SlideShare a Scribd company logo
1 of 25
Download to read offline
1
แบบทดสอบก่อนเรียน
คาชี้แจง
1. ข้อสอบแบบปรนัย เลือกตอบ ก, ข, ค และ ง จานวน 10 ข้อ
2. เลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว โดยทาเครื่องหมาย × หน้าข้อที่ถูกต้อง
1. ต่อมไร้ท่อทาหน้าที่ใด
ก. ผลิตเม็ดเลือด
ข. ผลิตไขกระดูก
ค. ผลิตฮอร์โมน
ง. ผลิตน้าลาย
2. ต่อมพิทูอิทารีเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าอะไร
ก. ต่อมหมวกไต
ข. ต่อมใต้สมอง
ค. ต่อมไทรอยด์
ง. ต่อมเพศ
3. ฮอร์โมนแคลซิโทนินทาหน้าที่ใด
ก. ควบคุมการผลิตเม็ดเลือด
ข. ควบคุมน้าในร่างกาย
ค. ควบคุมการทางานในสมอง
ง. ควบคุมปริมาณแคลเซียมในโลหิต
4. ข้อใดไม่เกี่ยวกับต่อมหมวกไตชั้นใน
ก. ฮอร์โมนโพรแลกติน
ข. ฮอร์โมนอะดรีนาลีน
ค. ฮอร์โมนเอพิเนฟริน
ง. ฮอร์โมนนอร์อะดรีนาลิน
5. ต่อมไทรอยด์อยู่ส่วนใดของร่างกาย
ก. รักแร้
ข. ท้อง
ค. ลาคอ
ง. หลังใบหู
2
6. ข้อใดคือต่อมไร้ท่อ
ก. ต่อมเพศ
ข. ต่อมน้าลาย
ค. ต่อมเหงื่อ
ง. ต่อมไขมัน
7. รังไข่มีหน้าที่สร้างฮอร์โมนชนิดใด
ก. เทสโทสเตอโรน
ข. เอสโตรเจน
ค. โพรเจสเทอโรน
ง. เอสโตรเจนและโพรเจสเทอโรน
8. ข้อใดไม่ใช่วิธีการดูแลรักษาสุขภาพ
ก. ดื่มน้าดื่มที่สะอาด
ข. พักผ่อนอย่างเพียงพอ
ค. ออกกาลังกายเป็นประจา
ง. รับประทานอาหารไม่ตรงเวลา
9. หากต่อมไทรอยด์ทางานผิดปกติจะเกิดผลอย่างไร
ก. เป็นโรคเบาหวาน
ข. เกิดการเบี่ยงเบนทางเพศ
ค. การรับรู้รสชาติอาหารเปลี่ยนไป
ง. น้าหนักตัวลดลงมากทั้งที่กินจุ
10. ถ้าต้องการให้ต่อมไทรอยด์ทางานปกติควรเลือกรับประทานอาหารในข้อใด
ก. ปลาตัวเล็กตัวน้อย
ข. ผักที่มีใบเขียว
ค. กุ้ง หอย ปู ปลา
ง. นม ตับ ไข่แดง
3
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
1. ค 6. ก
2. ข 7. ง
3. ง 8. ง
4. ก 9. ง
5. ค 10. ค
ความพยายาม
อยู่ที่ไหนความสาเร็จอยู่ที่นั่น
4
ระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อมีหน้าที่สาคัญในการควบคุมและประสานการทางาน
ของระบบต่าง ๆ ทั่วร่างกาย โดยเฉพาะในช่วงวัยรุ่น ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลง
ของร่างกายอย่างรวดเร็วในทุก ๆ ด้าน โดยเฉพาะพัฒนาการด้านเพศ ซึ่งเป็น
ผลจากการทางานของระบบต่อมไร้ท่อโดยตรง ดังนั้นนักเรียนจึงควรมีความรู้
ความเข้าใจเกี่ยวกับการทางานของระบบต่อมไร้ท่อ รวมทั้งรู้จักวิธีในการดารง
รักษาประสิทธิภาพในการทางานของระบบต่อมไร้ท่อ
เรามาทาความเข้าใจเกี่ยวกับระบบต่อมไร้ท่อ โดยแบ่งเนื้อหาที่สาคัญ
เป็น 3 ส่วน ดังนี้
1. ความสาคัญของระบบต่อมไร้ท่อ
2. โครงสร้างและการทางาน
3. วิธีดูแลรักษาระบบต่อมไร้ท่อให้ทางานตามปกติ
ซึ่งนักเรียนจะสามารถศึกษาได้ในบทเรียนสาเร็จรูปเล่มนี้
เปิดหน้าต่อไปได้เลยครับ
5
กรอบที่ 1
ความสาคัญของระบบต่อมไร้ท่อ
ที่มา http://www.vcharkarn.com/lesson/1195
ระบบต่อมไร้ท่อ (Endocrine System) คือ ระบบที่ประกอบด้วยต่อมไร้ท่อที่ตั้งอยู่ใน
ตาแหน่งต่าง ๆ ของร่างกายซึ่งต่อมดังกล่าวจะมีหน้าที่ผลิตฮอร์โมน (Hormone) ซึ่งเป็นสารเคมี
ที่มีคุณสมบัติพิเศษเฉพาะตัวที่กระตุ้นให้อวัยวะต่าง ๆ ในร่างกายทางานและมีการเจริญเติบโตได้
ตามปกติ แต่ลักษณะการทางานของระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อจะมีความแตกต่างกัน อยู่ 3
ข้อ ดังนี้
6
1. ระบบประสาทควบคุมการทางานของอวัยวะและระบบต่าง ๆ ของร่างกาย โดยหลั่ง
สารสื่อประสาทออกจากเซลล์ประสาทไปยังอวัยวะเป้ าหมาย แต่ระบบต่อมไร้ท่อจะควบคุมการ
ทางานของอวัยวะและระบบต่าง ๆ ของร่างกาย โดยการหลั่งฮอร์โมนออกจากต่อมไร้ท่อซึ่งถูก
ลาเลียงไปยังอวัยวะเป้าหมายทางกระแสเลือด
2. การตอบสนองที่เกิดจากการทางานของระบบประสาทจะเป็นไปอย่างรวดเร็ว
ทันทีทันใด แต่การตอบสนองที่เกิดจากการทางานของระบบต่อมไร้ท่อจะเกิดขึ้นอย่างช้า ๆ
แต่จะคงอยู่นาน
3. การทางานของระบบประสาทจะทาให้เกิดการตอบสนองเฉพาะส่วนใดส่วนหนึ่ง
ของร่างกาย แต่การทางานของระบบต่อมไร้ท่อจะทาให้เกิดการตอบสนองกระจายไปทั่วร่างกาย
ระบบต่อมไร้ท่อ คือ ระบบที่ประกอบด้วยต่อมไร้ท่อที่ตั้งอยู่ใน
ตาแหน่งต่าง ๆ ของร่างกาย มีหน้าที่ผลิตฮอร์โมน ซึ่งเป็นสารเคมีที่มี
คุณสมบัติพิเศษเฉพาะตัวที่กระตุ้นให้อวัยวะต่าง ๆ ในร่างกายทางานปกติ
คาถามประลองความคิด
ระบบต่อมไร้ท่อ มีความสาคัญอย่างไร
สรุป
7
เปิดหน้าต่อไปครับ
เฉลย
ระบบต่อมไร้ท่อ จะช่วยให้ร่างกายทางาน
และมีการเจริญเติบโตได้ตามปกติ
ขอแสดงความยินดีกับคนเก่งทุกคน
ที่ตอบได้นะครับ คนที่ยังไม่ถูกลองพยายามอีกครั้ง
8
กรอบที่ 2
โครงสร้างและการทางาน
ต่อมไร้ท่อ ทาหน้าที่ผลิตฮอร์โมน (Hormone) ซึ่งเป็นสารเคมีที่มีความสาคัญต่อการรักษา
สมดุลภายในร่างกาย โดยฮอร์โมนจะถูกขับออกจากต่อมต่าง ๆ เข้าสู่กระแสโลหิตที่ส่งไปเลี้ยงส่วน
ต่าง ๆ และเป็นตัวกระตุ้นเซลล์ของร่างกายให้ทางาน ต่อมไร้ท่อในร่างกายที่สาคัญมี ดังนี้
