบของคำาถามจะขึ้นอยู่กับผู้ตอบ
          เช่นถ้านักวิจัยถามว่าชอบนายกทักษิณหรือไม่ ถ้าเป็นเชิงปริมาณ เราอาจจะตอบได้แค่ ชอบ ไม่ชอบ
ชอบมาก ชอบมากที่สุด แต่ถ้าเป็นวิจัยเชิงคุณภาพผู้ตอบจะตอบได้กว้างขวาง ข้อมูลของการวิจัยเชิงคุณภาพจึง
มีความยืดหยุ่น
          2.เป็นข้อมูลเชิงอุปนัย อุปนัยหมายถึง เวลาเก็บข้อมูลผู้วิจัยจะเข้าไปสังคมและเก็บตัวอย่างทีละคน
ทำาให้มองเห็นข้อมูลหรือความจริงที่เก็บมาอย่างลึกซึ้ง ส่วนจะเก็บข้อมูลจำานวนมากน้อยแค่ไหนจึงจะพอนั้นขึ้น
อยู่กับว่าความจริงที่เราพบนั้นมีความมั่นใจแค่ไหน นั่นคือผู้วิจัยจะประเมินเพียงพอที่จะเชื่อได้ว่าจริงแล้วหรือไม่
           แต่การวิจัยเชิงคุณภาพจะเพียงพอหรือจะยืดหยุ่นหรือไม่ผู้วิจัยจะต้องลงไปฝังตัวอยู่ในสนามการวิจัย
ซึ่งจะทำาให้เราเข้าใจธรรมชาติของสิ่งที่เราศึกษาอย่างลึกซึ้ง
          3.ข้อมูลต้องอิ่มตัวเพียงพอ นั่นคือการฝังตัวและเก็บข้อมูลจะต้องเก็บจนข้อมูลอิ่มตัว
          4.ข้อมูลที่รอบด้าน ถ้าเราไปฝังตัวในสนามจะได้รับข้อมูลที่รอบด้าน ขณะการวิจัยเชิงปริมาณจะได้
ข้อมูลหรือความจริงของสังคมบางด้านเท่านั้น
          ข้อมูลจากการวิจัยคุณภาพจึงต้องการการบรรยาย การอธิบาย
          6.หน่วยข้อมูล การวิจัยคุณภาพศึกษาที่ Subject หรือศึกษาจิตใจของมนุษย์ ศึกษาความหมายและ
ความรู้จากคน ดังนั้นจึงไม่มีหน่วยวัดแบบวิจัยเชิงปริมาณ
          ตัวเลขไม่สำาคัญสำาหรับวิจัยคุณภาพ แต่วิจัยคุณภาพบางครั้งก็มีตัวเลขได้
          7.การวิจัยคุณภาพต้องเรียนรู้เรื่องของคนเป็นหลัก เพียงแต่จะศึกษามุมไหนเท่านั้น แต่ข้อมูลจากคนนั้น
จะขึ้นอยู่กับอารมณ์ เช่นถ้าเราคุยกับคนที่เพิ่มตื่นนอน หรือถามในตอนกลางวัน ข้อมูลที่ได้มาจะต่างกัน
          ดังนั้นข้อมูลที่ได้จากมนุษย์จึงถูกกำาหนดด้วยเวลาและสถานที่ (Time and Space) หรือขึ้นอยู่กับกาละ
และเทศะ ดังนั้นผู้วิจัยต้องรู้ว่าควรจะเก็บข้อมูลในเวลาและสถานที่ใด
          นั่นคือความแตกต่างระหว่างวิจัยเชิงคุณภาพและวิจัยเชิงปริมาณ แต่การจะใช้วิธีการแบบไหนในการ
ศึกษาขึ้นอยู่กับ สภาพปัญหา เพราะปัญหาบางอย่างเหมาะสำาหรับการวิจัยเชิงปริมาณ สภาพปัญหาบางอย่าง
เหมาะกับการวิจัยเชิงคุณภาพก็ต้องใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ
          ** ในการศึกษาเชิงคุณภาพจะให้ความสำาคัญกับวัตถุประสงค์ในการศึกษา วัตถุประสงค์ในการศึกษาจึง
ถือว่าเป็นหัวใจของการวิจัยเชิงคุณภาพ ขณะสมมุติฐานเป็นหัวใจของวิจัยปริมาณ


    ลักษณะพิเศษของการวิจัยเชิงคุณภาพ

    1. มีความยืดหยุ่นสูง พร้อมที่จะปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสมของบริบทนั้น ๆ
2. มีความเป็นอิสระสูง จะเก็บข้อมูลอะไรก่อน อะไรหลัง
3. มีกรอบแนวคิดแบบหลวม ๆ พร้อมที่จะปรับได้ตามสถานการณ์ ตามเหตุปัจจัย
4. อาจตั้งหรือไม่ตั้งสมมุติฐานก็ได้ในการวิจัย หากตั้งก็อาจเปลี่ยนได้ตามเหตุปัจจัย
 ข้อแตกต่างระหว่างการวิจัยเชิงปริมาณกับการวิจัยเชิงคุณภาพ คือทัศนะของการมองความจริง กับการเข้าถึง
ความจริง
 ความจริงที่ปรากฏให้เห็น กับความจริงที่ซ่อนอยู่ เหมือนใบหน้าของคนกับความรู้สึกนึกคิดของคนที่ปกปิดที่
ซ่อนอยู่ภายใน ความจริงมีสองลักษณะ หรือมีสองมิติ เหมือนบ้านจะมีทั้งห้องรับแขกที่เป็นหน้าฉาก (Front
Region) และจะมีห้องนอน ห้องครัว ที่ไม่ให้คนทั่วไปเห็นง่าย ๆ หรือที่เป็นหลังฉาก (Back Region)

     การวิจัยเชิงคุณภาพยึดตามปรัชญาปรากฏการณ์นิยม (Phenomenology) ปฏิเสธแนวคิดตามแบบปฏิ
ฐานนิยม (Anti – Positivism) ด้านเดียว ที่นักวิจัยแบบวิทยาศาสตร์ธรรมชาตินิยมใช้กันในปัจจุบันนี้ แต่จะมอง
ทั้งสองด้านไปพร้อมกันอย่างละเอียดรอบคอบรอบด้าน

     การวิจัยเชิงปริมาณ(Quantitative Research)จะยึดฐานคิดแบบปฏิฐานนิยม (Positivism) มองปรากฏการณ์
เป็นแบบปรนัย (Objective dimension)คือมองในมิติที่ปรากฏให้เห็น ที่วัดได้ ชั่งได้ ตวงได้ฯ หรือมองเพียง
ด้านที่เป็นหน้าฉาก (Front Region) เหมือนการมองบ้าน มองเพียงห้องรับแขก ซึงมักตกแต่งไว้สวยงาม จัดไว้
                                                                              ่
เป็นระเบียบ สวยงาม สะอาดสะอ้าน มีเครื่องประดับตกแต่งไว้สวยงาม นี้เป็นสิ่งที่เจ้าของบ้านต้องการให้แขก
เห็น เพื่อให้เกิดภาพพจน์ (image) ที่ดต่อเจ้าของบ้าน
                                     ี

การวิจัยเชิงคุณภาพ(Qualitative Research) ยึดฐานคิดแบบปรากฏการณ์นิยม (Phenomenology) มีความเชื่อ
ว่ามนุษย์มีทั้งส่วนที่นำาเสนอต่อสาธารณะอย่างเปิดเผย(Front Region) และมีทั้งส่วนที่ปกปิด(Back Region)
เพราะฉะนั้นการวิจัยเชิงคุณภาพ มองปรากฏการณ์ในหลาย ๆ มิติ เป็นแบบอัตนัย(Subjective dimension) จึง
ต้องใช้วิธีการวิจัยเพื่อนำามาอธิบายปรากฏการณ์หรือพฤติกรรมบางอย่างด้วยวิธีสอบถาม ทั้งปากเปล่าและให้
กรอกแบบสอบถาม แต่อาจจะได้เพียงส่วนที่ต้องการเปิดเผย(Front Region) เท่านั้น แต่อาจไม่ได้ข้อมูลที่เป็น
ความจริง ทีเป็นส่วนปกปิด(Back Region) ที่ไม่ต้องการให้สาธารณะรู้ การวิจัยเชิงคุณภาพต้องการทำาความ
             ่
เข้าใจและนำาเสนอความจริงทั้งที่ปรากฏและความจริงที่ซ่อนเร้นอยู่ (Real hidden) จึงระดมยุทธศาสตร์ และ
ยุทธวิธีเพื่อทำาความเข้าใจในความจริงที่ซ่อนอยู่ตามเป็นจริง และตามทรรศนะของคนในสังคมมานำาเสนอให้ได้

 ……………………………………………………………………………………………
…………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………
……………………………………..
…………………………………………………………………………………………………
……………………………………..
…………………………………………………………………………………………………
……………………………………..
…………………………………………………………………………………………………
……………………………………..
…………………………………………………………………………………………………
……………………………………..……………………………………………
4.”ผู้จัดการธนาคารต้องการที่จะเก็บรวบรวมประวัติของลูกค้าธนาคารที่มีอัตราการค้าง
ชำาระหนี้เกินกว่าหกเดือนขึ้นไป ผู้จัดการอยากจะทราบค่าเฉลี่ยของอายุ รายได้ อาชีพ
สถานภาพการจ้างงาน นอกจากนั้น ผู้จัดการอยากจะทราบเหตุผลที่ลูกค้าผัดผ่อนในการ
ชำาระหนี้ไม่ว่าจะเป็นเหตุผลทางสังคมหรือเหตุผลทางเศรษฐกิจ ซึ่งผลที่ได้รับนั้น ผู้
จัดการจะนำาไปพัฒนาแนวคิด และการปฏิบัติการในการให้สินเชื่อและการจัดการลูกหนี้
ของธนาคารต่อไป”

จากข้อมูลดังกล่าวข้างต้น ท่านคิดว่า การวิจัยเชิงปริมาณ หรือเชิงคุณภาพ
หรือการวิจัยแบบใดที่จะช่วยให้ผู้จัดการธนาคารบรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าว

……… การอยากจะทราบค่ าเฉลี่ ย data             ที่ เป็ นในเชิ ง ตั วเลขโดยความรู้ เชิ งสถิ ติ มา

ประมวลนั้ น เป็ นการวิ เคราะห์ การวิ จั ยเชิ งปริ มาณ ส่ วนการหาเหตุ และผลที่ ลู กค้ า

ผั ดผ่ อนในการชำา ระหนี้ ไม่ ว่ าจะเป็ นเหตุ ผลทางสั งคมหรื อเหตุ ผลทางเศรษฐกิ จ นั้ น

เป็ นการวิ จั ยเชิ งคุ ณภาพ การวิ จั ยแบบใดที่ จะช่ วยให้ ผู้ จั ดการธนาคารบรรลุ วั ตถุ ประสงค์

นั้ น……ในความเห็ นของข้ าพเจ้ าคิ ดว่ าน่ าจะเป็ นการวิ จั ยเชิ งคุ ณภาพมี ส่ วนช่ วย เพราะ

เป็ นการหาเหตุ และผลวิ เคราะห์ ปั จจั ยในการที่ ลู กหนี้ แต่ ละคนไม่ สามารถชำา ระเงิ นได้
ตามกำา หนดซึ่ งไม่ สามารถสรุ ปในเชิ งปริ มาณได้ ต้ องใช้ ความรู้ หลายสาขาในการนำา มา

วิ เคราะห์ สาเหตุ และเหตุ ผลที่ เกิ ดขึ้ นกั บตั วลู กหนี้ แต่ ละราย ซึ่ งการวิ เคราะห์ ข้ อมู ลดั ง

กล่ าวอาจนำา มาใช้ ในการตั้ งข้ อจำา กั ดในการให้ สิ นเชื่ อครั้ งต่ อๆ หรื ออาจนำา มาปรั บรู ป

แบบที่ เหมาะสมในการจั ดการกั บลู กหนี้ เก่ าแต่ ละคนราย แต่ ในขณะเดี ยวกั นไม่ ใช่

