SlideShare a Scribd company logo
พันเอก มารวย ส่งทานินทร์
maruays@hotmail.com
12 พฤษภาคม 2561
Brian Tracy
Publisher: Penguin Publishing Group
Publication date: 03/14/2017
The difference between you and the people that have succeeded achieving
their dreams is not your IQ, but a simple change in perspective.
เกี่ยวกับ Brian Tracy
 ถ้าคุณได้รับคาสั่งให้ "กินกบ" (เมื่อต้องเจอกับ
งานอันไม่พึงประสงค์) คุณอาจนึกถึงหนังสือของ
Brian Tracy คือ กินกบนั่นเสีย (Eat That Frog!)
ซึ่งเป็นหนังสือเล่มหนึ่งที่นิยมมากที่สุดในโลก
 Brian เป็นผู้ให้คาปรึกษาเรื่องการฝึกอบรม การ
ขาย และคาแนะนาด้านจิตวิทยา เขามีผลงาน
และหนังสือ มานานกว่าสามทศวรรษ
คิดอย่างฉลาด
 คิดอย่างฉลาด (Get Smart!) เป็นหนังสือเล่มล่าสุดของเขา ที่ได้
ค้นหาความสามารถในการคิด ของผู้มีผลงานที่ดีที่สุด ใน
หลากหลายสาขาอาชีพ
 คิดอย่างฉลาด เผยให้เห็นว่า คุณสามารถใช้พลังงานสมอง
ได้มากขึ้น ด้วยเทคนิคการฝึกสมองที่เรียบง่าย สามารถนามาใช้
งานได้ กระตุ้นความคิดสร้างสรรค์ ทาให้คุณมองหาสิ่งที่เป็นบวก
และช่วยให้คุณบรรลุเป้ าหมายได้เร็วขึ้น
กับดักความรู้สึก
 มีบางครั้งที่คุณพบใครบางคน ที่คุณไม่สามารถสู้เขาได้ ทาให้
รู้สึกว่าตัวเองต่าต้อย
 คุณอาจรู้สึกว่า คุณไม่สามารถทาอะไรเกี่ยวกับเรื่องนี้ ได้ ในขณะ
ที่คนอื่นๆ มีความคิดสร้างสรรค์ หรือทางานได้ดีกว่าคุณ
 อย่างไรก็ตาม คุณไม่ควรปล่อยให้ตัวเองตกอยู่ใน กับดัก
ความรู้สึก (Mind Trap) ดังกล่าว
ศักยภาพของสมอง
 หลายคนที่คุณคิดว่าฉลาด ไม่ได้ฉลาดกว่าที่คุณเป็น เพียงแต่พวก
เขาใช้ศักยภาพมากกว่าที่คุณทา
 ส่วนมาก เราใช้เพียง 10 เปอร์เซ็นต์ของ ศักยภาพสมอง (brain’s
potential) ของเรา ให้ลองจินตนาการสิ่งที่เราสามารถจะทาได้
หากเราเพิ่มพลังสมองของเรา
 มีข่าวดี เพราะทั้งหมดนี้ สามารถเปลี่ยนแปลงได้
 ศักยภาพที่ว่านั้นมีอยู่แล้ว ขอคุณเพียงแค่ปลดล็อค
มองภาพใหญ่
 คุณจะทาเรื่องนี้ ได้อย่างไร?
 สิ่งที่สาคัญคือ การเปลี่ยนมุมมองของคุณ
 เมื่อทาเช่นนี้ คุณจะได้เห็นภาพใหญ่ ไม่ใช่แค่เฉพาะรายละเอียด
ที่ทาให้มองเห็นได้อย่างจากัด
 แต่ว่า คุณจะเปลี่ยนมุมมองของคุณได้อย่างไร ถ้าคุณยังมองด้วย
วิธีเดิม?
มุมมองระยะยาว
 สิ่งแรกที่คุณต้องทาคือ การควบคุมความต้องการของคุณในระยะ
สั้นไว้ แล้วเริ่ม ผูกพันกับการคิดระยะยาว
 ขั้นตอนนี้ จะช่วยให้คุณก้าวไปข้างหน้า และรู้ผลที่จะตามมาจาก
การกระทาทุกอย่างที่เป็นไปได้
 กล่าวอีกนัยหนึ่ง ภาพใหญ่ทาให้คุณสามารถคาดเดาสถานการณ์
ได้ จากนั้นให้พิจารณาว่า คุณจะทาอะไรในสถานการณ์นั้น
มุ่งเน้นอนาคต
 ให้มุ่งเน้นในอนาคตอย่างเข้มข้น คิดถึงอนาคตเกือบตลอดเวลา
 พิจารณาผลที่ตามมาของการตัดสินใจและการกระทาของคุณว่า
น่าจะมีอะไรเกิดขึ้นบ้าง? สิ่งที่อาจเกิดขึ้นคืออะไร? แล้วจะเป็น
อย่างไรต่อไป?
 ให้ฝึกฝนตนเอง มีวินัยการเรียนรู้ด้วยตนเอง และการควบคุม
ตนเอง
 ยินดีที่จะจ่ายในวันนี้ เพื่อที่จะได้รับผลตอบแทนที่ดีกว่าใน
อนาคต
ทิศทางที่ถูกต้อง
 คนที่ "ทาได้สาเร็จ (made it)" ในชีวิต ที่คุณคิดว่าฉลาด เป็นคน