ที่มา https://sites.google.com/site/30233mind/home/krabwnkar-srang-serim-laea-darng-
prasiththiphaph-kar-thangan-khxng-rabb-prasath-rabb-subphanthu-laea-rabb-txm-ri-thx/page2
9
ต่อมไร้ท่อ การทาหน้าที่
ไฮโพทาลามัส (Hypothalamus)
เป็นอวัยวะส่วนหนึ่งของระบบประสาท
อยู่บริเวณฐานสมองและมีเส้นประสาท
เชื่อมโยงกับสมองส่วนอื่น ๆ และทาหน้าที่
เป็นต่อมไร้ท่อ
1. กระตุ้นให้ท่อไตดูดน้ากลับสู่กระแสเลือด ทาให้
ร่างกายไม่สูญเสียน้าไปกับปัสสาวะมากเกินไป
2. ในเพศหญิงทาหน้าที่กระตุ้นการบีบตัวของมดลูก
ขณะใกล้คลอด และกระตุ้นให้น้านมไหลจากต่อม
น้านม
3. ในเพศชายจะช่วยในการหลั่งอสุจิ และช่วยใน
การเคลื่อนตัวของอสุจิ
ต่อมใต้สมอง (Pituitary Gland)
อยู่ในกะโหลกศีรษะบริเวณใต้สมอง
http://www.vcharkarn.com/lesson/1407
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า จะผลิตฮอร์โมนต่าง ๆ ดังนี้
1. ทรอฟิกฮอร์โมน (Trophic Hormone) เป็น
ฮอร์โมนที่ควบคุมปฏิกิริยาของต่อมอื่น ๆ
2. โกรทฮอร์โมน (Growth Hormone) เป็นฮอร์โมน
ควบคุมการเจริญเติบโตของร่างกาย
3. โพรแลกติน (Prolactin Hormone) ทาหน้าที่
กระตุ้นการเจริญเติบโตของเต้านม และควบคุม
การผลิตน้านมหลังการคลอด
ต่อมใต้สมองส่วนหลัง เป็นต่อมที่ทางานตรงข้ามกับ
สมองส่วนหน้า คือ จะไม่ผลิตฮอร์โมนออกมาเอง แต่
จะเก็บฮอร์โมนที่ไฮโพทาลามัสผลิตขึ้น ได้แก่
1. ออกซิโทซิน (Oxytocin) ซึ่งเป็นฮอร์โมนที่มี
ความสาคัญมากภายหลังการคลอดบุตร เพราะ
ฮอร์โมนนี้จะช่วยให้มีการหลั่งน้านมในขณะที่เด็ก
ดูดนม
2. วาโซเพรสซิน (Vasopressin) เป็นฮอร์โมนที่มีผล
ต่อการทางานของไต การควบคุมน้าในร่างกาย ระบบ
ขับถ่ายปัสสาวะ และช่วยเพิ่มความดันโลหิต
10
ต่อมไร้ท่อ การทาหน้าที่
ต่อมไทรอยด์ (Thyroid Gland)
ตั้งอยู่ด้านหน้าลาคอ มีลักษณะเหมือนผีเสื้อ
http://www.thaigoodview.com/node/69073
ผลิตฮอร์โมนชื่อว่า ไทรอกซิน (Thyroxine) โดยใช้
ไอโอดีนเป็นตัวสร้าง ช่วยในการเจริญเติบโตของ
กระดูก สมอง และระบบประสาท ช่วยเปลี่ยนแปลง
รูปร่างจากเด็กไปเป็นผู้ใหญ่ ควบคุมการเผาผลาญ
อาหารในร่างกาย และฮอร์โมนแคลซิโทนิน
(Calcitonin) ทาหน้าที่ควบคุมปริมาณแคลเซียมใน
โลหิต ถ้าต่อมไทรอยด์ทางานผิดปกติทาให้ร่างกาย
มีไทรกซินน้อยเกินไป ในวัยเด็กจะมีร่างกายแคระ
เตี้ย เจริญเติบโตช้า ปัญญาอ่อน ในผู้ใหญ่จะมีอาการ
บวมที่มือเท่า ใบหน้า ผิวแห้ง เป็นโรคคอพอก แต่ถ้า
ไทรอกซินมากเกินไปร่างกายจะซูบผอม น้าหนักลด
กินจุ อ่อนแอ เกิดโรคคอพอกเป็นพิษ
ต่อมพาราไทรอยด์ (Parathyroid Gland)
เป็นต่อมเล็ก ๆ 4 ต่อม ตั้งอยู่ด้านหลังต่อม
ไทรอยด์
ผลิตฮอร์โมนพาราไทรอยด์ (Parathyroid Hormone)
ที่ควบคุมความสมดุลของแคลเซียมและฟอสฟอรัส
ในกระแสเลือดให้คงที่
ต่อมไทมัส (Thymus Gland)
ตั้งอยู่ในทรวงอกส่วนบน ในวัยเด็กต่อมนี้จะ
มีขนาดใหญ่ แต่เมื่ออายุมากขึ้นจะเล็กลง
และฝ่อไปในที่สุด
ทาหน้าที่เกี่ยวกับการสร้างระบบภูมิคุ้มกันโรค
ให้กับร่างกายในวัยเด็ก
ต่อมหมวกไต (Adrenal Gland)
ลักษณะเป็นก้อนสีเหลือง อยู่ส่วนบนของไต
ทั้งสองข้าง ข้างละ 1 ต่อม
http://www.thaigoodview.com/node/87995
ผลิตฮอร์โมนอะดรีนาลิน (Adrenalin) เมื่อเวลา
โกรธหรือกลัวต่อมนี้จะผลิตฮอร์โมนออกมา
มากกว่าปกติ ทาให้ร่างกายมีแรงมากขึ้น พร้อมที่จะ
สู้หรือวิ่งหนี นอกจากนี้ยังผลิตฮอร์โมนเพศชายและ
เพศหญิง ถ้าต่อมนี้ทางานผิดปกติ จะทาให้เด็กชายมี
พัฒนาการทางเพศเร็วขึ้น เด็กหญิงมีลักษณะ
พัฒนาการทางเพศค่อนไปทางเพศชาย
11
ต่อมไร้ท่อ การทาหน้าที่
ตับอ่อน (Pancreas)
ตั้งอยู่ด้านหลังกระเพาะอาหาร
http://suchadana.blogspot.com/2013/02/b
log-post_17.html
ผลิตฮอร์โมนอินซูลิน (Insulin) ซึ่งเป็นฮอร์โมนที่
ควบคุมระดับน้าตาลในกระแสเลือด โดยเปลี่ยน
กลูโคส (Glucose) ให้เป็นไกลโคเจน (Glycogen)
เก็บไว้ที่ตับ ทาให้ระดับน้าตาลในเลือดอยู่ระดับ
ปกติ ถ้าตับอ่อนไม่สามารถผลิตอินซูลินได้ตามปกติ
ก็จะทาให้มีระดับน้าตาลในเลือดสูง เกิดเป็น
โรคเบาหวาน แต่ถ้าผลิตอินซูลินมากเกินไป ปริมาณ
น้าตาลในเลือดจะต่ากว่าปกติทาให้หิว ใจสั่น มือสั้น
เหงื่อออกมาก พูดจาสับสน
ต่อมเพศ (Gonad Gland)
เพศชาย คือ อัณฑะ
เพศหญิง คือ รังไข่
http://www.sopon.ac.th/sopon/sema_web
/secondary_m2
ต่อมเพศชายหรืออัณฑะ มีหน้าที่ผลิตอสุจิและ
ฮอร์โมนเทศทอสเทอโรน (Testosterone) ควบคุม
การเจริญเติบโตของอวัยวะเพศชายและลักษณะ
ทั่วไปของเพศชาย พัฒนาการด้านจิตใจ มีความ
ต้องการทางเพศเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น
ต่อมเพศหญิงหรือรังไข่ มีหน้าที่ผลิตไข่ และ
ฮอร์โมนเอสโทรเจน (Estrogen) และโพรเจสเทอ
โรน (Progesterrone) ควบคุมการเจริญเติบโตและ
พัฒนาการของอวัยวะเพศหญิง นอกจากนั้น
ฮอร์โมนเอสโทรเจน จะทาหน้าที่หยุดการตกของไข่
ไม่ให้ไข่สุกระหว่างตั้งครรภ์ เพื่อป้ องกันการมี
ประจาเดือนระหว่างตั้งครรภ์
ต่อมไพเนียล (Pineal Gland)