ว่ าการวิ จั ยในเชิ งปริ มาณไม่ ใช่ ไม่ จำา เป็ น อาจจะเป็ นส่ วนช่ วยเสริ มในขบวนการวิ จั ยหรื อ

แก้ ปั ญหาสำา หรั บกรณี ที่ เกิ ดก็ นี้ ซึ่ งไม่ สามารถสรุ ปได้ ชั ดเจนนั ก โดยที่ เชิ งคุ ณภาพอาจ

วิ เคราะห์ เหตุ เชิ งปริ มาณนำา มาหาค่ าทางสถิ ติ ความน่ าจะเป็ นในแต่ ละกรณี ว่ าเป็ นเช่ น

ไร อาจนำา มาใช้ ในการตั้ งข้ อจำา กั ดประเมิ ณการให้ สิ นเชื่ อครั้ งต่ อๆ เช่ น ในกรณี ที่ อาจมี

ความเป็ นไปได้ คื อ ในกลุ่ มอาชี พนนี้ ประวั ติ แบบนี้ มี ข้ อมู ลทางสถิ ติ สู งที่ ไม่ ชำา ระเงิ น

อาจทำา ให้ ทางธนาคารออกนโยบายรองรั บที่ เหมาะสม

……………………………………………… …………………………… ……………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………


5. จงเขียน mind mapping เพื่อสร้างโมเดลกรอบแนวความคิดจาก
เนื้อหาดังต่อไปนี้
“นักให้คำาปรึกษาครอบครัว กำาลังพิจารณาปัญหาครอบครัวที่เกิดขึ้นกับครอบครัวของลูกค้าที่มพื้นฐานการศึกษาสูง มีหน้าที่
                                                                                      ี
การงานดี และมีสถานะสูงในสังคม โดยนักให้คำา ปรึกษาครอบครัวคนนี้ มุ่งประเด็นไปที่ ความพึงพอใจที่มีครอบครัว และ
ความพึงพอใจที่มีต่องาน อย่างไรก็ตาม นักให้คำาปรึกษาครอบครัวไม่แน่ใจว่าความพึงพอใจที่มีต่อครอบครัวและความพึง
พอใจที่มีต่องานมีผลต่อความขัดแย้งหรือปัญหาครอบครัวอย่างไร แต่จากการสังเกตคร่าวๆ พบว่า สามีที่มีการศึกษาดี จบ
จากสถาบันชั้นนำา มักจะให้ความสำาคัญกับความพึงพอใจต่องานมากกว่าและมักจะทำากิจกรรมที่เกียวข้องหรือส่งเสริมหน้าที่
                                                                                      ่
การงานในวันหยุด ในทางตรงกันข้าม ภรรยาซึ่งเป็นนักธุรกิจนั้นมักใช้เวลาว่างเพื่อครอบครัวและบุตรมากกว่า อย่างไรก็ตาม
ทั้งสามีและภรรยาจะมีความพึงพอใจต่อครอบครัวเพิ่มขึ้นเมื่อได้มีโอกาสทำากิจกรรมร่วมกันเพื่อครอบครัว เช่น การวางแผน
การศึกษาให้บุตร”
สามี

                                              สามี
             มีการศึกษาดี               มีการศึกษา าคัญ
                                        ครอบครัวสำ
                                             ทั่วไป

                                    ?              ?


                                                                                             กิจกรรมร่วม
                                                                                               กันเพื่อ
                 งานสำาคัญ                  ครอบครัว                                        ครอบครัว เช่น
                                             สำาคัญ                                          การวางแผน


                                        ?              ?



                    นักธุรกิจ                 ทั่วไป




                                 ภรรยา

6. ท่านคิดว่า การที่นักวิจัยคนหนึ่งจะสามารถคิดหัวข้อวิจัยที่ดีออกมาได้นั้น
   นักวิจัยคนนั้นต้องมีคุณสมบัติอะไรบ้างและมีปัจจัยใดๆทีมีอิทธิพลต่อการ
                                                         ่
   คิดหัวข้อวิจัยของนักวิจัยคนนั้นบ้าง และมีอิทธิพลอย่างไร


      ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการคิดหัวข้อวิจัยของนักวิจัยและคุณสมบัติที่ดีของ
นักวิจัยในการคิดหัวข้อวิจัยก็คือตัวนักวิจัยเองซึ่ง ต้องมีวิสัยทัศน์ มีความชำานาญในการวิเคราะห์ องค์
ความรู้ ความเข้าใจและเข้าถึงช้อมูลสำาคัญ สามารถมองหาประโยชน์และประเด็น ตีความหมายสำาคัญได้
สามารถกำาหนดกรอบ ประเด็น ( Reasearch Concept) ได้ ขยันรู้วิธีนำาเสนอและหาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ที่จะนำามา
สรุปหาประเด็นหลัก อาจรวมถึงความชำานาญในการประเมินขั้นต้นถึง ขั้นตอนและวิธี มีจรรยาบรรณ
        การเข้าใจและเข้าถึงนักวิจัยจะต้องมองออกไปให้พ้นจากกรอบของทฤษฎี อย่ายึดติดกับว่าผู้วิจัยต้อง
เป็นศูนย์กลางของการศึกษา จนขาดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มองไม่เห็นตัวตนของการเคลื่อนไหว คิดที่หลายๆ
มิติ และสามารถมองเห็นตัวบริบท มีความเป็นอิสระสูง ไม่ยึดติด หรือมีอติกับงานวิจัย พร้อมที่จะปรับได้ตาม
สถานการณ์ รู้ จัก สังเกต เข้าใจพฤติกรรมการแสดงออก ประเมิน ปรับปรุงแก้ไข คนชอบคิด ช่างคิด อย่างเป็น
ระบบ(Thinking System) คิดอย่างเป็นกระบวนการ คิดเป็นขั้นเป็นตอน คิดในเหตุการณ์ ในปรากฏการณ์เชิง
เหตุปัจจัย มองทุกอย่างเป็นปัจจัยยาการซึ่งกันและกัน


       มีอิทธิพล โดยที่ปัจัยที่มีอิทธพลก็คือ ความคิด ความชำานาญ และทัศนคติของนักวิจัย เพราะถ้ายึด
ติดกับความคิดตัวเอง หรือทฤษฎีต่างๆมากเกินไป ไม่ยืดหยุ่นเปิดกว้างก็อาจไม่สามารถ หาหรือสรุปประเด็น
สำาคัญหรือประเด็นหลัก ได้ และไม่สามารถหากรอบ หรือขอบเขตงานวิจัยนั้นๆ
   ………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
7. จงอธิบายและเปรียบเทียบ ลักษณะของงานวิจัยแบบกรณีศึกษา (case
study research) และลักษณะงานวิจัยแบบทดลอง (experimental study
research) โดยในคำาตอบของท่านกำาหนดให้มีคำาสำาคัญดังต่อไปนี้
              ตัวแปร, สมมติฐาน, เหตุผล, พื้นที่, ตัวแทน

       งานวิจัยแบบทดลอง คือการวิจัยที่ไดรบขอมูลตางๆมาโดยอาจทำาในห้องทดลอง เพื่อ
                                          ั
การควบคุมสถานการณ หรือ ตัวแปร อย่างใด อยางหนึ่ง หรืออาจจะกลาวไดวาการวิจัยเชิงทดลองเป
นกระบวนการคนควาหาความจริงโดยวิธีทางวิทยาศาสตร ซึ่งพยายามจะทำาใหมีการสังเกตอยาง
ยุตธรรม มีเหตุผล ทำาภายใตเงื่อนไขหรือภาวะที่ถูกกำาหนด และติดตามเก็บรวบรวมขอมูลหรือหลักฐาน
    ิ
เพื่อคน หาความจริงไปสรุปความตามสมมติฐานที่ตั้งไวหรืออาจกลาวได้ว่าการวิจัยเชิงทดลองนี้ทำาขึ้น
เพื่อทดสอบ สมมติฐาน ที่ตั้งขึ้นนั่นเอง ซึงมีความแตกตางกับงานวิจัยแบบกรณีศึกษามีขอดี คือมี
                                         ่
ความคลาดเคลื่อนน้อย ในแงมุมตางๆกันบางแบบดีในแงของความประหยัด สามารถกำาหนดตัวแปร
เจาะจงในสิ่งที่กำาลังศึกษา และสามารถควบคุมตัวแปรอื่นๆที่ไม่เกี่ยวของได้ ผันแปรนอยที่สุดสามา
รถทำาไดหลายวิธีไดขอ สรุปที่ชัดเจน ขอเสีย มีข้อจำากัด ผลที่ได้ใชได้แค่ในกรณีนั้นๆเท่านั้น จึงมีข้อ
จำากัดในการประยุกต์ใช้
งานวิจัยแบบกรณีศึกษา เพราะกรณีนี้เป็นการวิจัยที่ผูวิจยเลือก พื้นที่ ใดพื้นที่หนึ่งมาศึกษา
                                                      ั
อยางละเอียดการวิจยประเภทนี้ใชกันมากในหมูนักมานุษยวิทยา เลือกและเจาะจงว่าจะศึกษาอะไร โดย
                         ั
ปล่อยให้ตัวแปรนั้น แสดงเหตุและผลที่กระทบกับตัวแปรอื่นๆโดยมี ขอจำากัดของการวิจยดังกลาวคือ
                                                                                       ั
ไมสามารถควบคุมปรากฏการณตางๆไดครบถวน ศึกษาสภาพตาง ๆ ตามที่เปนอยูมิไดมีโดยไม่มีการ
ควบคุมตัวแปรใดๆ เพื่อดูผลที่เกิดขึ้นจากการกระทำาดังกลาว ร่วมกันภายในบริบทของสถานการณ์จริง
โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อขอบเขต(ความรู้ความเข้าใจ)ระหว่างปรากฏการณ์และบริบทนั้นยังไม่มีความ
ชัดเจน” ซึงการวิเคราะห์แสวงหาความจริง ใช้แนวทางวิทยาศาสตร์กายภาพ เน้นการแสวงหาความ
              ่
จริงเชิงสาเหตุ วิเคราะห์จากหลักฐานเชิง มีเป้าหมายเพื่อ สร้างความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ และหาคำา
อธิบายความสัมพันธ์ดังกล่าวอย่างมีเหตุผล การตีความ และการวิพากษ์ ซึงงานวิจัยนั้นๆจะดีหรือสรุป
                                                                             ่
ได้หรืไม่ทั้งนี้ขึ้นอยู้กับแนวทางทางปรัชญาของผู้วิจัยด้วย (ในสิ่งที่เกิดขึ้นในธรรมชาติไม่สามารถ
ควบคุมตัวแปรได้ตามต้องการ ละตัวแปรแต่ละตัวอาจมีผลต่อแบบทดลองนั้นๆ)
ขอดี ขอสรุปหรือขอคนพบที่ไดมักจะ สามารถเป็นตัวแทนนำาไปใชไดกับทองที่อื่นได้ ไม่ใช่แต่เฉพาะ
พื้นที่ที่ศึกษาเทานั้น ส่วนใหญ่จะเป็นการศึกษาด้านพฤติกรรม
………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………….
8. จงอธิบายว่าวิธีวิจัยแบบ Mix Methods คืออะไรและอธิบายรูปแบบการดีไซน์
   mix methods แบบต่างๆพร้อมยกตัวอย่างที่เป็นรูปธรรมประกอบ