ทาตามขั้นตอนที่คานวณไว้แล้ว เพื่อมุ่งไปสู่เป้ าหมายของพวก
เขา ดังนั้น เพื่อที่จะเป็น "หนึ่งในจานวนนั้น (one of them)" คุณ
ต้องเริ่มคิดล่วงหน้า
 กาหนดเป้ าหมายสุดท้ายของคุณ แล้วหาขั้นตอนที่คุณต้องใช้
เพื่อบรรลุเป้ าหมายนั้น
 การตัดสินใจทุกอย่างในชีวิตของคุณมีค่า ดังนั้น ให้แน่ใจว่าคุณ
ทาได้ถูกต้อง ที่จะไปในทิศทางที่ถูกต้อง
การคิดอย่างรอบคอบ
 อย่าเร่งรีบ ให้หาข้อมูลทั้งหมดก่อน เพื่อบรรลุข้อสรุปของคุณ
 เพียงแค่ถอยหลังหนึ่งก้าวในกระบวนการคิดของคุณ แล้วหา
ข้อมูล เพื่อกาหนดความเป็นจริงที่ดีที่สุดเท่าที่คุณมี
 โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เมื่อเกี่ยวกับอนาคตของคุณ การตัดสินใจมี
ความสาคัญ และมีความซับซ้อนในความเป็นไปได้ ให้เลือกสิ่งที่
ดีที่สุด
คิดก่อนตอบสนอง
 กระบวนการคิดแบบปกติคือ เกือบจะทันที (สิ่งกระตุ้นทาให้เกิด
การตอบสนองทันที โดยไม่มีเวลาคั่นระหว่างกลาง)
 กระบวนการการคิดที่ดีกว่า เกิดขึ้นจากการกระตุ้นเช่นกัน แต่
ระหว่างการกระตุ้นและการตอบสนอง จะมีสักครู่หรือมากกว่า ที่
คุณควรครุ่นคิดก่อน
 เช่นเดียวกับที่คุณแม่บอกว่า "นับถึงสิบ ก่อนที่จะตอบสนอง
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เมื่อคุณอารมณ์เสียหรือโกรธ"
หยุด คิด ทา
 การกระทาที่ดีในการหยุด คิด ก่อนที่คุณจะพูดหรือทาอะไร จะ
ช่วยปรับปรุงคุณภาพการตอบสนองที่ดีที่สุดของคุณ
 นี่เป็นสิ่งที่จาเป็นสาหรับความสาเร็จ
 หนึ่งในสิ่งที่ดีที่สุดที่เราสามารถทาได้ เพื่อปรับปรุงคุณภาพของ
ความคิดของเราคือ ทาความเข้าใจว่า เราได้รับประโยชน์จาก
ความคิดที่รอบคอบหรือไม่
 ให้ถามตัวเองว่า "การตัดสินใจนี้ ต้องการการคิดอย่างรวดเร็ว
หรือการคิดอย่างรอบคอบ?"
คิดอย่างมีวิจารณญาณ
 ให้สร้างสมมติฐาน (ทฤษฎีที่ยังไม่ได้พิสูจน์) จากนั้น หาวิธีที่จะ
ทาให้สมมติฐานนี้ เป็นโมฆะ เพื่อพิสูจน์ว่า ความคิดของคุณผิด นี่
คือสิ่งที่นักวิทยาศาสตร์ทา
 เป็นสิ่งที่ตรงกันข้ามกับสิ่งที่คนส่วนใหญ่ทา ที่พวกเขาได้มาซึ่ง
ความคิดก่อน แล้วพวกเขาก็หาหลักฐานเพื่อยืนยัน และพิสูจน์ว่า
ความคิดของพวกเขาเป็นสิ่งที่ดี
 สิ่งที่พวกเขาปฏิบัติคือ "การยืนยันที่มีอคติ (confirmation bias)"
พวกเขามองหาเพียงสิ่งยืนยันความถูกต้องของพวกเขา และพวก
เขาก็ปฏิเสธข้อมูลที่ไม่สอดคล้องกับสิ่งที่พวกเขาเชื่อ
สมมติฐานย้อนกลับ
 ให้สร้าง สมมติฐานเชิงลบหรือย้อนกลับ (negative or reverse
hypothesis)
 ตัวอย่างเช่น ถ้าคุณคือ Isaac Newton และมีแนวคิดเกี่ยวกับแรง
โน้มถ่วงของโลก สมมติฐานเบื้องต้นของคุณคือว่า "สิ่งต่างๆ ตก
ลงมา" (เนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก) จากนั้น คุณก็พยายามที่
จะพิสูจน์สิ่งที่ตรงกันข้ามคือ "สิ่งต่างๆ ตกขึ้นข้างบน"
 ถ้าคุณไม่สามารถพิสูจน์ได้ของสมมติฐานย้อนกลับหรือเชิงลบกับ
แนวคิดของคุณ ทาให้สรุปได้ว่า สมมติฐานแรกของคุณถูกต้อง
ตรวจสอบอีกครั้ง
 ให้เก็บรวบรวมข้อมูล จนกว่าการดาเนินการอย่างถูกต้อง เกิด
ความชัดเจนเท่าที่จะทาได้
 ตรวจสอบ และตรวจสอบข้อมูลของคุณอีกครั้ง ตั้งสมมติฐานว่า