เป็นต่อมเล็ก ๆ รูปไข่ตั้งอยู่ในสมอง
http://www.thaigoodview.com/node/75594
ยับยั้งการเจริญเติบโตของอวัยวะในระบบสืบพันธุ์
ไม่ให้เจริญเติบโตเร็วกว่าปกติ หรือมีความรู้สึกทาง
เพศเร็วเกินไป
12
ต่อมไร้ท่อ ทาหน้าที่ผลิตฮอร์โมน (Hormone) ซึ่งเป็นสารเคมีที่มี
ความสาคัญต่อการรักษาสมดุลภายในร่างกาย โดยฮอร์โมนจะถูกขับ
ออกจากต่อมต่าง ๆ เข้าสู่กระแสโลหิตที่ส่งไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ และเป็น
ตัวกระตุ้นเซลล์ของร่างกายให้ทางาน
คาถามประลองความคิด
จริงหรือไม่ หากต่อมไทรอยด์ทางาน
ผิดปกติจะทาให้เป็นโรคคอพอก
สรุป
13
เปิดหน้าต่อไปครับ
เฉลย
หากต่อมไทรอยด์ทางานผิดปกติจะทา
ให้เป็นโรคคอพอก เป็นความจริง
ขอแสดงความยินดีกับคนเก่งทุกคน
ที่ตอบได้นะครับ
14
กรอบที่ 3
วิธีดูแลรักษาระบบต่อมไร้ท่อให้ทางานปกติ
วิธีการดูแลรักษาระบบต่อมไร้ท่อให้ทางานปกติ มีวิธีการดังนี้
1. รับประทานอาหารที่เป็นประโยชน์ต่อต่อมไร้ท่อ โดยเฉพาะอาหารที่มีแคลเซียม
เช่น นม ถั่วเหลือง ปลาตัวเล็กที่รับประทานได้ทั้งตัว ฟอสเฟส เช่น กุ้ง ปู เมล็ดทานตะวัน เมล็ด
ฟักทอง ใบขี้เหล็ก เหล็ก เช่น ตับ ไข่แดง ผักใบเขียว ไอโอดีน เช่น อาหารทะเล เกลือเสริมไอโอดีน
ที่มา http://guru.sanook.com/7958 /
2. พักผ่อนอย่างเพียงพอ โดยเฉพาะการนอนหลับอย่างน้อยวันละ 8 ชั่วโมง เพื่อให้
สมองเจริญเติบโตเต็มที่
15
ที่มา http://www.toptenthailand.com/topten/detail/20131215155311518
3. ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ เพื่อสร้างเสริมการทางานประสานกันของระบบ
ประสาทกับกล้ามเนื้อ
ที่มา http://www.jsppharma.com/Pharma-knowledge
16
4. ควรดื่มน้าสะอาด วันละ 6 – 8 แก้ว และน้าผลไม้แทนการดื่มเครื่องดื่มประเภท
น้าอัดลม ตลอดจนหลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
http://women.sanook.com/blog/5559
5. หลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดผลกระทบกับต่อมไร้ท่อ เช่น การหลีกเลี่ยงอาหาร
รสจัด การรับประทานยาที่อาจมีผลกับต่อมไร้ท่อ
ที่มา http://guru.truelife.com/issue/content/view/111321
17
6. สังเกตและสารวจความผิดปกติของร่างกายตนเองอยู่เสมอ หากพบอาการผิดปกติ
หรือมีพัฒนาการช้า ควรบอกพ่อแม่ ผู้ปกครอง และรีบปรึกษาแพทย์
ที่มา http://www.kullapat.com/index.php?page=pageview&lite=ourservice&oscid=12&ospid=34 /
การดูแลรักษาระบบต่อมไร้ท่อ ทาได้โดยรับประทานอาหารที่เป็น
ประโยชน์ต่อต่อมไร้ท่อ เช่น อาหารทะเล หลีกเลี่ยงอาหารรสจัด ออก
กาลังกายและพักผ่อนให้เพียงพอ หากมีอาการผิดปกติรีบปรึกษาแพทย์
คาถามประลองความคิด
วิธีการดูแลรักษาระบบต่อมไร้ท่อ
ให้ทางานปกติวิธีใดทาได้ง่ายที่สุด
สรุป
18
เปิดหน้าต่อไปครับ
เฉลย
วิธีการดูแลรักษาระบบต่อมไร้ท่อมให้ทางานปกติ
วิธีใดทาได้ง่ายที่สุด ก็คือ การรับประทานอาหารที่เป็น
ประโยชน์
ขอแสดงความยินดีกับคนเก่งทุกคน ที่ตอบได้นะ
ครับ ถ้ายังไม่เข้าใจเนื้อหากลับไปทบทวนอีกครั้งนะครับ
19
บทสรุป
ระบบต่อมไร้ท่อ เป็นอีกหนึ่งระบบที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงที่
เกิดขึ้นในร่างกาย โดยมีต่อมไร้ท่อ (endocrine gland) ที่อยู่ในตาแหน่งต่าง ๆ
ของร่างกายทาหน้าที่ผลิตสารเคมีที่เรียกว่า ฮอร์โมน (hormone) ซึ่งทาหน้าที่
เกี่ยวกับกระบวนการเมทาบอลิซึม (metabolism) ในร่างกายออกมา
หากฮอร์โมนที่ผลิตออกมานั้นมีปริมาณที่เหมาะสมกับร่างกาย จะส่งผลทาให้
การทางานของกระบวนการดังกล่าวเป็นไปได้ด้วยดี ในทางตรงกันข้าม
หากปริมาณของฮอร์โมนทีผลิตออกมานั้นมีมากหรือน้อยเกินไป ก็จะ
ส่งผลทาให้เกิดความผิดปกติหรือเกิดโรคต่าง ๆ ขึ้นได้
จาไว้ให้ขึ้นใจนะทุกคน
อย่าลืมทบทวนบ่อย ๆ จะได้
เข้าใจมากยิ่งขึ้นนะครับ
20
แบบฝึกหัด
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ
คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนเครื่องหมาย  หน้าข้อความที่ถูกและเขียนเครื่องหมาย  หน้าข้อความ
ที่ผิด
............... 1. หากต่อมไทรอยด์ทางานผิดปกติจะทาให้เป็นโรคคอพอก
............... 2. อินซูลินซึ่งควบคุมระดับน้าตาลในกระแสเลือดผลิตจากตับอ่อน
............... 3. ต่อมไทมัสจะมีขนาดใหญ่ขึ้นไปตามวัย
............... 4. ฮอร์โมนเอสโทรเจนและโพรเจสเทอโรนผลิตจากรังไข่
............... 5. ฮอร์โมนที่ควบคุมการเจริญเติบโต (Growth Hormone) ผลิตจากต่อมหมวกไต
............... 6. ต่อมพาราไทรอยด์ทาหน้าที่ผลิตแคลเซียมและฟอสฟอรัสเสริมให้กับร่างกาย
............... 7. ฮอร์โมนอะดรีนาลินจะหลั่งออกมามากเมื่อรู้สึกตกใจหรือกลัว
............... 8. ต่อมเพศของเพศชาย คือ ต่อมลูกหมาก ผลิตฮอร์โมนเทสทอสเทอโรน
............... 9. หากต่อมไพเนียลถูกทาลาย จะทาให้การเจริญเติบโตเป็นหนุ่มสาวเร็วกว่าปกติ
............... 10. ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ จะทางานประสานกันเพื่อให้ร่างกายเป็นปกติ