………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………
เป็นการวิจัยในแนวทางแบบ Mix Methods ซึ่งเป็นการผสานวิธีคิดและระเบียบวิธีเชิงปริมาณและ
คุณภาพ ใช้การสังเกตกิจกรรม การร่วมกิจกรรมในพื้นที่ การเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นระยะ ๆ จากนักวิจัย
และภาคีที่เกี่ยวข้อง ผู้บริหารโครงการและผู้ให้ข้อมูลสำาคัญ รวมทั้งการแลกเปลียนเรียนรู้กับผุ้กำาหนด
                                                                                        ่
นโยบาย ผูรับผิดชอบ และภาคีที่ดำาเนินงานโครงการนี้ในพื้นที่ปฏิบัติการด้วย
                  ้
            วิธีวิจัยแบบ Mixed Methodology เป็นการออกแบบแผนการวิจัย ที่จดมุ่งหมายอย่างใดอย่าง
                                                                                    ุ
หนึ่งหรือหลายประการดังนี้
                    1. เพื่อเป็นการตรวจสอบสามเส้า ให้เพิ่มความเชื่อมั่นในผลของการวิจัย
                    2. เพื่อเป็นการเสริมให้สมบูรณ์หรือเติมให้เต็ม เช่น ตรวจสอบประเด็นที่ซำ้าซ้อนหรือ
ประเด็นที่แตกต่างของปรากฏการณ์ที่ศึกษา เป็นต้น
                    3. เพื่อเป็นการริเริ่ม เช่น ค้นหาประเด็นที่ผิดปกติ ประเด็นที่ผิดธรรมดา ประเด็นที่ขดแย้ง
                                                                                                        ั
หรือทัศนะใหม่ ๆ เป็นต้น
                    4. เพื่อเป็นการพัฒนา เช่น นำาเอาผลจากการศึกษาในขั้นตอนหนึ่งไปใช้ให้เป็น
ประโยชน์กับในอีกขั้นตอนหนึ่ง เป็นต้น
                5. เพื่อเป็นการขยาย ให้งานวิจัยมีขอบข่ายที่กว้างขวางมากขึ้น
     วิธีวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methodology) จำาแนกเป็นสองลักษณะ คือ                     การประยุดต์ลักษณะ
เดียว( single application) และการประยุกต์ลักษณะพหุ(mulitiple application) โดยการผสมนั้น
   ่
เกิดขึ้นภายในขั้นตอนของการวิจัย ซึ่งกระบวนทัศน์การวิจัยที่ใช้อาจเป็นเชิงปริมาณ แต่การรวบรวม
ข้อมูลอาจเป็นเชิงคุณภาพ หรือในทางกลับกันหรือข้อมูลที่รวบรวมมาอาจเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพ แต่
อาจวิเคราะห์ให้เป็นเชิงปริมาณ ด้วยการปรับข้อมูลเชิงคุณภาพเป็นเชิงปริมาณ หรือข้อมูลเชิงปริมาณ
แต่วิเคราะห์ให้เป็นข้อมูลเชิงคุณภาพ ด้วยการปรับข้อมูลเชิงปริมาณให้เป็นข้อมูลเชิงคุณภาพ
เช่น การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบความรู้และทักษะการใช้ห้องสมุดของ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านหนองขาม(สันติกาญจน์ราษฎร์บำารุง) โดยใช้ระเบียบวิธี
การวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed - Model) ในรูป Concurrent Triangulation Design ซึงใช้กระบวนการ
                                                                                    ่
วิจัยเชิงปฏิบติการแบบมีส่วนร่วม (participatory action research : PAR) กลุ่มผู้ร่วมวิจยประกอบ
             ั                                                                        ั
ด้วย ผูบริหารโรงเรียน ครูประจำาชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ครูบรรณารักษ์ หัวหน้าชั้นประถมศึกษาปีที่
         ้
3 และนักเรียนเจ้าหน้าที่โรงเรียนบ้านหนองขาม(สันติกาญจน์ราษฎร์บำารุง)
จำานวน 14 คน กลุ่มเป้าหมายในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่ศึกษาในภาคเรียนที่
2 ปีการศึกษา 2549 โรงเรียนบ้านหนองขาม(สันติกาญจน์ราษฎร์บำารุง) สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประจวบคีรขันธ์ เขต 2 จำานวน 24 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย
                        ี
แบบทดสอบความรู้ในการใช้ห้องสมุด ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.8348 แบบวัดทักษะการใช้ห้อง
สมุด ซึงมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.8769 แบบสังเกตทักษะการใช้ห้องสมุด และ แบบสัมภาษณ์
           ่
ความรู้และทักษะการใช้ห้องสมุด การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์ข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและเชิง
คุณภาพ กล่าวคือ ในเชิงปริมาณใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติทดสอบที่ (t – test for
Independent samples) ส่วนในเชิงคุณภาพวิเคราะห์และนำาเสนอข้อมูลเชิงบรรยายผลการวิจัยพบว่า

1. นักเรียนมีความรู้ในการใช้ห้องสมุดหลังจากร่วมกิจกรรมยุวบรรณารักษ์สูงขึ้นกว่าก่อนร่วมกิจกรรม
อย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

 2. นักเรียนมีทักษะในการใช้ห้องสมุดหลังจากร่วมกิจกรรมยุวบรรณารักษ์สูงขึ้นกว่าก่อนร่วมกิจกรรม
อย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติที่ระดับ




การออกแบบการวิจัยเชิงผสมผสาน
(Mixed Method and Multimethod Research Design)
บรรยายโดย รองศาสตราจารย์ ดร.ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
สรุปความรูโดย นางอินทิรา นาคนัตร์
             ้
ความหมายของการวิจัยเชิงผสมผสาน
      การวิจัยเชิงผสมผสาน หมายถึง การออกแบบการวิจัยที่ผสมผสานทั้งเชิงปริมาณ และเชิง
คุณภาพ หรือคุณลักษณะ เพื่อลดข้อจำากัดของการวิจัยทั้งสองแบบลง โดยการวิจัยเชิงปริมาณ เน้น
ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่วัดได้ในเชิงปริมาณเป็นตัวเลขแล้วสรุปผลจากกลุ่มเล็ก ๆไปยังประชากร
กลุ่มใหญ่ ๆ ในขณะที่การวิจยเชิงคุณลักษณะเน้นการแปลความ การให้ความหมาย การเชื่อมโยง
                            ั
โครงสร้าง ความสัมพันธ์ และเมื่อผสมผสานทั้ง 2 แบบเข้าด้วยกัน จึงทำาให้การออกแบบ
      การวิจัยสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ช่วยให้นักวิจัยได้ข้อสรุปของวิธีการที่หลากหลาย และการวิเคราะห์
ข้อมูลจากหลาย ๆ วิธี


    ธรรมชาติของการวิจัยเชิงผสมผสาน (The Nature of Mixed Method Research)
    เนื่องจากการวิจัยเชิงผสมผสานเป็นการวิจัยที่เกี่ยวข้องทางสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์กับทาง
วิทยาศาสตร์ ดังนั้นการนำาเสนอวิธีการจึงมีธรรมชาติ ดังนี้
    1. เป็นการทำาวิจัยทีเชื่อมโยงกับวิวัฒนาการ มีการเชื่อมโยงความเป็นมา เช่น การวิจัยเชิง
                         ่
         ประวัติศาสตร์ เชิงจิตวิทยา มีการศึกษาข้อมูลหลาย ๆ แหล่งทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ
         และตรวจสอบความตรงภายใน ด้วยวิธี Triangulation
    2. ลักษณะการเก็บรวบรวมข้อมูลมีทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณลักษณะเพื่อเป็นการยืนยันผลสรุป
3. มีการวิเคราะห์ และสังเคราะห์จากการเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งสองแบบ ทำาให้ผู้วิจยเขียนสรุป
                                                                               ั
      รายงานได้ครบถ้วน

ลักษณะการออกแบบการวิจัยเชิงผสมผสาน
ในอดีตที่ผ่านมา มีการโต้แย้งกันระหว่างนักวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณลักษณะ ซึ่งมีข้อ
แตกต่างกันอย่างมาก โดยที่นักวิจัยจะไม่ผสมผสานทั้ง 2 วิธีเข้าด้วยกัน เพราะถือว่าแต่ละวิธีมี
    คุณลักษณะเฉพาะที่ตรงข้ามกัน แต่ต่อมาได้มีนักวิจัยเริ่มเชื่อมโยงทั้ง 2 แบบเข้าด้วยกัน ดังเช่น
    ทีCrosswell (1994) ได้กล่าวไว้ว่า Campbell ได้ศึกษาลักษณะ (Traits) ของบุคคล โดยนำา
       ่
    วิธีTriangulation มาใช้ผสมกับเชิงปริมาณ มีการเก็บข้อมูลหลาย ๆ วิธี เพื่อยืนยันความถูกต้อง ซึง่
    กันและกัน โดยใช้วิธีการสำารวจกับการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก เป็นต้น การผสมผสานกันนี้มี 2
    แนวทาง
1. การผสมผสานในระดับเทคนิควิธี พบว่ามีการประยุกต์ใช้เทคนิควิธีการของแต่ละวิธีเช่น การ
    วิเคราะห์ข้อมูลจะใช้วิธีวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ แล้วเสริมด้วยการวิเคราะห์เชิงคุณลักษณะ
2. การผสมผสานในระดับยุทธวิธี คือ การทำาการวิจยเชิงปริมาณก่อนแล้วตามด้วยการวิจัยเชิง
                                                      ั
    คุณลักษณะ หรือมีการผสมผสานกันตามขั้นตอนของการวิจัย สำาหรับกลยุทธ์การผสานวิธีวิจัยนี้มีชื่อ
    เรียกต่าง ๆ กัน เช่น
         - Mixed-method design
         - Qualitative-quantitative methodology design
         - Combined qualitative and quantitative design
         - Multi-method research
การผสมผสานวิธีการวิจัย ทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณลักษณะนี้ มีวัตถุประสงค์ 5 ประการ
คือ

More Related Content

What's hot

ระเบียบวิธีวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยระเบียบวิธีวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยKero On Sweet
 
2 เค้าโครงและตั้งชื่อหัวข้อ
2 เค้าโครงและตั้งชื่อหัวข้อ2 เค้าโครงและตั้งชื่อหัวข้อ
2 เค้าโครงและตั้งชื่อหัวข้อNitinop Tongwassanasong
 
1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย
1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย
1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัยbenjama
 
การสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นการสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นRungnapha Thophorm
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัยKruBeeKa
 
44444444444444
4444444444444444444444444444
44444444444444bow4903
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจkhuwawa2513
 
การเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัยการเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัยDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การวิจัยเบื้องต้น
การวิจัยเบื้องต้นการวิจัยเบื้องต้น
การวิจัยเบื้องต้นอรุณศรี
 
9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัยguest9e1b8
 
เล่ม 2 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นการทดลองทางวิทยาศาสตร์
เล่ม 2 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นการทดลองทางวิทยาศาสตร์เล่ม 2 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นการทดลองทางวิทยาศาสตร์
เล่ม 2 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นการทดลองทางวิทยาศาสตร์Ausa Suradech
 
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้skiats
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8Narut Keatnima
 
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)kulwadee
 

What's hot (19)

ระเบียบวิธีวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยระเบียบวิธีวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัย
 
2 เค้าโครงและตั้งชื่อหัวข้อ
2 เค้าโครงและตั้งชื่อหัวข้อ2 เค้าโครงและตั้งชื่อหัวข้อ
2 เค้าโครงและตั้งชื่อหัวข้อ
 
ตัวแปรและสมมติฐานการวิจัย
ตัวแปรและสมมติฐานการวิจัยตัวแปรและสมมติฐานการวิจัย
ตัวแปรและสมมติฐานการวิจัย
 
1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย
1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย
1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย
 
การสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นการสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็น
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
 
44444444444444
4444444444444444444444444444
44444444444444
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
 
การเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัยการเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัย
 
Mt research
Mt researchMt research
Mt research
 
3.การออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
3.การออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)3.การออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
3.การออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
 
การวิจัยเบื้องต้น
การวิจัยเบื้องต้นการวิจัยเบื้องต้น
การวิจัยเบื้องต้น
 
9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย
 
เล่ม 2 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นการทดลองทางวิทยาศาสตร์
เล่ม 2 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นการทดลองทางวิทยาศาสตร์เล่ม 2 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นการทดลองทางวิทยาศาสตร์
เล่ม 2 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นการทดลองทางวิทยาศาสตร์
 
เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)
เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)
เทคนิคและการทบทวนวรรณกรรมและการพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย (ผศ.ดร.กชพร นำมาผล)
 
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้
การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8
 
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)
 
ppt
pptppt
ppt
 

Viewers also liked

คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔
คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔
คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔r2d2ek
 
เครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพ
เครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพเครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพ
เครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพAimy Blythe
 
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่างประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง0804900158
 
รูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทรูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทKannika Kerdsiri
 

Viewers also liked (7)

คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔
คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔
คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔
 
เครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพ
เครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพเครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพ
เครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพ
 
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
 
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่างประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
 
แนวข้อสอบประมวล Radompon
แนวข้อสอบประมวล Radomponแนวข้อสอบประมวล Radompon
แนวข้อสอบประมวล Radompon
 
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
 
รูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทรูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บท
 

Similar to 123

ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำsliderubtumproject.com
 
การทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นการทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นPongtong Kannacham
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7supap6259
 
07 final exam
07 final exam07 final exam
07 final examKruBeeKa
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์korakate
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์korakate
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนnang_phy29
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practicepyopyo
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3bussayamas1618
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนวyutict
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยอรุณศรี
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยอรุณศรี
 
Questionare
QuestionareQuestionare
Questionarepingkung
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลwisnun
 
ฟ้า1
ฟ้า1ฟ้า1
ฟ้า1fa_o
 
Scaffolding
ScaffoldingScaffolding
ScaffoldingTar Bt
 

Similar to 123 (20)

ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslide
 
การทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นการทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้น
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
 
07 final exam
07 final exam07 final exam
07 final exam
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
03 Hyps-FrameW.pptx
03 Hyps-FrameW.pptx03 Hyps-FrameW.pptx
03 Hyps-FrameW.pptx
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนว
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
 
Questionare
QuestionareQuestionare
Questionare
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผล
 
ฟ้า1
ฟ้า1ฟ้า1
ฟ้า1
 
PPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัยPPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัย
 