ไม่มีอะไรน่าเชื่อถือ โดยให้ถามตนเองว่า "เรารู้ได้อย่างไรว่านี่
เป็นความจริง?" และข้อสาคัญ อย่าหยุดรวบรวมข้อมูล
 เมื่อคุณจะตัดสินใจ ให้พิจารณาจากตัวเลือกและผลที่ตามมา
ทั้งหมด และเลือกรูปแบบที่คุณมองเห็นได้ด้วยตัวเอง
คิดเชิงบวกกับคิดเชิงลบ
 เมื่อเห็นคนอื่นประสบความสาเร็จ มีสองแนวทางที่คุณทาได้ วิธี
แรกคือ คุณรู้สึกอิจฉา หรือวิธีที่สอง มองว่าเป็นการสร้างแรง
บันดาลใจ (หรือทาให้คุณพอใจกับสิ่งที่คุณมีอยู่)
 วิธีแรกคือการปฏิเสธ ที่จะไม่พาคุณไปไกล (ในความเป็นจริง มัน
จะกั้นความสาเร็จของคุณเท่านั้น) เนื่องจากมัน ก่อให้เกิด
ความเครียด ทาลายความเชื่อมั่นในตนเองและแรงจูงใจของคุณ
คิดเชิงบวกกับคิดเชิงลบ (ต่อ)
 เราไม่ได้บอกว่า คุณควรหลีกเลี่ยงอารมณ์เชิงลบ แน่นอน เมื่อ
เกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ที่กั้นเส้นทางของคุณ คุณจะรู้สึกไม่ดี
 แต่คุณต้องออกจากวิถีแห่งการ "ปฏิเสธ" โดยเร็วที่สุด โดยการ
มองสถานการณ์นี้ ว่า เป็นบทเรียนที่ช่วยให้คุณได้เรียนรู้อะไร
บางอย่าง
 วิธีเดียวที่จะประสบความสาเร็จและมีความสุขในชีวิตก็คือ การ
คิดบวก การมีความยืดหยุ่น และคิดล่วงหน้า (be positive,
flexible, and to think in advance)
สรุป
 "Get Smart!" เต็มไปด้วยคาแนะนาที่เป็นประโยชน์ ซึ่งจะแนะนา
ให้คุณใช้ศักยภาพสมองของคุณได้มากขึ้น เพื่อให้ประสบ
ความสาเร็จ และมีชีวิตที่มีความสุขมากขึ้น
 ด้วยการเปลี่ยนแปลงที่เรียบง่ายของมุมมอง และวิธีการรับรู้สิ่ง
ต่างๆ ทาให้คุณเปลี่ยนทุกสิ่งทุกอย่างที่เคยเป็นปัญหา ให้มาเป็น
โอกาสได้
บทเรียนสาคัญจาก "Get Smart!"
 1. ยุทธศาสตร์ คือกุญแจสู่ความสาเร็จ (Strategizing Is The Key
to Success)
 2. หลีกเลี่ยงการยืนยันที่มีอคติ (Avoid Confirmation Bias)
 3. ค้นหาสาเหตุของปัญหา จะทาให้เห็นทางแก้ปัญหา (Finding
The Reason To Your Problems Will Show You The Solution)
1. ยุทธศาสตร์ คือกุญแจสู่ความสาเร็จ
 ให้วางแผนระยะยาวกับสิ่งที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในชีวิต หากคุณต้องการ
บรรลุสิ่งที่น่าอัศจรรย์ คุณจะต้องเรียนรู้กลยุทธ์ และมีความ
อดทน
 มองภาพใหญ่ไว้เสมอ แม้ว่าคุณจะมองเห็นภาพไม่ชัดเจนนัก
2. หลีกเลี่ยงการยืนยันที่มีอคติ
 ในหัวของคุณเต็มไปด้วยความคิด คุณต้องหาหนทางที่จะทาให้
จิตใจของคุณสงบ และหยุดความคิดที่ยุ่งเหยิง
 ให้หลีกเลี่ยงหนทางที่ง่ายที่สุดคือ การมองหาข้อมูลเพื่อที่จะ
ยืนยันข้อสรุปที่มีอยู่ในหัวของคุณ เพราะจะทาให้เกิด การยืนยัน
ที่มีอคติ (confirmation bias)
3. การค้นหาสาเหตุของปัญหา จะทาให้เห็นทางแก้ปัญหา
 เมื่อใดก็ตาม ที่คุณรู้สึกว่าอยู่ในสถานการณ์ที่รู้สึกอึดอัด ให้ค้นหา
สาเหตุ สร้างภาพที่คุณต้องการเห็นคือภาพที่ดีขึ้ น และคิดถึง
ขั้นตอนที่เหมาะสม ซึ่งจะช่วยให้คุณประสบความสาเร็จตามที่
ต้องการ
 ยิ่งคุณมีวิธีค้นหาสาเหตุของปัญหาได้มากเท่าใด คุณก็ยิ่งเข้าใจ
ปัญหาได้ดีมากขึ้นเท่านั้น และเมื่อคุณเข้าใจถึงปัญหาแล้ว
(เข้าใจปัญหาจริงๆ) ก็จะเห็นวิธีแก้ปัญหาได้อย่างชัดเจน
-Brian Tracy