พยายาม
เข้านะครับ
21
เฉลยแบบฝึกหัด
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ
คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนเครื่องหมาย  หน้าข้อความที่ถูกและเขียนเครื่องหมาย  หน้าข้อความ
ที่ผิด
....... ........ 1. หากต่อมไทรอยด์ทางานผิดปกติจะทาให้เป็นโรคคอพอก
........ ....... 2. อินซูลินซึ่งควบคุมระดับน้าตาลในกระแสเลือดผลิตจากตับอ่อน
......... ...... 3. ต่อมไทมัสจะมีขนาดใหญ่ขึ้นไปตามวัย
........ ....... 4. ฮอร์โมนเอสโทรเจนและโพรเจสเทอโรนผลิตจากรังไข่
........ ........ 5. ฮอร์โมนที่ควบคุมการเจริญเติบโต (Growth Hormone) ผลิตจากต่อมหมวกไต
......... ...... 6. ต่อมพาราไทรอยด์ทาหน้าที่ผลิตแคลเซียมและฟอสฟอรัสเสริมให้กับร่างกาย
........ ....... 7. ฮอร์โมนอะดรีนาลินจะหลั่งออกมามากเมื่อรู้สึกตกใจหรือกลัว
........ ........ 8. ต่อมเพศของเพศชาย คือ ต่อมลูกหมาก ผลิตฮอร์โมนเทสทอสเทอโรน
.......... ..... 9. หากต่อมไพเนียลถูกทาลาย จะทาให้การเจริญเติบโตเป็นหนุ่มสาวเร็วกว่าปกติ
........ ....... 10. ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ จะทางานประสานกันเพื่อให้ร่างกาย
เป็นปกติ
ปรบมือให้ตัวเอง
หน่อยครับ
22
แบบทดสอบหลังเรียน
คาชี้แจง
1. ข้อสอบแบบปรนัย เลือกตอบ ก, ข, ค และ ง จานวน 10 ข้อ
2. เลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว โดยทาเครื่องหมาย × หน้าข้อที่ถูกต้อง
1. ต่อมไร้ท่อทาหน้าที่ใด
ก. ผลิตเม็ดเลือด
ข. ผลิตไขกระดูก
ค. ผลิตฮอร์โมน
ง. ผลิตน้าลาย
2. ต่อมพิทูอิทารีเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าอะไร
ก. ต่อมหมวกไต
ข. ต่อมใต้สมอง
ค. ต่อมไทรอยด์
ง. ต่อมเพศ
3. ฮอร์โมนแคลซิโทนินทาหน้าที่ใด
ก. ควบคุมการผลิตเม็ดเลือด
ข. ควบคุมน้าในร่างกาย
ค. ควบคุมการทางานในสมอง
ง. ควบคุมปริมาณแคลเซียมในโลหิต
4. ข้อใดไม่เกี่ยวกับต่อมหมวกไตชั้นใน
ก. ฮอร์โมนโพรแลกติน
ข. ฮอร์โมนอะดรีนาลีน
ค. ฮอร์โมนเอพิเนฟริน
ง. ฮอร์โมนนอร์อะดรีนาลิน
5. ต่อมไทรอยด์อยู่ส่วนใดของร่างกาย
ก. รักแร้
ข. ท้อง
ค. ลาคอ
ง. หลังใบหู
23
6. ข้อใดคือต่อมไร้ท่อ
ก. ต่อมเพศ
ข. ต่อมน้าลาย
ค. ต่อมเหงื่อ
ง. ต่อมไขมัน
7. รังไข่มีหน้าที่สร้างฮอร์โมนใด
ก. เทสโทสเตอโรน
ข. เอสโตรเจน
ค. โพรเจสเทอโรน
ง. เอสโตรเจนและโพรเจสเทอโรน
8. ข้อใดไม่ใช่วิธีการดูแลรักษาสุขภาพ
ก. ดื่มน้าดื่มที่สะอาด
ข. พักผ่อนอย่างเพียงพอ
ค. ออกกาลังกายเป็นประจา
ง. รับประทานอาหารไม่ตรงเวลา
9. หากต่อมไทรอยด์ทางานผิดปกติจะเกิดผลอย่างไร
ก. เป็นโรคเบาหวาน
ข. เกิดการเบี่ยงเบนทางเพศ
ค. การรับรู้รสชาติอาหารเปลี่ยนไป
ง. น้าหนักตัวลดลงมากทั้งที่กินจุ
10. ถ้าต้องการให้ต่อมไทรอยด์ทางานปกติควรเลือกรับประทานอาหารในข้อใด
ก. ปลาตัวเล็กตัวน้อย
ข. ผักที่มีใบเขียว
ค. กุ้ง หอย ปู ปลา
ง. นม ตับ ไข่แดง
24
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
1. ค 6. ก
2. ข 7. ง
3. ง 8. ง
4. ก 9. ง
5. ค 10. ค
25
บรรณานุกรม
กิตติ ปรมัตถผลและคณะ. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน สุขศึกษาและพลศึกษา ม.1
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร : เอมพันธ์, 2557.
สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ. สุขศึกษาและพลศึกษา ม.1 กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและ
พลศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.
กรุงเทพมหานคร : สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ, 2557.
สมหมาย แตงสกุล และคณะ. สุขศึกษาและพลศึกษา ม.1 กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพล
ศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร :
วัฒนาพานิช, 2556.
สุชาดา วงศ์ใหญ่และปรีชา ไวยโภคา. ชุดสัมฤทธิ์มาตรฐาน หลักสูตรแกนกลางฯ สุขศึกษา ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร :
บริษัทอักษรเจริญทัศน์ อจท. จากัด, 2557.
สุเทพ พณิชยาและสุมน คณานิตย์. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน สุขศึกษาและพลศึกษา ม.1
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร : วีบุ๊ค, 2555.
https://sites.google.com/site/30233mind/home/krabwnkar-srang-serim-laea-darng-
prasiththiphaph-kar-thangan-khxng-rabb-prasath-rabb-subphanthu-laea-rabb-txm-ri-thx/page2/
(20/03/2557)
http://www.sopon.ac.th/sopon/sema_web/secondary_m2 (20/03/2557)
http://suchadana.blogspot.com/2013/02/blog-post_17.html (20/03/2557)
http://www.thaigoodview.com/node/75594 (20/03/2557)
http://www.thaigoodview.com/node/87995 (20/03/2557)
http://www.thaigoodview.com/node/69073 (20/03/2557)
http://www.vcharkarn.com/lesson/1407 (20/03/2557)
http://www.vcharkarn.com/lesson/1195 (20/03/2557)