หน่วยที่๖
หน่วยที่๖หน่วยที่๖
หน่วยที่๖
 
Scaffolding
ScaffoldingScaffolding
Scaffolding
 

123

  • 1. แนวข้อสอบรายวิชาระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์ 1. จากคำากล่าวทีว่า “หากผู้บริหารในองค์กรไม่ว่าระดับสูงหรือระดับกลาง ่ ได้มีโอกาสเรียนรู้การทำาวิจยที่ดี จะมีส่วนช่วยในการตัดสินใจในการ ั บริหารงาน นอกจากนั้นการจ้างบริษทภายนอกมาแก้ไขปัญหาในองค์กร ั ก็จะไม่ใช่สิ่งที่จำาเป็นอีกต่อไป” ท่านมีความเห็นอย่างไรต่อคำาพูดดัง กล่าวนี้ โดยในการตอบคำาถามของท่าน กำาหนดให้มีคำาสำาคัญดังต่อไป นี้อยู่ด้วย ซับซ้อน, ประสิทธิภาพ, อินเตอร์เน็ต, วิสัยทัศน์, ความรวดเร็ว การศึ กษาว า ในแต่  ล ะในกรณี ที่ ผู้ บริ หาร ไม่ ว่ าระดั บไหน เข้ าใจในขบวนการ • ทำา งานวิ จั ยอย่ างดี จะมี ส่ วนช่ วยและเป็ นแนวทางในการบริ หารจั ดการ ประเมิ น ตั ดสิ นใจ และสามารถวิ เคราะห์ ปั ญหาที่ จะเกิ ด ในงานวิ จั ยนั้ นๆ แต่ การที่ จะ ตั ดสิ นใจจะมี หรื อไม่ มี ประสิ ทธิ ภาพ และจะดำา เนิ นไปในแนวทางใด ขึ้ นยู่ กั บ วิ สั ยทั ศน์ ของผู้ บริ หารเอง ในการจะสรุ ปว่ าจะทำา งานวิ จั ยนั้ นเองหรื อจ้ าง บริ ษั ทภายนอกมาดำา เนิ นการนั้ น • ขึ้ นอยู่ กั บวิ สั ยทั ศน์ และความชำา นาญของผู้ บริ หารโดยตรง ว่ าจะสามารถประ เมิ นเบื่ องต้ นได้ หรื อไม่ ว่ าในงานนั้ นๆมี ความยาก ง่ าย ขั้ นตอนการดำา เนิ นการที่ ยุ่ งยาก ซั บซ้ อน เพี ยงใด ทางบริ ษั ทนั้ นๆมี มี ความต้ องการเร่ งด่ วนแค่ ไหน มี บุ คลากร เวลา ในการหาข้ อมู ลสำา คั ญมากน้ อยเพี ยงใด คุ้ มจะทำา หรื อคุ้ มที่ จะดำา นิ นการเองหรื ไม่ หรื อจ้ างบริ ษั ทที่ ดำา เนิ นการเกี่ ยวกั บด้ านนี้ โดยตรง ในเบื่ องต้ นในการตั ดสิ นใจนั้ น มี ความจำา เป็ นอย่ างยิ่ งที่ ต้ องมี การทำา การ • ทบทวนบรรณกรรมคร่ าวๆ เพื่ อที่ จะได้ เข้ าใจ นำา มาให้ สามารถกำา หนดรู ปแบบ ตั วแปรหลั ก และแนวทางต่ างๆ ของตั วงานวิ จั ยนั้ นๆ อาจหาได้ ใน อิ นเท อร์ เน็ ท ซึ่ งเป็ นอะไรที่ สะดวกและมุ่ งยากมากนั ก ในข้ อดี ของการจั ดจ้ างบริ ษั ทที่ ดำา เนิ นการเกี่ ยวกั บด้ านนี้ โดยตรงมาดำา เนิ นการ • คื อ ได้ ความสะดวก และ ความรวดเร็ ว ใช้ เวลาน้ อยกว่ ามี ความชำา นาญ มี เวลา โดยตรงและเติ มที่ ในการทำา
  • 2. 2.ท่านคิดว่าอะไรคือจุดประสงค์ และ ประโยชน์ ของการทบทวนวรรณกรรม อีกทั้งขอให้ ท่านอธิบายลักษณะของการทบทวนวรรณกรรมที่ไม่ดี และ ผลเสียหายที่จะเกิดขึ้นเนื่อง มาจากการทบทวนวรรณกรรมที่ไม่ดี จุ ดประสงค์ การศึ กษาว  าในแต  ละประเด็ นที่  มี ผู  ใดศึ กษา หรื อเขี ยนทฤษฎี ต  างๆที่ เกี่ ยวข  อง ในเรื่ องนี้ มาบ  าง ได  ค  นพบ อะไร หรื อได  อธิ บายไว  อย  างไร มี เรื่ องใดบ  างที่ เคยผ  านการ ศึ กษา และ ผลที่ ได  จากการวิ เคราะห  ตลอดจนข  อสรุ ป และข  อเสนอแนะของผู  วิ จั ยในอดี ตมี ความเกี่ ยวข  องกั บ ประเด็ นที่ จะศึ กษาอย  างไร เพื่ อป  องกั นการทำ าวิ จั ยซ้ ํํ าซ  อน เพื่ อช  วยให  เกิ ดความคิ ด และมี ทิ ศทางในการทำ างานวิ จั ย ได  แก  การจั ดการกั บป  ญหาที่ เกิ ดขึ้ น การตั้ งสมมติ ฐานการวิ จั ย วิ ธี การทำ าวิ จั ย แหล  งขอมู ลเพื่ อพั ฒนาความคิ ดในการออกแบบวิ ธี การศึ กษาเพื่ อมุ  งสู  ความสำ าเร็ จของงานวิ จั ย ประโยชน์ 1. ทำา ให้ ไม่ ทำา วิ จั ยซำ้า กั บผู้ อื่ น 2. ทำา ให้ ทราบอุ ปส รรค หรื อ ข้ อบกพ ร่ องและจุ ดแข็ งในการทำา วิ จั ยเรื่ องนั้ นๆ 3. ใช้ เป็ นข้ อมู ลพื้ นฐานประกอบการพิ จารณากำา หนดขอบเขตและตั วแปรการวิ จั ย 4. ใช้ เป็ นข้ อมู ลในการกำา หนดกรอบแนวคิ ด เทคนิ คการเก็ บ ข อมู ลและเครื่ องมื อที่ ใช ใน ช่ วยในการกำา หนดสมมติ ฐานการวิ จั ย ช วยแสดงวิ ธี ตี ความผลการวิ จั ย 5. 6. ช่ วยกำา หนดรู ปแบบแล ะวิ ธี การวิ จั ย ชี้ แนะการทำ าตาราง สถิ ติ และกราฟ 7. ช่ วยในการเชื่ อมโยงสิ่ งที่ ค้ นพบในการวิ จั ยครั้ งนี้ กั บ ที่ พบจาการวิ จั ยที่ ผ่ านมา 8. ช วยเสนอแนะแหล งสำ าหรั บพิ มพ ผลงานวิ จั ย ลั กษณะของการทบทวนวรรณกรรมที่ ไม่ ดี นำ างานที่ เป นที่ รู จั กกั นทั่ วไปมาทบท วนหรื ออภิ ปรายโดย ไม มี การอ างอิ งที่ เหมาะสม •
  • 3. สะกดชื่ อผู แต งหรื อป ที่ พิ มพ ผิ ด • ใช แนวคิ ดเพื่ อแสดงความรู สึ กหรื อใช แนวคิ ดโดยไม มี การนิ ยามยื ดติ ดกั บความคิ ตตั วเอง • มี อคติ ใช ถ อยคำ าที่ ผู อ านไม เข าใจ • ยอมรั บในเอกสารที่ ทบทวนหรื อเชื่ อในทุ กสิ่ งที่ เขี ยนไว • เขี ยนโดยไร จุ ดหมายหรื อไม มี การควบคุ มความถู กต องในการจดบั นทึ กไม่ มี ประเด็ น • นำ าเรื่ องราวที่ ไม เกี่ ยวข องกั บเรื่ องที่ ตนศึ กษามารวมไว ในงานวิ จั ยของเรา • อ้ างทฤษฎี ที่ รู้ มาแล้ ว อ้ างซำ้า ซาก • • ศี ลธรรม รั บผิ ดชอบ ซื่ อสั ตย์ ทางวิ ชาการ สิ่งสำาคัญอยางยิ่งในการเสนอผลการทบทวนวรรณกรรม คือ ไมควรนำาผลการทบทวนของผูอื่นมาเสนอ ราวกับวาตนเองเปนผูทำาการทบทวน ความซื่อสัตยของผูวิจัยในการระบุวา สวนใดของเนื้อหาสาระเปนผลงานของนักวิชาการอื่นที่ผูวิจัยไดนำามาใชประโยชนเปนสิ่งสำาคัญ มี มิ ฉะนั้ นจะเกิ ดการละเมิ ดจริ ยธรรมทางวิ ชาการได และไม่ เกิ ดประโยชน์ ในเชิ ง บู รณาการ 3.ท่านคิดว่าอะไรคือความเหมือน และ ความแตกต่างของวิธีวิจัยเชิง คุณภาพ วิธีวจัยเชิงปริมาณ อีกทั้งให้ท่านอธิบายจุดอ่อน จุดแข็ง ิ ของวิธีวิจัยทั้งสองวิธี ความเหมือน คือรูปแบบ ขั้นตอนชำาดับในการทำาเช่นกำาหนดหัวข้อสำาหรับการวิจัย ,แจกแจงประเด็น ปัญหาย่อยสำาหรับการวิจัย ,ตั้งสมมติฐาน ,สร้างกรอบแนวความคิด ,ทบทวนวรรณกรรมและทฤษฎีที่ เกี่ยวข้อง ,กำาหนดตัวแปร (การสุ่มตัวอย่าง),การออกแบบวิจัย ,การสร้างเครื่องมือสำาหรับการเก็บ รวบรวมข้อมูล,การเก็บรวบรวมข้อมูล / การจัดระเบียบข้อมูล ,การวิเคราะห์ข้อมูล การวิจัยเชิงปริมาณ หรือการวิจัยเชิงคุณภาพต่างก็มีวัตถุประสงค์อย่างเดียวกัน คือการทำาความเข้าใจ การบรรยาย หรืออธิบาย ปรากฏการณ์ที่ศึกษาอย่างเป็นระบบ แต่การใช้เทคนิควิธีการศึกษา และมุมมองต่อ ปรากฏการณ์นั้น ๆ ความแตกต่าง คือ จุดประสงค์ ค่าทีติองการ คือ o การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ่ (ก) ข้อมูลที่เป็นตัวเลขเป็นฐานยืนยันความถูกต้องของข้อค้นพบและข้อสรุปต่างๆ ของเรื่องที่ทำาการศึกษา และวิจัย งานวิจัยที่มีคุณภาพดีถ้าสามารถพิสูจน์ได้ว่าให้คำาตอบได้ถูกต้องจากการใช้ระเบียบวิธีที่เหมาะสม o การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) การวิจัยที่ที่เน้นการหารายละเอียดต่างๆ ของกลุ่ม ประชากรที่ทำาการศึกษา ที่จะก่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในเรื่องนั้นๆ ข้อมูลหรือข้อค้นพบอาจได้มา จากการสังเกตหน่วยที่ต้องการศึกษาเพียงไม่กี่หน่วย หรือเพียงไม่กี่กลุ่มหรือชุมชน การวิจัยชนิดนี้มิได้มุ่งเก็บ ข้อมูลที่เป็นหรือสามารถทำาให้เป็นตัวเลขจากกลุ่มประชากรเป้าหมายที่ศึกษามาทำาการวิเคราะห์เชิงปริมาณเพื่อ ให้ได้คำาตอบใช้ได้กว้างขวางทั่วไป ต้องการสร้างสมมุติฐานและทฤษฎีใหม่ๆ หรือกรณีที่หาคำาอธิบายไม่ได้ เมื่อต้องการศึกษาความเปลี่ยนแปลงของปรากฎการณ์ เมื่อต้องการสร้างความเข้าใจปรากฎการณ์อย่างลึกซึ้ง เมื่อต้องศึกษากลุ่มหรือชุมชนที่สื่อสารได้ยาก
  • 4. เมื่อต้องการศึกษาสิ่งที่เป็นนามธรรม เกี่ยวกับค่านิยม ความเชื่อ โลกทัศน์ เมื่อต้องการข้อมูลระดับลึกเพือการตัดสินใจ ่ เมื่อต้องการปฏิบัตการวิจัยแบบมีส่วนร่วม ิ ๑๐.๘ ข้อจำากัด ข้อค้นพบนำาไปใช้อ้างอิงในกรณีอื่นๆได้จำากัด เพราะไม่เน้น generalization ผู้วิจัยเป็นเครื่องมือการวิจัยที่สำาคัญทีสุด จึงต้องได้รับการอบรม และมีการเตรียมตัวอย่างดี ่ ใช้เวลาและทรัพยากรมาก มีความเป็นอัตนัยของข้อมูล จึงถูกโจมตีเรืองความเที่ยงตรงและความน่าเชื่อถือได้ ่ การวิเคราะห์และการตีความ ต้องการความสามารถเฉพาะของผู้วิจัยสูงมาก ต้องการผู้วิจัยที่มีความรู้ในหลายศาสตร์ เชิงคุณภาพ เชิงปริมาณ - เข้าใจปรากฏการณ์ทางสังคม - ควบคุม ทำานายผลและหาความสัมพันธ์ของตัวระหว่างแปร - มองภาพรวม - มองตัวแปรทีละตัวเป็นเหตุและผล - มีความเฉพาะในแต่ละบริบท - อิสระจากบริบท อ้างอิง ไปยังกลุ่มประชากร - นักวิจัยสังเกตแบบมีส่วนร่วม - นักวิจัยอยู่เหนือสิ่งที่วิจัย - เขียนบรรยายและตีความ - ใช้การวิเคราะห์ทางสถิติ เปรียบเทียบความแตกต่างของการวิจัยเชิงคุณภาพกับการวิจัยเชิงปริมาณ ข้อแตกต่าง การวิจัยเชิงปริมาณ การวิจัยเชิงคุณภาพ 2. - มุ่งวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร - ต้องการเข้าใจความหมาย กระบวนการความรู้สึกนึกคิด วัตถุประสงค์ อิสระกับตัวแปรตาม โดยเชือมโยงกับบริบทของสังคม ่ 3. การกำาหนด - กำาหนดล่วงหน้าก่อนทำาการวิจัย - กำาหนดคร่าวๆพร้อมทีจะเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ ่ สมมุติฐาน 4. การคัด - สุ่มโดยอาศัยการสุ่มชนิดทีทราบโอกาสหรือ ่ - สุ่มโดยอาศัยการสุ่มชนิดที่ไม่ทราบโอกาสหรือความน่าจะ เลือกตัวอย่าง ความน่าจะเป็นที่ถกเลือก (Probability) ู เป็นที่จะถูกเลือกเป็นตัวอย่าง (Non-probability sampling) 5. จำานวน - จำานวนมาก - จำานวนน้อย ตัวอย่าง 6. ขอบเขต - ศึกษาในวงกว้าง โดยเลือกเฉพาะกลุ่มตัวอย่าง - ศึกษาแนวลึกเฉพาะกลุ่มทีสนใจ ่ การวิจัย ทีสุ่มมา ่ 7. บทบาท - แยกผู้วิจัยออกจากเรื่องทีศึกษา ่ - ผู้วิจัยเป็นเครืองมือในการทำาวิจัย ่ ของผู้วิจัย 8. วิธีการเก็บ - แบบสอบถาม - การสังเกต ข้อมูล - แบบสัมภาษณ์ - การสัมภาษณ์เจาะลึก - การจัดสนทนากลุ่ม - การบันทึกประวัตชีวบุคคล ิ 9. การ - วิเคราะห์เชิงปริมาณโดยใช้สถิตช่วย ิ - วิเคราะห์เชิงตรรกะเป็นหลักอาจมีการวิเคราะห์เชิงปริมาณ วิเคราะห์ (Statistical analysis) ช่วยเล็กน้อย (content analysis) ข้อมูล 10. การ - รายงานผลโดยอ้างอิงสถิติ (Report statistical - รายงานผลโดยอ้างอิงคำาพูดหรือเรื่องราวจริงจากกลุ่ม รายงานผล analysis) ตัวอย่าง (Report rich narrative) 11. การสรุป -นำาไปใช้อ้างอิงแทนประชาการทั้งหมดได้ - ใช้อ้างอิงได้เฉพาะกลุ่ม ผล 12. ทักษะ - มีความสามารถทางสถิติ - มีความละเอียดอ่อนในการสังเกต เก็บรวบรวมข้อมูล และ ของนักวิจัย การตีความ การวิจัยเชิงมานุษยวิทยา การวิจัยเชิงทดลอง การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์ การวิจัยเชิงกึ่งทดลอง การวิจัยเชิงอนาคต การวิจัยเชิงสำารวจ การวิจัยเชิงประเมิน เชิงคุณภาพ เชิงปริมาณ แนวทางเชิงคุณภาพ ลักษณะทั่วไป การพรรณาความ เรียงความ ข้อความ โดยปกติการทำาวิจัย เชิงคุณภาพนี้ค่อนข้างยาก และผู้วิจัยต้องมีความเข้าใจที่ดีในเรื่องที่ตนเองทำาอยู่ วิธีการเก็บรวบรวม ข้อมูล การใช้เอกสาร การใช้ชีวิตในชุมชน การสัมภาษณ์บุคคล การประชุมกลุ่ม (Focus Group) การ ประชุมระดมสมอง (Brain Storming)