More Related Content

Similar to คิดอย่างฉลาด Get smart

กับดักการแนะนำ The advice trap
 กับดักการแนะนำ The advice trap กับดักการแนะนำ The advice trap
กับดักการแนะนำ The advice trap
maruay songtanin
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
0819741995
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
0819741995
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
เชียร์ นะมาตย์
 
Thinking
ThinkingThinking
Thinking
0819741995
 
เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย Do you hate your boss
เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย Do you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย Do you hate your boss
เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย Do you hate your boss
maruay songtanin
 
บทความการคิดแก้ปัญหา ลงสไรแชร์
บทความการคิดแก้ปัญหา  ลงสไรแชร์บทความการคิดแก้ปัญหา  ลงสไรแชร์
บทความการคิดแก้ปัญหา ลงสไรแชร์bussaba_pupa
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1olivemu
 
Design Thinking 5 phases.pptx
Design Thinking 5 phases.pptxDesign Thinking 5 phases.pptx
Design Thinking 5 phases.pptx
MadameMimNattiya1
 
Chapter 6 ideate
Chapter 6 ideateChapter 6 ideate
Chapter 6 ideate
Teetut Tresirichod
 
เทคนิคการดูแลสมอง
เทคนิคการดูแลสมองเทคนิคการดูแลสมอง
เทคนิคการดูแลสมอง
อลงกรณ์ อารามกูล
 
สร้างองค์กรอย่างยั่งยืน Built to last
สร้างองค์กรอย่างยั่งยืน Built to last สร้างองค์กรอย่างยั่งยืน Built to last
สร้างองค์กรอย่างยั่งยืน Built to last
maruay songtanin
 
Rocket Growth with Creative System Thinking
Rocket Growth with Creative System ThinkingRocket Growth with Creative System Thinking
Rocket Growth with Creative System Thinking
pantapong
 
Appreciative Inquiry A-Z
Appreciative Inquiry A-ZAppreciative Inquiry A-Z
9789740330592
97897403305929789740330592
9789740330592
CUPress
 
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับLunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับWatpadhammaratana Pittsburgh
 
24 ไม้เด็ดของผู้บริหาร How to be a great coach
24 ไม้เด็ดของผู้บริหาร How to be a great coach 24 ไม้เด็ดของผู้บริหาร How to be a great coach
24 ไม้เด็ดของผู้บริหาร How to be a great coach
maruay songtanin
 