More Related Content

What's hot

ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560Thitaree Samphao
 
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท Thitaree Samphao
 
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติAomiko Wipaporn
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทThitaree Samphao
 
G biology bio7
G biology bio7G biology bio7
G biology bio7Bios Logos
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซมPinutchaya Nakchumroon
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์Kapom K.S.
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)สำเร็จ นางสีคุณ
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา
ข้อสอบวิชาชีววิทยาข้อสอบวิชาชีววิทยา
ข้อสอบวิชาชีววิทยาNuttarika Kornkeaw
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันKatewaree Yosyingyong
 
ใบกิจกรรมที่ 8การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 8การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกายใบกิจกรรมที่ 8การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 8การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกายAomiko Wipaporn
 
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการบท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีwebsite22556
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2dnavaroj
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อฟลุ๊ค ลำพูน
 

What's hot (20)

ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
 
การแบ่งเซลล์
การแบ่งเซลล์การแบ่งเซลล์
การแบ่งเซลล์
 
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
 
เทคนิคการจำระบบประสาทและสมอง
เทคนิคการจำระบบประสาทและสมองเทคนิคการจำระบบประสาทและสมอง
เทคนิคการจำระบบประสาทและสมอง
 
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาท
 
G biology bio7
G biology bio7G biology bio7
G biology bio7
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา
ข้อสอบวิชาชีววิทยาข้อสอบวิชาชีววิทยา
ข้อสอบวิชาชีววิทยา
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
 
ชุดการสอนที่ 3 ต่อมไทรอยด์ (อาบ)
ชุดการสอนที่ 3 ต่อมไทรอยด์ (อาบ)ชุดการสอนที่ 3 ต่อมไทรอยด์ (อาบ)
ชุดการสอนที่ 3 ต่อมไทรอยด์ (อาบ)
 
ใบกิจกรรมที่ 8การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 8การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกายใบกิจกรรมที่ 8การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 8การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกาย
 
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการบท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการ
 
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
 

Viewers also liked

ชุดกิจกรรม1
ชุดกิจกรรม1ชุดกิจกรรม1
ชุดกิจกรรม1Aon Narinchoti
 
ปรีชา ประเสริฐโส
ปรีชา ประเสริฐโสปรีชา ประเสริฐโส
ปรีชา ประเสริฐโสAon Narinchoti
 
เล่ม 2 ระบบต่อมไร้ท่อ
เล่ม 2 ระบบต่อมไร้ท่อเล่ม 2 ระบบต่อมไร้ท่อ
เล่ม 2 ระบบต่อมไร้ท่อAon Narinchoti
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อnarinchoti
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อAon Narinchoti
 
เนื้อหาเล่ม 1
เนื้อหาเล่ม 1เนื้อหาเล่ม 1
เนื้อหาเล่ม 1Aon Narinchoti
 
เล่ม 1 คำนาม
เล่ม 1 คำนามเล่ม 1 คำนาม
เล่ม 1 คำนามAon Narinchoti
 

Viewers also liked (10)

ชุดกิจกรรม1
ชุดกิจกรรม1ชุดกิจกรรม1
ชุดกิจกรรม1
 
Uprightschool
UprightschoolUprightschool
Uprightschool
 
ปรีชา ประเสริฐโส
ปรีชา ประเสริฐโสปรีชา ประเสริฐโส
ปรีชา ประเสริฐโส
 
เล่ม 2 ระบบต่อมไร้ท่อ
เล่ม 2 ระบบต่อมไร้ท่อเล่ม 2 ระบบต่อมไร้ท่อ
เล่ม 2 ระบบต่อมไร้ท่อ
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Plan2
Plan2Plan2
Plan2
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
เนื้อหาเล่ม 1
เนื้อหาเล่ม 1เนื้อหาเล่ม 1
เนื้อหาเล่ม 1
 
เล่ม 1 คำนาม
เล่ม 1 คำนามเล่ม 1 คำนาม
เล่ม 1 คำนาม
 
Counting theorem
Counting theoremCounting theorem
Counting theorem
 

Similar to เนื้อหาเล่ม 2

สุขศึกษา ม.1
สุขศึกษา ม.1สุขศึกษา ม.1
สุขศึกษา ม.1Computer ITSWKJ
 
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อเรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อOui Nuchanart
 
1.3 endocrine system
1.3 endocrine system1.3 endocrine system
1.3 endocrine systemPiro Jnn
 
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2Kobchai Khamboonruang
 
G biology bio9
G biology bio9G biology bio9
G biology bio9Bios Logos
 
เล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย Newเล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย Newsavong0
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา
ข้อสอบวิชาชีววิทยาข้อสอบวิชาชีววิทยา
ข้อสอบวิชาชีววิทยาnookkiss123
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อWan Ngamwongwan
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ Thitaree Samphao
 
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาแบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาkrulam007
 
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาแบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาkrulam007
 
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemsupreechafkk
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2Wichai Likitponrak
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อWichai Likitponrak
 

Similar to เนื้อหาเล่ม 2 (20)

สุขศึกษา ม.1
สุขศึกษา ม.1สุขศึกษา ม.1
สุขศึกษา ม.1
 
Body system
Body systemBody system
Body system
 
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อเรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ
 
1.3 endocrine system
1.3 endocrine system1.3 endocrine system
1.3 endocrine system
 
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
 
G biology bio9
G biology bio9G biology bio9
G biology bio9
 
Endocrine system
Endocrine systemEndocrine system
Endocrine system
 
ระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อ
 
เล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย Newเล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย New
 
ฮอร์โมน
ฮอร์โมนฮอร์โมน
ฮอร์โมน
 
ระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อ
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา
ข้อสอบวิชาชีววิทยาข้อสอบวิชาชีววิทยา
ข้อสอบวิชาชีววิทยา
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมนชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
 