  • 5. แนวทางเชิงคุณภาพ วิธีการวิเคราะห์ การนำาเอาข้อมูลมาประมวลข้อสนเทศ ข้อคิดเห็น มาเรียบ เรียงเป็นเรื่อง แนวทางเชิงปริมาณ ลักษณะทั่วไป การแสวงหาข้อมูล โดยการนำาเอาข้อมูลที่สำารวจมาแปลงเป็น ตัวเลข มุ่งซึ่งการวิเคราะห์ทางตัวเลข ผลสรุปเป็นตัวเลข วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ตัวเลขสถิติต่าง ๆ จาก Secondary Data หรือแบบสอบถาม แนวทางเชิงปริมาณ วิธีการวิเคราะห์ ใช้เครื่องมือทางสถิติในการวิเคราะห์ 2.ความแตกต่างของการการวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ จะมีความแตกต่างใน ประเด็นต่างๆคือ 2.1 ลักษณะของข้อมูล ข้อมูลของการวิจัยเชิงปริมาณจะเป็นข้อมูลเชิงตัวเลขที่สามารถวัดได้ เช่นถ้า วัดความรู้ก็จะต้องมีการกำาหนดได้มีความรู้ระดับใด ขณะที่การวิจัยเชิงคุณภาพข้อมูลจะเป็นเรื่องของความรู้สึก นึกคิด ข้อมูลจะอยู่ในรูปของการบรรยาย การพรรณนาสิ่งต่างๆที่เกิดขึ้น 2.2 วัตถุประสงค์ การวิจัยเชิงปริมาณจะมีวัตถุประสงค์สำาคัญคือ *การทดสอบทฤษฎี การวิจัยเชิงปริมาณจะต้องมีทฤษฎีอยู่ก่อนแล้ว จากนั้นก็นำาเอาทฤษฎีหรือ กรอบแนวคิดนั้นมาทดสอบว่าเป็นจริงกับกรณีที่เราศึกษาหรือไม่ **การวิจัยเชิงปริมาณใช้เพื่อการสรุปข้อมูลที่มีจำานวนมาก เพื่อให้เห็นภาพทั่วไปของสิ่งที่เกิดขึ้นได้ ***การวิจัยเชิงปริมาณมีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการแสดงความถูกต้องของสิ่งที่เกิดขึ้น ขณะที่การวิจัยเชิงคุณภาพจะมีวัตถุประสงค์ที่สำาคัญคือ *ต้องการสร้างทฤษฎีใหม่ หรือการสร้างองค์ความรู้ใหม่ขึ้นมา **เป็นการวิจัยที่ต้องการวิเคราะห์ข้อมูลในระดับลึก **การวิจัยเชิงคุณภาพมีความต้องการที่จะทำาความเข้าใจกับความหมายในสิ่งที่จะศึกษา ซึ่งบางครั้ง เป็นเรื่องที่ต้องตีความ เช่นถ้าเราพบเห็นคนทักทายกันด้วยการสวัสดีเราอาจจะเข้าใจว่าทั้ง 2 ฝ่ายมีความพอใจ ซึ่งกันและกัน แต่ถ้าเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพอาจจะต้องทำาความเข้าใจว่าแท้จริงแล้วการทักทายกันเป็นเพียงการ แสดงออกภายนอกเท่านั้น แต่มความหมายอื่นที่ซ่อนอยู่ภายใต้การทักทาย การวิจัยเชิงคุณภาพจึงต้องอธิบาย ี คุณค่าที่แท้จริงของสิ่งที่เกิดขึ้น ดังนั้นการวิจัยเชิงคุณภาพไม่ใช่เรื่องง่ายๆ การทำาวิจัยคุณภาพจะต้องมีการกำาหนดประเด็นให้ชดเจนเสีย ั ก่อน จากนั้นจึงเอาข้อมูลมาอธิบายให้เห็นความสัมพันธ์ และต้องมีความเข้าใจในสิ่งที่อธิบายว่ามีความสำาคัญ อย่างไร ในขณะการวิจัยเชิงปริมาณจะง่ายตรงที่เราสามารถตีความจากข้อมูลที่เป็นตัวเลขที่เก็บได้จากกลุ่ม ตัวอย่าง ขณะที่การตีความหมายของปรากฏการณ์ในการวิจัยเชิงคุณภาพจะยากตรงที่หากเราใช้กรอบคิดหรือ ทฤษฎีต่างกันการตีความหมายของปรากฎการณ์ก็จะต่างกันด้วย 2.3 วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล จะแตกต่างกันตรงที่การวิจัยเชิงปริมาณจะใช้สถิติเป็นเครื่องมือในการ วิเคราะห์ ขณะการวิจัยเชิงคุณภาพจะใช้การสรุปในแบบอุปนัยในการวิเคราะห์ ***การวิจัยเชิงคุณภาพ เป็นการวิจัยที่ได้รับการยอมรับมากขึ้นในปัจจุบัน เนื่องจาก ความตกตำ่าของ การวิจัยที่ใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์ เพราะดั้งเดิมนั้นการแสวงหาความรู้มาจะจากภายในตัวตนของนักคิด นักปรัชญา แต่มาวันหนึ่งก็เกิดนัก คิดกลุ่มหนึ่งมองว่าความรู้ที่มาจากภายในตนนั้นไม่มีความน่าเชื่อถือ จึงต้องหาความรู้จากภายนอก โดยจุด เปลียนที่สำาคัญที่ทำาให้การแสวงหาความรู้มีแนวทางที่เปลี่ยนไปคือการปฏิวัติทางด้านวิทยาศาสตร์ เพราะวิธีการ ่ หาความรู้ตามแนวทางของวิทยาศาสตร์ เป็นการแสวงหาความรู้จากโลกภายนอก มีจดแข็งตรงที่ความรู้จาก ุ ภายนอกเป็นความจริงที่มาจากสิ่งที่เห็นจริงๆ หรือเป็นประจักษ์นิยม การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวทำาให้โลกทั้งโลกตกอยู่ในความเชื่อแบบวิทยาศาสตร์ จนปัจจุบันได้มีการ พิสูจน์พบว่าแท้ที่จริงแล้ววิทยาศาสตร์ไม่ได้แก้ปัญหาทุกอย่างของโลกได้ รวมทั้งการศึกษาแบบวิทยาศาสตร์ก็ ไม่ได้ช่วยในการค้นหาความจริงทั้งหมดได้ ดังนั้นเมื่อการแสวงหาความรู้จากภายนอกมีจุดอ่อน ในศตวรรษที่ 19 ทำาให้คนเริ่มกลับมามองตนเอง มากขึ้น ทำาให้คนสนใจศึกษาการวิจัยเชิงคุณภาพมากขึ้น เพราะวิชาทางสังคมศาสตร์เป็นวิชาที่ว่าด้วยมนุษย์ การ ที่จะห้ามไม่ให้มนุษย์ศึกษาเรื่องของมนุษย์ด้วยตัวมนุษย์เอง จึงไม่น่าจะถูกต้อง เพราะมนุษย์ย่อมรู้เรื่องของ มนุษย์ได้ดที่สุด ี เนื่องจากการวิจัยคุณภาพให้ความสำาคัญกับจิต ขณะการวิจัยปริมาณให้ความสำาคัญกับวัตถุ สภาพของข้อมูลของวิจัยเชิงคุณภาพ
  • 6. 1.ข้อมูลมีความยืดหยุ่น ขณะวิจัยเชิงปริมาณข้อมูลจะไม่ยืดหยุ่น เช่นถ้าเราตอบแบบสอบถามเราก็จะ ต้องตอบตามข้อเลือกที่นักวิจัยกำาหนดออกมา ขณะในการวิจัยเชิงคุณภาพผู้ตอบสามารถตอบได้อย่างหลาก หลาย นั่นคือคำาตอบของคำาถามจะขึ้นอยู่กับผู้ตอบ เช่นถ้านักวิจัยถามว่าชอบนายกทักษิณหรือไม่ ถ้าเป็นเชิงปริมาณ เราอาจจะตอบได้แค่ ชอบ ไม่ชอบ ชอบมาก ชอบมากที่สุด แต่ถ้าเป็นวิจัยเชิงคุณภาพผู้ตอบจะตอบได้กว้างขวาง ข้อมูลของการวิจัยเชิงคุณภาพจึง มีความยืดหยุ่น 2.เป็นข้อมูลเชิงอุปนัย อุปนัยหมายถึง เวลาเก็บข้อมูลผู้วิจัยจะเข้าไปสังคมและเก็บตัวอย่างทีละคน ทำาให้มองเห็นข้อมูลหรือความจริงที่เก็บมาอย่างลึกซึ้ง ส่วนจะเก็บข้อมูลจำานวนมากน้อยแค่ไหนจึงจะพอนั้นขึ้น อยู่กับว่าความจริงที่เราพบนั้นมีความมั่นใจแค่ไหน นั่นคือผู้วิจัยจะประเมินเพียงพอที่จะเชื่อได้ว่าจริงแล้วหรือไม่ แต่การวิจัยเชิงคุณภาพจะเพียงพอหรือจะยืดหยุ่นหรือไม่ผู้วิจัยจะต้องลงไปฝังตัวอยู่ในสนามการวิจัย ซึ่งจะทำาให้เราเข้าใจธรรมชาติของสิ่งที่เราศึกษาอย่างลึกซึ้ง 3.ข้อมูลต้องอิ่มตัวเพียงพอ นั่นคือการฝังตัวและเก็บข้อมูลจะต้องเก็บจนข้อมูลอิ่มตัว 4.ข้อมูลที่รอบด้าน ถ้าเราไปฝังตัวในสนามจะได้รับข้อมูลที่รอบด้าน ขณะการวิจัยเชิงปริมาณจะได้ ข้อมูลหรือความจริงของสังคมบางด้านเท่านั้น ข้อมูลจากการวิจัยคุณภาพจึงต้องการการบรรยาย การอธิบาย 6.หน่วยข้อมูล การวิจัยคุณภาพศึกษาที่ Subject หรือศึกษาจิตใจของมนุษย์ ศึกษาความหมายและ ความรู้จากคน ดังนั้นจึงไม่มีหน่วยวัดแบบวิจัยเชิงปริมาณ ตัวเลขไม่สำาคัญสำาหรับวิจัยคุณภาพ แต่วิจัยคุณภาพบางครั้งก็มีตัวเลขได้ 7.การวิจัยคุณภาพต้องเรียนรู้เรื่องของคนเป็นหลัก เพียงแต่จะศึกษามุมไหนเท่านั้น แต่ข้อมูลจากคนนั้น จะขึ้นอยู่กับอารมณ์ เช่นถ้าเราคุยกับคนที่เพิ่มตื่นนอน หรือถามในตอนกลางวัน ข้อมูลที่ได้มาจะต่างกัน ดังนั้นข้อมูลที่ได้จากมนุษย์จึงถูกกำาหนดด้วยเวลาและสถานที่ (Time and Space) หรือขึ้นอยู่กับกาละ และเทศะ ดังนั้นผู้วิจัยต้องรู้ว่าควรจะเก็บข้อมูลในเวลาและสถานที่ใด นั่นคือความแตกต่างระหว่างวิจัยเชิงคุณภาพและวิจัยเชิงปริมาณ แต่การจะใช้วิธีการแบบไหนในการ ศึกษาขึ้นอยู่กับ สภาพปัญหา เพราะปัญหาบางอย่างเหมาะสำาหรับการวิจัยเชิงปริมาณ สภาพปัญหาบางอย่าง เหมาะกับการวิจัยเชิงคุณภาพก็ต้องใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ ** ในการศึกษาเชิงคุณภาพจะให้ความสำาคัญกับวัตถุประสงค์ในการศึกษา วัตถุประสงค์ในการศึกษาจึง ถือว่าเป็นหัวใจของการวิจัยเชิงคุณภาพ ขณะสมมุติฐานเป็นหัวใจของวิจัยปริมาณ ลักษณะพิเศษของการวิจัยเชิงคุณภาพ 1. มีความยืดหยุ่นสูง พร้อมที่จะปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสมของบริบทนั้น ๆ 2. มีความเป็นอิสระสูง จะเก็บข้อมูลอะไรก่อน อะไรหลัง 3. มีกรอบแนวคิดแบบหลวม ๆ พร้อมที่จะปรับได้ตามสถานการณ์ ตามเหตุปัจจัย 4. อาจตั้งหรือไม่ตั้งสมมุติฐานก็ได้ในการวิจัย หากตั้งก็อาจเปลี่ยนได้ตามเหตุปัจจัย ข้อแตกต่างระหว่างการวิจัยเชิงปริมาณกับการวิจัยเชิงคุณภาพ คือทัศนะของการมองความจริง กับการเข้าถึง ความจริง ความจริงที่ปรากฏให้เห็น กับความจริงที่ซ่อนอยู่ เหมือนใบหน้าของคนกับความรู้สึกนึกคิดของคนที่ปกปิดที่ ซ่อนอยู่ภายใน ความจริงมีสองลักษณะ หรือมีสองมิติ เหมือนบ้านจะมีทั้งห้องรับแขกที่เป็นหน้าฉาก (Front Region) และจะมีห้องนอน ห้องครัว ที่ไม่ให้คนทั่วไปเห็นง่าย ๆ หรือที่เป็นหลังฉาก (Back Region) การวิจัยเชิงคุณภาพยึดตามปรัชญาปรากฏการณ์นิยม (Phenomenology) ปฏิเสธแนวคิดตามแบบปฏิ ฐานนิยม (Anti – Positivism) ด้านเดียว ที่นักวิจัยแบบวิทยาศาสตร์ธรรมชาตินิยมใช้กันในปัจจุบันนี้ แต่จะมอง ทั้งสองด้านไปพร้อมกันอย่างละเอียดรอบคอบรอบด้าน การวิจัยเชิงปริมาณ(Quantitative Research)จะยึดฐานคิดแบบปฏิฐานนิยม (Positivism) มองปรากฏการณ์ เป็นแบบปรนัย (Objective dimension)คือมองในมิติที่ปรากฏให้เห็น ที่วัดได้ ชั่งได้ ตวงได้ฯ หรือมองเพียง ด้านที่เป็นหน้าฉาก (Front Region) เหมือนการมองบ้าน มองเพียงห้องรับแขก ซึงมักตกแต่งไว้สวยงาม จัดไว้ ่ เป็นระเบียบ สวยงาม สะอาดสะอ้าน มีเครื่องประดับตกแต่งไว้สวยงาม นี้เป็นสิ่งที่เจ้าของบ้านต้องการให้แขก เห็น เพื่อให้เกิดภาพพจน์ (image) ที่ดต่อเจ้าของบ้าน ี การวิจัยเชิงคุณภาพ(Qualitative Research) ยึดฐานคิดแบบปรากฏการณ์นิยม (Phenomenology) มีความเชื่อ