Similar to คิดอย่างฉลาด Get smart (20)

กับดักการแนะนำ The advice trap
 กับดักการแนะนำ The advice trap กับดักการแนะนำ The advice trap
กับดักการแนะนำ The advice trap
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
ThinkingThinking
Thinking
 
เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย Do you hate your boss
เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย Do you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย Do you hate your boss
เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย Do you hate your boss
 
บทความการคิดแก้ปัญหา ลงสไรแชร์
บทความการคิดแก้ปัญหา  ลงสไรแชร์บทความการคิดแก้ปัญหา  ลงสไรแชร์
บทความการคิดแก้ปัญหา ลงสไรแชร์
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Design Thinking 5 phases.pptx
Design Thinking 5 phases.pptxDesign Thinking 5 phases.pptx
Design Thinking 5 phases.pptx
 
Chapter 6 ideate
Chapter 6 ideateChapter 6 ideate
Chapter 6 ideate
 
เทคนิคการดูแลสมอง
เทคนิคการดูแลสมองเทคนิคการดูแลสมอง
เทคนิคการดูแลสมอง
 
สร้างองค์กรอย่างยั่งยืน Built to last
สร้างองค์กรอย่างยั่งยืน Built to last สร้างองค์กรอย่างยั่งยืน Built to last
สร้างองค์กรอย่างยั่งยืน Built to last
 
Rocket Growth with Creative System Thinking
Rocket Growth with Creative System ThinkingRocket Growth with Creative System Thinking
Rocket Growth with Creative System Thinking
 
Ch amp handout text
Ch amp handout textCh amp handout text
Ch amp handout text
 
Think big
Think bigThink big
Think big
 
Appreciative Inquiry A-Z
Appreciative Inquiry A-ZAppreciative Inquiry A-Z
Appreciative Inquiry A-Z
 
9789740330592
97897403305929789740330592
9789740330592
 
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับLunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
 
24 ไม้เด็ดของผู้บริหาร How to be a great coach
24 ไม้เด็ดของผู้บริหาร How to be a great coach 24 ไม้เด็ดของผู้บริหาร How to be a great coach
24 ไม้เด็ดของผู้บริหาร How to be a great coach
 

More from maruay songtanin

ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdfผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
maruay songtanin
 
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdfผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
 