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาแบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
 
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาแบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
 
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 

More from Aon Narinchoti

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อAon Narinchoti
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์Aon Narinchoti
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธAon Narinchoti
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Aon Narinchoti
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติAon Narinchoti
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงAon Narinchoti
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาAon Narinchoti
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนAon Narinchoti
 

More from Aon Narinchoti (20)

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Prob
ProbProb
Prob
 
Event
EventEvent
Event
 
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
 
Random experiment
Random experimentRandom experiment
Random experiment
 
His brob
His brobHis brob
His brob
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธ
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936
 
Know5
Know5Know5
Know5
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
Know4
Know4Know4
Know4
 
Know3
Know3Know3
Know3
 
Know2
Know2Know2
Know2
 
Know1
Know1Know1
Know1
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Climometer
ClimometerClimometer
Climometer
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนน
 

เนื้อหาเล่ม 2

  • 1. 1 แบบทดสอบก่อนเรียน คาชี้แจง 1. ข้อสอบแบบปรนัย เลือกตอบ ก, ข, ค และ ง จานวน 10 ข้อ 2. เลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว โดยทาเครื่องหมาย × หน้าข้อที่ถูกต้อง 1. ต่อมไร้ท่อทาหน้าที่ใด ก. ผลิตเม็ดเลือด ข. ผลิตไขกระดูก ค. ผลิตฮอร์โมน ง. ผลิตน้าลาย 2. ต่อมพิทูอิทารีเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าอะไร ก. ต่อมหมวกไต ข. ต่อมใต้สมอง ค. ต่อมไทรอยด์ ง. ต่อมเพศ 3. ฮอร์โมนแคลซิโทนินทาหน้าที่ใด ก. ควบคุมการผลิตเม็ดเลือด ข. ควบคุมน้าในร่างกาย ค. ควบคุมการทางานในสมอง ง. ควบคุมปริมาณแคลเซียมในโลหิต 4. ข้อใดไม่เกี่ยวกับต่อมหมวกไตชั้นใน ก. ฮอร์โมนโพรแลกติน ข. ฮอร์โมนอะดรีนาลีน ค. ฮอร์โมนเอพิเนฟริน ง. ฮอร์โมนนอร์อะดรีนาลิน 5. ต่อมไทรอยด์อยู่ส่วนใดของร่างกาย ก. รักแร้ ข. ท้อง ค. ลาคอ ง. หลังใบหู
  • 2. 2 6. ข้อใดคือต่อมไร้ท่อ ก. ต่อมเพศ ข. ต่อมน้าลาย ค. ต่อมเหงื่อ ง. ต่อมไขมัน 7. รังไข่มีหน้าที่สร้างฮอร์โมนชนิดใด ก. เทสโทสเตอโรน ข. เอสโตรเจน ค. โพรเจสเทอโรน ง. เอสโตรเจนและโพรเจสเทอโรน 8. ข้อใดไม่ใช่วิธีการดูแลรักษาสุขภาพ ก. ดื่มน้าดื่มที่สะอาด ข. พักผ่อนอย่างเพียงพอ ค. ออกกาลังกายเป็นประจา ง. รับประทานอาหารไม่ตรงเวลา 9. หากต่อมไทรอยด์ทางานผิดปกติจะเกิดผลอย่างไร ก. เป็นโรคเบาหวาน ข. เกิดการเบี่ยงเบนทางเพศ ค. การรับรู้รสชาติอาหารเปลี่ยนไป ง. น้าหนักตัวลดลงมากทั้งที่กินจุ 10. ถ้าต้องการให้ต่อมไทรอยด์ทางานปกติควรเลือกรับประทานอาหารในข้อใด ก. ปลาตัวเล็กตัวน้อย ข. ผักที่มีใบเขียว ค. กุ้ง หอย ปู ปลา ง. นม ตับ ไข่แดง
  • 3. 3 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน 1. ค 6. ก 2. ข 7. ง 3. ง 8. ง 4. ก 9. ง 5. ค 10. ค ความพยายาม อยู่ที่ไหนความสาเร็จอยู่ที่นั่น
  • 4. 4 ระบบต่อมไร้ท่อ ระบบต่อมไร้ท่อมีหน้าที่สาคัญในการควบคุมและประสานการทางาน ของระบบต่าง ๆ ทั่วร่างกาย โดยเฉพาะในช่วงวัยรุ่น ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลง ของร่างกายอย่างรวดเร็วในทุก ๆ ด้าน โดยเฉพาะพัฒนาการด้านเพศ ซึ่งเป็น ผลจากการทางานของระบบต่อมไร้ท่อโดยตรง ดังนั้นนักเรียนจึงควรมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการทางานของระบบต่อมไร้ท่อ รวมทั้งรู้จักวิธีในการดารง รักษาประสิทธิภาพในการทางานของระบบต่อมไร้ท่อ เรามาทาความเข้าใจเกี่ยวกับระบบต่อมไร้ท่อ โดยแบ่งเนื้อหาที่สาคัญ เป็น 3 ส่วน ดังนี้ 1. ความสาคัญของระบบต่อมไร้ท่อ 2. โครงสร้างและการทางาน 3. วิธีดูแลรักษาระบบต่อมไร้ท่อให้ทางานตามปกติ ซึ่งนักเรียนจะสามารถศึกษาได้ในบทเรียนสาเร็จรูปเล่มนี้ เปิดหน้าต่อไปได้เลยครับ