  • 7. ว่ามนุษย์มีทั้งส่วนที่นำาเสนอต่อสาธารณะอย่างเปิดเผย(Front Region) และมีทั้งส่วนที่ปกปิด(Back Region) เพราะฉะนั้นการวิจัยเชิงคุณภาพ มองปรากฏการณ์ในหลาย ๆ มิติ เป็นแบบอัตนัย(Subjective dimension) จึง ต้องใช้วิธีการวิจัยเพื่อนำามาอธิบายปรากฏการณ์หรือพฤติกรรมบางอย่างด้วยวิธีสอบถาม ทั้งปากเปล่าและให้ กรอกแบบสอบถาม แต่อาจจะได้เพียงส่วนที่ต้องการเปิดเผย(Front Region) เท่านั้น แต่อาจไม่ได้ข้อมูลที่เป็น ความจริง ทีเป็นส่วนปกปิด(Back Region) ที่ไม่ต้องการให้สาธารณะรู้ การวิจัยเชิงคุณภาพต้องการทำาความ ่ เข้าใจและนำาเสนอความจริงทั้งที่ปรากฏและความจริงที่ซ่อนเร้นอยู่ (Real hidden) จึงระดมยุทธศาสตร์ และ ยุทธวิธีเพื่อทำาความเข้าใจในความจริงที่ซ่อนอยู่ตามเป็นจริง และตามทรรศนะของคนในสังคมมานำาเสนอให้ได้ …………………………………………………………………………………………… ………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………… …………………………………….. ………………………………………………………………………………………………… …………………………………….. ………………………………………………………………………………………………… …………………………………….. ………………………………………………………………………………………………… …………………………………….. ………………………………………………………………………………………………… ……………………………………..…………………………………………… 4.”ผู้จัดการธนาคารต้องการที่จะเก็บรวบรวมประวัติของลูกค้าธนาคารที่มีอัตราการค้าง ชำาระหนี้เกินกว่าหกเดือนขึ้นไป ผู้จัดการอยากจะทราบค่าเฉลี่ยของอายุ รายได้ อาชีพ สถานภาพการจ้างงาน นอกจากนั้น ผู้จัดการอยากจะทราบเหตุผลที่ลูกค้าผัดผ่อนในการ ชำาระหนี้ไม่ว่าจะเป็นเหตุผลทางสังคมหรือเหตุผลทางเศรษฐกิจ ซึ่งผลที่ได้รับนั้น ผู้ จัดการจะนำาไปพัฒนาแนวคิด และการปฏิบัติการในการให้สินเชื่อและการจัดการลูกหนี้ ของธนาคารต่อไป” จากข้อมูลดังกล่าวข้างต้น ท่านคิดว่า การวิจัยเชิงปริมาณ หรือเชิงคุณภาพ หรือการวิจัยแบบใดที่จะช่วยให้ผู้จัดการธนาคารบรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าว ……… การอยากจะทราบค่ าเฉลี่ ย data ที่ เป็ นในเชิ ง ตั วเลขโดยความรู้ เชิ งสถิ ติ มา ประมวลนั้ น เป็ นการวิ เคราะห์ การวิ จั ยเชิ งปริ มาณ ส่ วนการหาเหตุ และผลที่ ลู กค้ า ผั ดผ่ อนในการชำา ระหนี้ ไม่ ว่ าจะเป็ นเหตุ ผลทางสั งคมหรื อเหตุ ผลทางเศรษฐกิ จ นั้ น เป็ นการวิ จั ยเชิ งคุ ณภาพ การวิ จั ยแบบใดที่ จะช่ วยให้ ผู้ จั ดการธนาคารบรรลุ วั ตถุ ประสงค์ นั้ น……ในความเห็ นของข้ าพเจ้ าคิ ดว่ าน่ าจะเป็ นการวิ จั ยเชิ งคุ ณภาพมี ส่ วนช่ วย เพราะ เป็ นการหาเหตุ และผลวิ เคราะห์ ปั จจั ยในการที่ ลู กหนี้ แต่ ละคนไม่ สามารถชำา ระเงิ นได้
  • 8. ตามกำา หนดซึ่ งไม่ สามารถสรุ ปในเชิ งปริ มาณได้ ต้ องใช้ ความรู้ หลายสาขาในการนำา มา วิ เคราะห์ สาเหตุ และเหตุ ผลที่ เกิ ดขึ้ นกั บตั วลู กหนี้ แต่ ละราย ซึ่ งการวิ เคราะห์ ข้ อมู ลดั ง กล่ าวอาจนำา มาใช้ ในการตั้ งข้ อจำา กั ดในการให้ สิ นเชื่ อครั้ งต่ อๆ หรื ออาจนำา มาปรั บรู ป แบบที่ เหมาะสมในการจั ดการกั บลู กหนี้ เก่ าแต่ ละคนราย แต่ ในขณะเดี ยวกั นไม่ ใช่ ว่ าการวิ จั ยในเชิ งปริ มาณไม่ ใช่ ไม่ จำา เป็ น อาจจะเป็ นส่ วนช่ วยเสริ มในขบวนการวิ จั ยหรื อ แก้ ปั ญหาสำา หรั บกรณี ที่ เกิ ดก็ นี้ ซึ่ งไม่ สามารถสรุ ปได้ ชั ดเจนนั ก โดยที่ เชิ งคุ ณภาพอาจ วิ เคราะห์ เหตุ เชิ งปริ มาณนำา มาหาค่ าทางสถิ ติ ความน่ าจะเป็ นในแต่ ละกรณี ว่ าเป็ นเช่ น ไร อาจนำา มาใช้ ในการตั้ งข้ อจำา กั ดประเมิ ณการให้ สิ นเชื่ อครั้ งต่ อๆ เช่ น ในกรณี ที่ อาจมี ความเป็ นไปได้ คื อ ในกลุ่ มอาชี พนนี้ ประวั ติ แบบนี้ มี ข้ อมู ลทางสถิ ติ สู งที่ ไม่ ชำา ระเงิ น อาจทำา ให้ ทางธนาคารออกนโยบายรองรั บที่ เหมาะสม ……………………………………………… …………………………… …………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………… 5. จงเขียน mind mapping เพื่อสร้างโมเดลกรอบแนวความคิดจาก เนื้อหาดังต่อไปนี้ “นักให้คำาปรึกษาครอบครัว กำาลังพิจารณาปัญหาครอบครัวที่เกิดขึ้นกับครอบครัวของลูกค้าที่มพื้นฐานการศึกษาสูง มีหน้าที่ ี การงานดี และมีสถานะสูงในสังคม โดยนักให้คำา ปรึกษาครอบครัวคนนี้ มุ่งประเด็นไปที่ ความพึงพอใจที่มีครอบครัว และ ความพึงพอใจที่มีต่องาน อย่างไรก็ตาม นักให้คำาปรึกษาครอบครัวไม่แน่ใจว่าความพึงพอใจที่มีต่อครอบครัวและความพึง พอใจที่มีต่องานมีผลต่อความขัดแย้งหรือปัญหาครอบครัวอย่างไร แต่จากการสังเกตคร่าวๆ พบว่า สามีที่มีการศึกษาดี จบ จากสถาบันชั้นนำา มักจะให้ความสำาคัญกับความพึงพอใจต่องานมากกว่าและมักจะทำากิจกรรมที่เกียวข้องหรือส่งเสริมหน้าที่ ่ การงานในวันหยุด ในทางตรงกันข้าม ภรรยาซึ่งเป็นนักธุรกิจนั้นมักใช้เวลาว่างเพื่อครอบครัวและบุตรมากกว่า อย่างไรก็ตาม ทั้งสามีและภรรยาจะมีความพึงพอใจต่อครอบครัวเพิ่มขึ้นเมื่อได้มีโอกาสทำากิจกรรมร่วมกันเพื่อครอบครัว เช่น การวางแผน การศึกษาให้บุตร”
  • 9. สามี สามี มีการศึกษาดี มีการศึกษา าคัญ ครอบครัวสำ ทั่วไป ? ? กิจกรรมร่วม กันเพื่อ งานสำาคัญ ครอบครัว ครอบครัว เช่น สำาคัญ การวางแผน ? ? นักธุรกิจ ทั่วไป ภรรยา 6. ท่านคิดว่า การที่นักวิจัยคนหนึ่งจะสามารถคิดหัวข้อวิจัยที่ดีออกมาได้นั้น นักวิจัยคนนั้นต้องมีคุณสมบัติอะไรบ้างและมีปัจจัยใดๆทีมีอิทธิพลต่อการ ่ คิดหัวข้อวิจัยของนักวิจัยคนนั้นบ้าง และมีอิทธิพลอย่างไร ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการคิดหัวข้อวิจัยของนักวิจัยและคุณสมบัติที่ดีของ นักวิจัยในการคิดหัวข้อวิจัยก็คือตัวนักวิจัยเองซึ่ง ต้องมีวิสัยทัศน์ มีความชำานาญในการวิเคราะห์ องค์ ความรู้ ความเข้าใจและเข้าถึงช้อมูลสำาคัญ สามารถมองหาประโยชน์และประเด็น ตีความหมายสำาคัญได้ สามารถกำาหนดกรอบ ประเด็น ( Reasearch Concept) ได้ ขยันรู้วิธีนำาเสนอและหาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ที่จะนำามา สรุปหาประเด็นหลัก อาจรวมถึงความชำานาญในการประเมินขั้นต้นถึง ขั้นตอนและวิธี มีจรรยาบรรณ การเข้าใจและเข้าถึงนักวิจัยจะต้องมองออกไปให้พ้นจากกรอบของทฤษฎี อย่ายึดติดกับว่าผู้วิจัยต้อง เป็นศูนย์กลางของการศึกษา จนขาดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มองไม่เห็นตัวตนของการเคลื่อนไหว คิดที่หลายๆ มิติ และสามารถมองเห็นตัวบริบท มีความเป็นอิสระสูง ไม่ยึดติด หรือมีอติกับงานวิจัย พร้อมที่จะปรับได้ตาม สถานการณ์ รู้ จัก สังเกต เข้าใจพฤติกรรมการแสดงออก ประเมิน ปรับปรุงแก้ไข คนชอบคิด ช่างคิด อย่างเป็น
  • 10. ระบบ(Thinking System) คิดอย่างเป็นกระบวนการ คิดเป็นขั้นเป็นตอน คิดในเหตุการณ์ ในปรากฏการณ์เชิง เหตุปัจจัย มองทุกอย่างเป็นปัจจัยยาการซึ่งกันและกัน มีอิทธิพล โดยที่ปัจัยที่มีอิทธพลก็คือ ความคิด ความชำานาญ และทัศนคติของนักวิจัย เพราะถ้ายึด ติดกับความคิดตัวเอง หรือทฤษฎีต่างๆมากเกินไป ไม่ยืดหยุ่นเปิดกว้างก็อาจไม่สามารถ หาหรือสรุปประเด็น สำาคัญหรือประเด็นหลัก ได้ และไม่สามารถหากรอบ หรือขอบเขตงานวิจัยนั้นๆ ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… 7. จงอธิบายและเปรียบเทียบ ลักษณะของงานวิจัยแบบกรณีศึกษา (case study research) และลักษณะงานวิจัยแบบทดลอง (experimental study research) โดยในคำาตอบของท่านกำาหนดให้มีคำาสำาคัญดังต่อไปนี้ ตัวแปร, สมมติฐาน, เหตุผล, พื้นที่, ตัวแทน งานวิจัยแบบทดลอง คือการวิจัยที่ไดรบขอมูลตางๆมาโดยอาจทำาในห้องทดลอง เพื่อ ั การควบคุมสถานการณ หรือ ตัวแปร อย่างใด อยางหนึ่ง หรืออาจจะกลาวไดวาการวิจัยเชิงทดลองเป นกระบวนการคนควาหาความจริงโดยวิธีทางวิทยาศาสตร ซึ่งพยายามจะทำาใหมีการสังเกตอยาง ยุตธรรม มีเหตุผล ทำาภายใตเงื่อนไขหรือภาวะที่ถูกกำาหนด และติดตามเก็บรวบรวมขอมูลหรือหลักฐาน ิ เพื่อคน หาความจริงไปสรุปความตามสมมติฐานที่ตั้งไวหรืออาจกลาวได้ว่าการวิจัยเชิงทดลองนี้ทำาขึ้น เพื่อทดสอบ สมมติฐาน ที่ตั้งขึ้นนั่นเอง ซึงมีความแตกตางกับงานวิจัยแบบกรณีศึกษามีขอดี คือมี ่