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 

คิดอย่างฉลาด Get smart

  • 2. Brian Tracy Publisher: Penguin Publishing Group Publication date: 03/14/2017 The difference between you and the people that have succeeded achieving their dreams is not your IQ, but a simple change in perspective.
  • 3. เกี่ยวกับ Brian Tracy  ถ้าคุณได้รับคาสั่งให้ "กินกบ" (เมื่อต้องเจอกับ งานอันไม่พึงประสงค์) คุณอาจนึกถึงหนังสือของ Brian Tracy คือ กินกบนั่นเสีย (Eat That Frog!) ซึ่งเป็นหนังสือเล่มหนึ่งที่นิยมมากที่สุดในโลก  Brian เป็นผู้ให้คาปรึกษาเรื่องการฝึกอบรม การ ขาย และคาแนะนาด้านจิตวิทยา เขามีผลงาน และหนังสือ มานานกว่าสามทศวรรษ
  • 4. คิดอย่างฉลาด  คิดอย่างฉลาด (Get Smart!) เป็นหนังสือเล่มล่าสุดของเขา ที่ได้ ค้นหาความสามารถในการคิด ของผู้มีผลงานที่ดีที่สุด ใน หลากหลายสาขาอาชีพ  คิดอย่างฉลาด เผยให้เห็นว่า คุณสามารถใช้พลังงานสมอง ได้มากขึ้น ด้วยเทคนิคการฝึกสมองที่เรียบง่าย สามารถนามาใช้ งานได้ กระตุ้นความคิดสร้างสรรค์ ทาให้คุณมองหาสิ่งที่เป็นบวก และช่วยให้คุณบรรลุเป้ าหมายได้เร็วขึ้น
  • 5. กับดักความรู้สึก  มีบางครั้งที่คุณพบใครบางคน ที่คุณไม่สามารถสู้เขาได้ ทาให้ รู้สึกว่าตัวเองต่าต้อย  คุณอาจรู้สึกว่า คุณไม่สามารถทาอะไรเกี่ยวกับเรื่องนี้ ได้ ในขณะ ที่คนอื่นๆ มีความคิดสร้างสรรค์ หรือทางานได้ดีกว่าคุณ  อย่างไรก็ตาม คุณไม่ควรปล่อยให้ตัวเองตกอยู่ใน กับดัก ความรู้สึก (Mind Trap) ดังกล่าว
  • 6. ศักยภาพของสมอง  หลายคนที่คุณคิดว่าฉลาด ไม่ได้ฉลาดกว่าที่คุณเป็น เพียงแต่พวก เขาใช้ศักยภาพมากกว่าที่คุณทา  ส่วนมาก เราใช้เพียง 10 เปอร์เซ็นต์ของ ศักยภาพสมอง (brain’s potential) ของเรา ให้ลองจินตนาการสิ่งที่เราสามารถจะทาได้ หากเราเพิ่มพลังสมองของเรา  มีข่าวดี เพราะทั้งหมดนี้ สามารถเปลี่ยนแปลงได้  ศักยภาพที่ว่านั้นมีอยู่แล้ว ขอคุณเพียงแค่ปลดล็อค
  • 7. มองภาพใหญ่  คุณจะทาเรื่องนี้ ได้อย่างไร?  สิ่งที่สาคัญคือ การเปลี่ยนมุมมองของคุณ  เมื่อทาเช่นนี้ คุณจะได้เห็นภาพใหญ่ ไม่ใช่แค่เฉพาะรายละเอียด ที่ทาให้มองเห็นได้อย่างจากัด  แต่ว่า คุณจะเปลี่ยนมุมมองของคุณได้อย่างไร ถ้าคุณยังมองด้วย วิธีเดิม?
  • 8. มุมมองระยะยาว  สิ่งแรกที่คุณต้องทาคือ การควบคุมความต้องการของคุณในระยะ สั้นไว้ แล้วเริ่ม ผูกพันกับการคิดระยะยาว  ขั้นตอนนี้ จะช่วยให้คุณก้าวไปข้างหน้า และรู้ผลที่จะตามมาจาก การกระทาทุกอย่างที่เป็นไปได้  กล่าวอีกนัยหนึ่ง ภาพใหญ่ทาให้คุณสามารถคาดเดาสถานการณ์ ได้ จากนั้นให้พิจารณาว่า คุณจะทาอะไรในสถานการณ์นั้น
  • 9. มุ่งเน้นอนาคต  ให้มุ่งเน้นในอนาคตอย่างเข้มข้น คิดถึงอนาคตเกือบตลอดเวลา  พิจารณาผลที่ตามมาของการตัดสินใจและการกระทาของคุณว่า น่าจะมีอะไรเกิดขึ้นบ้าง? สิ่งที่อาจเกิดขึ้นคืออะไร? แล้วจะเป็น อย่างไรต่อไป?  ให้ฝึกฝนตนเอง มีวินัยการเรียนรู้ด้วยตนเอง และการควบคุม ตนเอง  ยินดีที่จะจ่ายในวันนี้ เพื่อที่จะได้รับผลตอบแทนที่ดีกว่าใน อนาคต