  • 5. 5 กรอบที่ 1 ความสาคัญของระบบต่อมไร้ท่อ ที่มา http://www.vcharkarn.com/lesson/1195 ระบบต่อมไร้ท่อ (Endocrine System) คือ ระบบที่ประกอบด้วยต่อมไร้ท่อที่ตั้งอยู่ใน ตาแหน่งต่าง ๆ ของร่างกายซึ่งต่อมดังกล่าวจะมีหน้าที่ผลิตฮอร์โมน (Hormone) ซึ่งเป็นสารเคมี ที่มีคุณสมบัติพิเศษเฉพาะตัวที่กระตุ้นให้อวัยวะต่าง ๆ ในร่างกายทางานและมีการเจริญเติบโตได้ ตามปกติ แต่ลักษณะการทางานของระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อจะมีความแตกต่างกัน อยู่ 3 ข้อ ดังนี้
  • 6. 6 1. ระบบประสาทควบคุมการทางานของอวัยวะและระบบต่าง ๆ ของร่างกาย โดยหลั่ง สารสื่อประสาทออกจากเซลล์ประสาทไปยังอวัยวะเป้ าหมาย แต่ระบบต่อมไร้ท่อจะควบคุมการ ทางานของอวัยวะและระบบต่าง ๆ ของร่างกาย โดยการหลั่งฮอร์โมนออกจากต่อมไร้ท่อซึ่งถูก ลาเลียงไปยังอวัยวะเป้าหมายทางกระแสเลือด 2. การตอบสนองที่เกิดจากการทางานของระบบประสาทจะเป็นไปอย่างรวดเร็ว ทันทีทันใด แต่การตอบสนองที่เกิดจากการทางานของระบบต่อมไร้ท่อจะเกิดขึ้นอย่างช้า ๆ แต่จะคงอยู่นาน 3. การทางานของระบบประสาทจะทาให้เกิดการตอบสนองเฉพาะส่วนใดส่วนหนึ่ง ของร่างกาย แต่การทางานของระบบต่อมไร้ท่อจะทาให้เกิดการตอบสนองกระจายไปทั่วร่างกาย ระบบต่อมไร้ท่อ คือ ระบบที่ประกอบด้วยต่อมไร้ท่อที่ตั้งอยู่ใน ตาแหน่งต่าง ๆ ของร่างกาย มีหน้าที่ผลิตฮอร์โมน ซึ่งเป็นสารเคมีที่มี คุณสมบัติพิเศษเฉพาะตัวที่กระตุ้นให้อวัยวะต่าง ๆ ในร่างกายทางานปกติ คาถามประลองความคิด ระบบต่อมไร้ท่อ มีความสาคัญอย่างไร สรุป
  • 8. 8 กรอบที่ 2 โครงสร้างและการทางาน ต่อมไร้ท่อ ทาหน้าที่ผลิตฮอร์โมน (Hormone) ซึ่งเป็นสารเคมีที่มีความสาคัญต่อการรักษา สมดุลภายในร่างกาย โดยฮอร์โมนจะถูกขับออกจากต่อมต่าง ๆ เข้าสู่กระแสโลหิตที่ส่งไปเลี้ยงส่วน ต่าง ๆ และเป็นตัวกระตุ้นเซลล์ของร่างกายให้ทางาน ต่อมไร้ท่อในร่างกายที่สาคัญมี ดังนี้ ที่มา https://sites.google.com/site/30233mind/home/krabwnkar-srang-serim-laea-darng- prasiththiphaph-kar-thangan-khxng-rabb-prasath-rabb-subphanthu-laea-rabb-txm-ri-thx/page2
  • 9. 9 ต่อมไร้ท่อ การทาหน้าที่ ไฮโพทาลามัส (Hypothalamus) เป็นอวัยวะส่วนหนึ่งของระบบประสาท อยู่บริเวณฐานสมองและมีเส้นประสาท เชื่อมโยงกับสมองส่วนอื่น ๆ และทาหน้าที่ เป็นต่อมไร้ท่อ 1. กระตุ้นให้ท่อไตดูดน้ากลับสู่กระแสเลือด ทาให้ ร่างกายไม่สูญเสียน้าไปกับปัสสาวะมากเกินไป 2. ในเพศหญิงทาหน้าที่กระตุ้นการบีบตัวของมดลูก ขณะใกล้คลอด และกระตุ้นให้น้านมไหลจากต่อม น้านม 3. ในเพศชายจะช่วยในการหลั่งอสุจิ และช่วยใน การเคลื่อนตัวของอสุจิ ต่อมใต้สมอง (Pituitary Gland) อยู่ในกะโหลกศีรษะบริเวณใต้สมอง http://www.vcharkarn.com/lesson/1407 ต่อมใต้สมองส่วนหน้า จะผลิตฮอร์โมนต่าง ๆ ดังนี้ 1. ทรอฟิกฮอร์โมน (Trophic Hormone) เป็น ฮอร์โมนที่ควบคุมปฏิกิริยาของต่อมอื่น ๆ 2. โกรทฮอร์โมน (Growth Hormone) เป็นฮอร์โมน ควบคุมการเจริญเติบโตของร่างกาย 3. โพรแลกติน (Prolactin Hormone) ทาหน้าที่ กระตุ้นการเจริญเติบโตของเต้านม และควบคุม การผลิตน้านมหลังการคลอด ต่อมใต้สมองส่วนหลัง เป็นต่อมที่ทางานตรงข้ามกับ สมองส่วนหน้า คือ จะไม่ผลิตฮอร์โมนออกมาเอง แต่ จะเก็บฮอร์โมนที่ไฮโพทาลามัสผลิตขึ้น ได้แก่ 1. ออกซิโทซิน (Oxytocin) ซึ่งเป็นฮอร์โมนที่มี ความสาคัญมากภายหลังการคลอดบุตร เพราะ ฮอร์โมนนี้จะช่วยให้มีการหลั่งน้านมในขณะที่เด็ก ดูดนม 2. วาโซเพรสซิน (Vasopressin) เป็นฮอร์โมนที่มีผล ต่อการทางานของไต การควบคุมน้าในร่างกาย ระบบ ขับถ่ายปัสสาวะ และช่วยเพิ่มความดันโลหิต
  • 10. 10 ต่อมไร้ท่อ การทาหน้าที่ ต่อมไทรอยด์ (Thyroid Gland) ตั้งอยู่ด้านหน้าลาคอ มีลักษณะเหมือนผีเสื้อ http://www.thaigoodview.com/node/69073 ผลิตฮอร์โมนชื่อว่า ไทรอกซิน (Thyroxine) โดยใช้ ไอโอดีนเป็นตัวสร้าง ช่วยในการเจริญเติบโตของ กระดูก สมอง และระบบประสาท ช่วยเปลี่ยนแปลง รูปร่างจากเด็กไปเป็นผู้ใหญ่ ควบคุมการเผาผลาญ อาหารในร่างกาย และฮอร์โมนแคลซิโทนิน (Calcitonin) ทาหน้าที่ควบคุมปริมาณแคลเซียมใน โลหิต ถ้าต่อมไทรอยด์ทางานผิดปกติทาให้ร่างกาย มีไทรกซินน้อยเกินไป ในวัยเด็กจะมีร่างกายแคระ เตี้ย เจริญเติบโตช้า ปัญญาอ่อน ในผู้ใหญ่จะมีอาการ บวมที่มือเท่า ใบหน้า ผิวแห้ง เป็นโรคคอพอก แต่ถ้า ไทรอกซินมากเกินไปร่างกายจะซูบผอม น้าหนักลด กินจุ อ่อนแอ เกิดโรคคอพอกเป็นพิษ ต่อมพาราไทรอยด์ (Parathyroid Gland) เป็นต่อมเล็ก ๆ 4 ต่อม ตั้งอยู่ด้านหลังต่อม ไทรอยด์ ผลิตฮอร์โมนพาราไทรอยด์ (Parathyroid Hormone) ที่ควบคุมความสมดุลของแคลเซียมและฟอสฟอรัส ในกระแสเลือดให้คงที่ ต่อมไทมัส (Thymus Gland) ตั้งอยู่ในทรวงอกส่วนบน ในวัยเด็กต่อมนี้จะ มีขนาดใหญ่ แต่เมื่ออายุมากขึ้นจะเล็กลง และฝ่อไปในที่สุด ทาหน้าที่เกี่ยวกับการสร้างระบบภูมิคุ้มกันโรค ให้กับร่างกายในวัยเด็ก ต่อมหมวกไต (Adrenal Gland) ลักษณะเป็นก้อนสีเหลือง อยู่ส่วนบนของไต ทั้งสองข้าง ข้างละ 1 ต่อม http://www.thaigoodview.com/node/87995 ผลิตฮอร์โมนอะดรีนาลิน (Adrenalin) เมื่อเวลา โกรธหรือกลัวต่อมนี้จะผลิตฮอร์โมนออกมา มากกว่าปกติ ทาให้ร่างกายมีแรงมากขึ้น พร้อมที่จะ สู้หรือวิ่งหนี นอกจากนี้ยังผลิตฮอร์โมนเพศชายและ เพศหญิง ถ้าต่อมนี้ทางานผิดปกติ จะทาให้เด็กชายมี พัฒนาการทางเพศเร็วขึ้น เด็กหญิงมีลักษณะ พัฒนาการทางเพศค่อนไปทางเพศชาย