  • 11. ความคลาดเคลื่อนน้อย ในแงมุมตางๆกันบางแบบดีในแงของความประหยัด สามารถกำาหนดตัวแปร เจาะจงในสิ่งที่กำาลังศึกษา และสามารถควบคุมตัวแปรอื่นๆที่ไม่เกี่ยวของได้ ผันแปรนอยที่สุดสามา รถทำาไดหลายวิธีไดขอ สรุปที่ชัดเจน ขอเสีย มีข้อจำากัด ผลที่ได้ใชได้แค่ในกรณีนั้นๆเท่านั้น จึงมีข้อ จำากัดในการประยุกต์ใช้ งานวิจัยแบบกรณีศึกษา เพราะกรณีนี้เป็นการวิจัยที่ผูวิจยเลือก พื้นที่ ใดพื้นที่หนึ่งมาศึกษา ั อยางละเอียดการวิจยประเภทนี้ใชกันมากในหมูนักมานุษยวิทยา เลือกและเจาะจงว่าจะศึกษาอะไร โดย ั ปล่อยให้ตัวแปรนั้น แสดงเหตุและผลที่กระทบกับตัวแปรอื่นๆโดยมี ขอจำากัดของการวิจยดังกลาวคือ ั ไมสามารถควบคุมปรากฏการณตางๆไดครบถวน ศึกษาสภาพตาง ๆ ตามที่เปนอยูมิไดมีโดยไม่มีการ ควบคุมตัวแปรใดๆ เพื่อดูผลที่เกิดขึ้นจากการกระทำาดังกลาว ร่วมกันภายในบริบทของสถานการณ์จริง โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อขอบเขต(ความรู้ความเข้าใจ)ระหว่างปรากฏการณ์และบริบทนั้นยังไม่มีความ ชัดเจน” ซึงการวิเคราะห์แสวงหาความจริง ใช้แนวทางวิทยาศาสตร์กายภาพ เน้นการแสวงหาความ ่ จริงเชิงสาเหตุ วิเคราะห์จากหลักฐานเชิง มีเป้าหมายเพื่อ สร้างความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ และหาคำา อธิบายความสัมพันธ์ดังกล่าวอย่างมีเหตุผล การตีความ และการวิพากษ์ ซึงงานวิจัยนั้นๆจะดีหรือสรุป ่ ได้หรืไม่ทั้งนี้ขึ้นอยู้กับแนวทางทางปรัชญาของผู้วิจัยด้วย (ในสิ่งที่เกิดขึ้นในธรรมชาติไม่สามารถ ควบคุมตัวแปรได้ตามต้องการ ละตัวแปรแต่ละตัวอาจมีผลต่อแบบทดลองนั้นๆ) ขอดี ขอสรุปหรือขอคนพบที่ไดมักจะ สามารถเป็นตัวแทนนำาไปใชไดกับทองที่อื่นได้ ไม่ใช่แต่เฉพาะ พื้นที่ที่ศึกษาเทานั้น ส่วนใหญ่จะเป็นการศึกษาด้านพฤติกรรม …………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………. 8. จงอธิบายว่าวิธีวิจัยแบบ Mix Methods คืออะไรและอธิบายรูปแบบการดีไซน์ mix methods แบบต่างๆพร้อมยกตัวอย่างที่เป็นรูปธรรมประกอบ …………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………….
  • 12. …………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………… เป็นการวิจัยในแนวทางแบบ Mix Methods ซึ่งเป็นการผสานวิธีคิดและระเบียบวิธีเชิงปริมาณและ คุณภาพ ใช้การสังเกตกิจกรรม การร่วมกิจกรรมในพื้นที่ การเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นระยะ ๆ จากนักวิจัย และภาคีที่เกี่ยวข้อง ผู้บริหารโครงการและผู้ให้ข้อมูลสำาคัญ รวมทั้งการแลกเปลียนเรียนรู้กับผุ้กำาหนด ่ นโยบาย ผูรับผิดชอบ และภาคีที่ดำาเนินงานโครงการนี้ในพื้นที่ปฏิบัติการด้วย ้ วิธีวิจัยแบบ Mixed Methodology เป็นการออกแบบแผนการวิจัย ที่จดมุ่งหมายอย่างใดอย่าง ุ หนึ่งหรือหลายประการดังนี้ 1. เพื่อเป็นการตรวจสอบสามเส้า ให้เพิ่มความเชื่อมั่นในผลของการวิจัย 2. เพื่อเป็นการเสริมให้สมบูรณ์หรือเติมให้เต็ม เช่น ตรวจสอบประเด็นที่ซำ้าซ้อนหรือ ประเด็นที่แตกต่างของปรากฏการณ์ที่ศึกษา เป็นต้น 3. เพื่อเป็นการริเริ่ม เช่น ค้นหาประเด็นที่ผิดปกติ ประเด็นที่ผิดธรรมดา ประเด็นที่ขดแย้ง ั หรือทัศนะใหม่ ๆ เป็นต้น 4. เพื่อเป็นการพัฒนา เช่น นำาเอาผลจากการศึกษาในขั้นตอนหนึ่งไปใช้ให้เป็น ประโยชน์กับในอีกขั้นตอนหนึ่ง เป็นต้น 5. เพื่อเป็นการขยาย ให้งานวิจัยมีขอบข่ายที่กว้างขวางมากขึ้น วิธีวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methodology) จำาแนกเป็นสองลักษณะ คือ การประยุดต์ลักษณะ เดียว( single application) และการประยุกต์ลักษณะพหุ(mulitiple application) โดยการผสมนั้น ่ เกิดขึ้นภายในขั้นตอนของการวิจัย ซึ่งกระบวนทัศน์การวิจัยที่ใช้อาจเป็นเชิงปริมาณ แต่การรวบรวม ข้อมูลอาจเป็นเชิงคุณภาพ หรือในทางกลับกันหรือข้อมูลที่รวบรวมมาอาจเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพ แต่ อาจวิเคราะห์ให้เป็นเชิงปริมาณ ด้วยการปรับข้อมูลเชิงคุณภาพเป็นเชิงปริมาณ หรือข้อมูลเชิงปริมาณ แต่วิเคราะห์ให้เป็นข้อมูลเชิงคุณภาพ ด้วยการปรับข้อมูลเชิงปริมาณให้เป็นข้อมูลเชิงคุณภาพ
  • 13. เช่น การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบความรู้และทักษะการใช้ห้องสมุดของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านหนองขาม(สันติกาญจน์ราษฎร์บำารุง) โดยใช้ระเบียบวิธี การวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed - Model) ในรูป Concurrent Triangulation Design ซึงใช้กระบวนการ ่ วิจัยเชิงปฏิบติการแบบมีส่วนร่วม (participatory action research : PAR) กลุ่มผู้ร่วมวิจยประกอบ ั ั ด้วย ผูบริหารโรงเรียน ครูประจำาชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ครูบรรณารักษ์ หัวหน้าชั้นประถมศึกษาปีที่ ้ 3 และนักเรียนเจ้าหน้าที่โรงเรียนบ้านหนองขาม(สันติกาญจน์ราษฎร์บำารุง) จำานวน 14 คน กลุ่มเป้าหมายในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่ศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2549 โรงเรียนบ้านหนองขาม(สันติกาญจน์ราษฎร์บำารุง) สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประจวบคีรขันธ์ เขต 2 จำานวน 24 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย ี แบบทดสอบความรู้ในการใช้ห้องสมุด ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.8348 แบบวัดทักษะการใช้ห้อง สมุด ซึงมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.8769 แบบสังเกตทักษะการใช้ห้องสมุด และ แบบสัมภาษณ์ ่ ความรู้และทักษะการใช้ห้องสมุด การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์ข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและเชิง คุณภาพ กล่าวคือ ในเชิงปริมาณใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติทดสอบที่ (t – test for Independent samples) ส่วนในเชิงคุณภาพวิเคราะห์และนำาเสนอข้อมูลเชิงบรรยายผลการวิจัยพบว่า 1. นักเรียนมีความรู้ในการใช้ห้องสมุดหลังจากร่วมกิจกรรมยุวบรรณารักษ์สูงขึ้นกว่าก่อนร่วมกิจกรรม อย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 2. นักเรียนมีทักษะในการใช้ห้องสมุดหลังจากร่วมกิจกรรมยุวบรรณารักษ์สูงขึ้นกว่าก่อนร่วมกิจกรรม อย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติที่ระดับ การออกแบบการวิจัยเชิงผสมผสาน (Mixed Method and Multimethod Research Design) บรรยายโดย รองศาสตราจารย์ ดร.ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์ สรุปความรูโดย นางอินทิรา นาคนัตร์ ้ ความหมายของการวิจัยเชิงผสมผสาน การวิจัยเชิงผสมผสาน หมายถึง การออกแบบการวิจัยที่ผสมผสานทั้งเชิงปริมาณ และเชิง คุณภาพ หรือคุณลักษณะ เพื่อลดข้อจำากัดของการวิจัยทั้งสองแบบลง โดยการวิจัยเชิงปริมาณ เน้น ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่วัดได้ในเชิงปริมาณเป็นตัวเลขแล้วสรุปผลจากกลุ่มเล็ก ๆไปยังประชากร กลุ่มใหญ่ ๆ ในขณะที่การวิจยเชิงคุณลักษณะเน้นการแปลความ การให้ความหมาย การเชื่อมโยง ั โครงสร้าง ความสัมพันธ์ และเมื่อผสมผสานทั้ง 2 แบบเข้าด้วยกัน จึงทำาให้การออกแบบ การวิจัยสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ช่วยให้นักวิจัยได้ข้อสรุปของวิธีการที่หลากหลาย และการวิเคราะห์ ข้อมูลจากหลาย ๆ วิธี ธรรมชาติของการวิจัยเชิงผสมผสาน (The Nature of Mixed Method Research) เนื่องจากการวิจัยเชิงผสมผสานเป็นการวิจัยที่เกี่ยวข้องทางสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์กับทาง วิทยาศาสตร์ ดังนั้นการนำาเสนอวิธีการจึงมีธรรมชาติ ดังนี้ 1. เป็นการทำาวิจัยทีเชื่อมโยงกับวิวัฒนาการ มีการเชื่อมโยงความเป็นมา เช่น การวิจัยเชิง ่ ประวัติศาสตร์ เชิงจิตวิทยา มีการศึกษาข้อมูลหลาย ๆ แหล่งทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ และตรวจสอบความตรงภายใน ด้วยวิธี Triangulation 2. ลักษณะการเก็บรวบรวมข้อมูลมีทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณลักษณะเพื่อเป็นการยืนยันผลสรุป
  • 14. 3. มีการวิเคราะห์ และสังเคราะห์จากการเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งสองแบบ ทำาให้ผู้วิจยเขียนสรุป ั รายงานได้ครบถ้วน ลักษณะการออกแบบการวิจัยเชิงผสมผสาน ในอดีตที่ผ่านมา มีการโต้แย้งกันระหว่างนักวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณลักษณะ ซึ่งมีข้อ แตกต่างกันอย่างมาก โดยที่นักวิจัยจะไม่ผสมผสานทั้ง 2 วิธีเข้าด้วยกัน เพราะถือว่าแต่ละวิธีมี คุณลักษณะเฉพาะที่ตรงข้ามกัน แต่ต่อมาได้มีนักวิจัยเริ่มเชื่อมโยงทั้ง 2 แบบเข้าด้วยกัน ดังเช่น ทีCrosswell (1994) ได้กล่าวไว้ว่า Campbell ได้ศึกษาลักษณะ (Traits) ของบุคคล โดยนำา ่ วิธีTriangulation มาใช้ผสมกับเชิงปริมาณ มีการเก็บข้อมูลหลาย ๆ วิธี เพื่อยืนยันความถูกต้อง ซึง่ กันและกัน โดยใช้วิธีการสำารวจกับการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก เป็นต้น การผสมผสานกันนี้มี 2 แนวทาง 1. การผสมผสานในระดับเทคนิควิธี พบว่ามีการประยุกต์ใช้เทคนิควิธีการของแต่ละวิธีเช่น การ วิเคราะห์ข้อมูลจะใช้วิธีวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ แล้วเสริมด้วยการวิเคราะห์เชิงคุณลักษณะ 2. การผสมผสานในระดับยุทธวิธี คือ การทำาการวิจยเชิงปริมาณก่อนแล้วตามด้วยการวิจัยเชิง ั คุณลักษณะ หรือมีการผสมผสานกันตามขั้นตอนของการวิจัย สำาหรับกลยุทธ์การผสานวิธีวิจัยนี้มีชื่อ เรียกต่าง ๆ กัน เช่น - Mixed-method design - Qualitative-quantitative methodology design - Combined qualitative and quantitative design - Multi-method research การผสมผสานวิธีการวิจัย ทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณลักษณะนี้ มีวัตถุประสงค์ 5 ประการ คือ