  • 10. ทิศทางที่ถูกต้อง  คนที่ "ทาได้สาเร็จ (made it)" ในชีวิต ที่คุณคิดว่าฉลาด เป็นคน ทาตามขั้นตอนที่คานวณไว้แล้ว เพื่อมุ่งไปสู่เป้ าหมายของพวก เขา ดังนั้น เพื่อที่จะเป็น "หนึ่งในจานวนนั้น (one of them)" คุณ ต้องเริ่มคิดล่วงหน้า  กาหนดเป้ าหมายสุดท้ายของคุณ แล้วหาขั้นตอนที่คุณต้องใช้ เพื่อบรรลุเป้ าหมายนั้น  การตัดสินใจทุกอย่างในชีวิตของคุณมีค่า ดังนั้น ให้แน่ใจว่าคุณ ทาได้ถูกต้อง ที่จะไปในทิศทางที่ถูกต้อง
  • 11. การคิดอย่างรอบคอบ  อย่าเร่งรีบ ให้หาข้อมูลทั้งหมดก่อน เพื่อบรรลุข้อสรุปของคุณ  เพียงแค่ถอยหลังหนึ่งก้าวในกระบวนการคิดของคุณ แล้วหา ข้อมูล เพื่อกาหนดความเป็นจริงที่ดีที่สุดเท่าที่คุณมี  โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เมื่อเกี่ยวกับอนาคตของคุณ การตัดสินใจมี ความสาคัญ และมีความซับซ้อนในความเป็นไปได้ ให้เลือกสิ่งที่ ดีที่สุด
  • 12. คิดก่อนตอบสนอง  กระบวนการคิดแบบปกติคือ เกือบจะทันที (สิ่งกระตุ้นทาให้เกิด การตอบสนองทันที โดยไม่มีเวลาคั่นระหว่างกลาง)  กระบวนการการคิดที่ดีกว่า เกิดขึ้นจากการกระตุ้นเช่นกัน แต่ ระหว่างการกระตุ้นและการตอบสนอง จะมีสักครู่หรือมากกว่า ที่ คุณควรครุ่นคิดก่อน  เช่นเดียวกับที่คุณแม่บอกว่า "นับถึงสิบ ก่อนที่จะตอบสนอง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เมื่อคุณอารมณ์เสียหรือโกรธ"
  • 13. หยุด คิด ทา  การกระทาที่ดีในการหยุด คิด ก่อนที่คุณจะพูดหรือทาอะไร จะ ช่วยปรับปรุงคุณภาพการตอบสนองที่ดีที่สุดของคุณ  นี่เป็นสิ่งที่จาเป็นสาหรับความสาเร็จ  หนึ่งในสิ่งที่ดีที่สุดที่เราสามารถทาได้ เพื่อปรับปรุงคุณภาพของ ความคิดของเราคือ ทาความเข้าใจว่า เราได้รับประโยชน์จาก ความคิดที่รอบคอบหรือไม่  ให้ถามตัวเองว่า "การตัดสินใจนี้ ต้องการการคิดอย่างรวดเร็ว หรือการคิดอย่างรอบคอบ?"
  • 14. คิดอย่างมีวิจารณญาณ  ให้สร้างสมมติฐาน (ทฤษฎีที่ยังไม่ได้พิสูจน์) จากนั้น หาวิธีที่จะ ทาให้สมมติฐานนี้ เป็นโมฆะ เพื่อพิสูจน์ว่า ความคิดของคุณผิด นี่ คือสิ่งที่นักวิทยาศาสตร์ทา  เป็นสิ่งที่ตรงกันข้ามกับสิ่งที่คนส่วนใหญ่ทา ที่พวกเขาได้มาซึ่ง ความคิดก่อน แล้วพวกเขาก็หาหลักฐานเพื่อยืนยัน และพิสูจน์ว่า ความคิดของพวกเขาเป็นสิ่งที่ดี  สิ่งที่พวกเขาปฏิบัติคือ "การยืนยันที่มีอคติ (confirmation bias)" พวกเขามองหาเพียงสิ่งยืนยันความถูกต้องของพวกเขา และพวก เขาก็ปฏิเสธข้อมูลที่ไม่สอดคล้องกับสิ่งที่พวกเขาเชื่อ
  • 15. สมมติฐานย้อนกลับ  ให้สร้าง สมมติฐานเชิงลบหรือย้อนกลับ (negative or reverse hypothesis)  ตัวอย่างเช่น ถ้าคุณคือ Isaac Newton และมีแนวคิดเกี่ยวกับแรง โน้มถ่วงของโลก สมมติฐานเบื้องต้นของคุณคือว่า "สิ่งต่างๆ ตก ลงมา" (เนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก) จากนั้น คุณก็พยายามที่ จะพิสูจน์สิ่งที่ตรงกันข้ามคือ "สิ่งต่างๆ ตกขึ้นข้างบน"  ถ้าคุณไม่สามารถพิสูจน์ได้ของสมมติฐานย้อนกลับหรือเชิงลบกับ แนวคิดของคุณ ทาให้สรุปได้ว่า สมมติฐานแรกของคุณถูกต้อง
  • 16. ตรวจสอบอีกครั้ง  ให้เก็บรวบรวมข้อมูล จนกว่าการดาเนินการอย่างถูกต้อง เกิด ความชัดเจนเท่าที่จะทาได้  ตรวจสอบ และตรวจสอบข้อมูลของคุณอีกครั้ง ตั้งสมมติฐานว่า ไม่มีอะไรน่าเชื่อถือ โดยให้ถามตนเองว่า "เรารู้ได้อย่างไรว่านี่ เป็นความจริง?" และข้อสาคัญ อย่าหยุดรวบรวมข้อมูล  เมื่อคุณจะตัดสินใจ ให้พิจารณาจากตัวเลือกและผลที่ตามมา ทั้งหมด และเลือกรูปแบบที่คุณมองเห็นได้ด้วยตัวเอง
  • 17. คิดเชิงบวกกับคิดเชิงลบ  เมื่อเห็นคนอื่นประสบความสาเร็จ มีสองแนวทางที่คุณทาได้ วิธี แรกคือ คุณรู้สึกอิจฉา หรือวิธีที่สอง มองว่าเป็นการสร้างแรง บันดาลใจ (หรือทาให้คุณพอใจกับสิ่งที่คุณมีอยู่)  วิธีแรกคือการปฏิเสธ ที่จะไม่พาคุณไปไกล (ในความเป็นจริง มัน จะกั้นความสาเร็จของคุณเท่านั้น) เนื่องจากมัน ก่อให้เกิด ความเครียด ทาลายความเชื่อมั่นในตนเองและแรงจูงใจของคุณ
  • 18. คิดเชิงบวกกับคิดเชิงลบ (ต่อ)  เราไม่ได้บอกว่า คุณควรหลีกเลี่ยงอารมณ์เชิงลบ แน่นอน เมื่อ เกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ที่กั้นเส้นทางของคุณ คุณจะรู้สึกไม่ดี  แต่คุณต้องออกจากวิถีแห่งการ "ปฏิเสธ" โดยเร็วที่สุด โดยการ มองสถานการณ์นี้ ว่า เป็นบทเรียนที่ช่วยให้คุณได้เรียนรู้อะไร บางอย่าง  วิธีเดียวที่จะประสบความสาเร็จและมีความสุขในชีวิตก็คือ การ คิดบวก การมีความยืดหยุ่น และคิดล่วงหน้า (be positive, flexible, and to think in advance)
  • 19. สรุป  "Get Smart!" เต็มไปด้วยคาแนะนาที่เป็นประโยชน์ ซึ่งจะแนะนา ให้คุณใช้ศักยภาพสมองของคุณได้มากขึ้น เพื่อให้ประสบ ความสาเร็จ และมีชีวิตที่มีความสุขมากขึ้น  ด้วยการเปลี่ยนแปลงที่เรียบง่ายของมุมมอง และวิธีการรับรู้สิ่ง ต่างๆ ทาให้คุณเปลี่ยนทุกสิ่งทุกอย่างที่เคยเป็นปัญหา ให้มาเป็น โอกาสได้
  • 20. บทเรียนสาคัญจาก "Get Smart!"  1. ยุทธศาสตร์ คือกุญแจสู่ความสาเร็จ (Strategizing Is The Key to Success)  2. หลีกเลี่ยงการยืนยันที่มีอคติ (Avoid Confirmation Bias)  3. ค้นหาสาเหตุของปัญหา จะทาให้เห็นทางแก้ปัญหา (Finding The Reason To Your Problems Will Show You The Solution)
  • 21. 1. ยุทธศาสตร์ คือกุญแจสู่ความสาเร็จ  ให้วางแผนระยะยาวกับสิ่งที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในชีวิต หากคุณต้องการ บรรลุสิ่งที่น่าอัศจรรย์ คุณจะต้องเรียนรู้กลยุทธ์ และมีความ อดทน  มองภาพใหญ่ไว้เสมอ แม้ว่าคุณจะมองเห็นภาพไม่ชัดเจนนัก
  • 22. 2. หลีกเลี่ยงการยืนยันที่มีอคติ  ในหัวของคุณเต็มไปด้วยความคิด คุณต้องหาหนทางที่จะทาให้ จิตใจของคุณสงบ และหยุดความคิดที่ยุ่งเหยิง  ให้หลีกเลี่ยงหนทางที่ง่ายที่สุดคือ การมองหาข้อมูลเพื่อที่จะ ยืนยันข้อสรุปที่มีอยู่ในหัวของคุณ เพราะจะทาให้เกิด การยืนยัน ที่มีอคติ (confirmation bias)
  • 23. 3. การค้นหาสาเหตุของปัญหา จะทาให้เห็นทางแก้ปัญหา  เมื่อใดก็ตาม ที่คุณรู้สึกว่าอยู่ในสถานการณ์ที่รู้สึกอึดอัด ให้ค้นหา สาเหตุ สร้างภาพที่คุณต้องการเห็นคือภาพที่ดีขึ้ น และคิดถึง ขั้นตอนที่เหมาะสม ซึ่งจะช่วยให้คุณประสบความสาเร็จตามที่ ต้องการ  ยิ่งคุณมีวิธีค้นหาสาเหตุของปัญหาได้มากเท่าใด คุณก็ยิ่งเข้าใจ ปัญหาได้ดีมากขึ้นเท่านั้น และเมื่อคุณเข้าใจถึงปัญหาแล้ว (เข้าใจปัญหาจริงๆ) ก็จะเห็นวิธีแก้ปัญหาได้อย่างชัดเจน