  • 11. 11 ต่อมไร้ท่อ การทาหน้าที่ ตับอ่อน (Pancreas) ตั้งอยู่ด้านหลังกระเพาะอาหาร http://suchadana.blogspot.com/2013/02/b log-post_17.html ผลิตฮอร์โมนอินซูลิน (Insulin) ซึ่งเป็นฮอร์โมนที่ ควบคุมระดับน้าตาลในกระแสเลือด โดยเปลี่ยน กลูโคส (Glucose) ให้เป็นไกลโคเจน (Glycogen) เก็บไว้ที่ตับ ทาให้ระดับน้าตาลในเลือดอยู่ระดับ ปกติ ถ้าตับอ่อนไม่สามารถผลิตอินซูลินได้ตามปกติ ก็จะทาให้มีระดับน้าตาลในเลือดสูง เกิดเป็น โรคเบาหวาน แต่ถ้าผลิตอินซูลินมากเกินไป ปริมาณ น้าตาลในเลือดจะต่ากว่าปกติทาให้หิว ใจสั่น มือสั้น เหงื่อออกมาก พูดจาสับสน ต่อมเพศ (Gonad Gland) เพศชาย คือ อัณฑะ เพศหญิง คือ รังไข่ http://www.sopon.ac.th/sopon/sema_web /secondary_m2 ต่อมเพศชายหรืออัณฑะ มีหน้าที่ผลิตอสุจิและ ฮอร์โมนเทศทอสเทอโรน (Testosterone) ควบคุม การเจริญเติบโตของอวัยวะเพศชายและลักษณะ ทั่วไปของเพศชาย พัฒนาการด้านจิตใจ มีความ ต้องการทางเพศเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น ต่อมเพศหญิงหรือรังไข่ มีหน้าที่ผลิตไข่ และ ฮอร์โมนเอสโทรเจน (Estrogen) และโพรเจสเทอ โรน (Progesterrone) ควบคุมการเจริญเติบโตและ พัฒนาการของอวัยวะเพศหญิง นอกจากนั้น ฮอร์โมนเอสโทรเจน จะทาหน้าที่หยุดการตกของไข่ ไม่ให้ไข่สุกระหว่างตั้งครรภ์ เพื่อป้ องกันการมี ประจาเดือนระหว่างตั้งครรภ์ ต่อมไพเนียล (Pineal Gland) เป็นต่อมเล็ก ๆ รูปไข่ตั้งอยู่ในสมอง http://www.thaigoodview.com/node/75594 ยับยั้งการเจริญเติบโตของอวัยวะในระบบสืบพันธุ์ ไม่ให้เจริญเติบโตเร็วกว่าปกติ หรือมีความรู้สึกทาง เพศเร็วเกินไป
  • 12. 12 ต่อมไร้ท่อ ทาหน้าที่ผลิตฮอร์โมน (Hormone) ซึ่งเป็นสารเคมีที่มี ความสาคัญต่อการรักษาสมดุลภายในร่างกาย โดยฮอร์โมนจะถูกขับ ออกจากต่อมต่าง ๆ เข้าสู่กระแสโลหิตที่ส่งไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ และเป็น ตัวกระตุ้นเซลล์ของร่างกายให้ทางาน คาถามประลองความคิด จริงหรือไม่ หากต่อมไทรอยด์ทางาน ผิดปกติจะทาให้เป็นโรคคอพอก สรุป
  • 14. 14 กรอบที่ 3 วิธีดูแลรักษาระบบต่อมไร้ท่อให้ทางานปกติ วิธีการดูแลรักษาระบบต่อมไร้ท่อให้ทางานปกติ มีวิธีการดังนี้ 1. รับประทานอาหารที่เป็นประโยชน์ต่อต่อมไร้ท่อ โดยเฉพาะอาหารที่มีแคลเซียม เช่น นม ถั่วเหลือง ปลาตัวเล็กที่รับประทานได้ทั้งตัว ฟอสเฟส เช่น กุ้ง ปู เมล็ดทานตะวัน เมล็ด ฟักทอง ใบขี้เหล็ก เหล็ก เช่น ตับ ไข่แดง ผักใบเขียว ไอโอดีน เช่น อาหารทะเล เกลือเสริมไอโอดีน ที่มา http://guru.sanook.com/7958 / 2. พักผ่อนอย่างเพียงพอ โดยเฉพาะการนอนหลับอย่างน้อยวันละ 8 ชั่วโมง เพื่อให้ สมองเจริญเติบโตเต็มที่
  • 15. 15 ที่มา http://www.toptenthailand.com/topten/detail/20131215155311518 3. ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ เพื่อสร้างเสริมการทางานประสานกันของระบบ ประสาทกับกล้ามเนื้อ ที่มา http://www.jsppharma.com/Pharma-knowledge
  • 16. 16 4. ควรดื่มน้าสะอาด วันละ 6 – 8 แก้ว และน้าผลไม้แทนการดื่มเครื่องดื่มประเภท น้าอัดลม ตลอดจนหลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ http://women.sanook.com/blog/5559 5. หลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดผลกระทบกับต่อมไร้ท่อ เช่น การหลีกเลี่ยงอาหาร รสจัด การรับประทานยาที่อาจมีผลกับต่อมไร้ท่อ ที่มา http://guru.truelife.com/issue/content/view/111321
  • 17. 17 6. สังเกตและสารวจความผิดปกติของร่างกายตนเองอยู่เสมอ หากพบอาการผิดปกติ หรือมีพัฒนาการช้า ควรบอกพ่อแม่ ผู้ปกครอง และรีบปรึกษาแพทย์ ที่มา http://www.kullapat.com/index.php?page=pageview&lite=ourservice&oscid=12&ospid=34 / การดูแลรักษาระบบต่อมไร้ท่อ ทาได้โดยรับประทานอาหารที่เป็น ประโยชน์ต่อต่อมไร้ท่อ เช่น อาหารทะเล หลีกเลี่ยงอาหารรสจัด ออก กาลังกายและพักผ่อนให้เพียงพอ หากมีอาการผิดปกติรีบปรึกษาแพทย์ คาถามประลองความคิด วิธีการดูแลรักษาระบบต่อมไร้ท่อ ให้ทางานปกติวิธีใดทาได้ง่ายที่สุด สรุป
  • 19. 19 บทสรุป ระบบต่อมไร้ท่อ เป็นอีกหนึ่งระบบที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงที่ เกิดขึ้นในร่างกาย โดยมีต่อมไร้ท่อ (endocrine gland) ที่อยู่ในตาแหน่งต่าง ๆ ของร่างกายทาหน้าที่ผลิตสารเคมีที่เรียกว่า ฮอร์โมน (hormone) ซึ่งทาหน้าที่ เกี่ยวกับกระบวนการเมทาบอลิซึม (metabolism) ในร่างกายออกมา หากฮอร์โมนที่ผลิตออกมานั้นมีปริมาณที่เหมาะสมกับร่างกาย จะส่งผลทาให้ การทางานของกระบวนการดังกล่าวเป็นไปได้ด้วยดี ในทางตรงกันข้าม หากปริมาณของฮอร์โมนทีผลิตออกมานั้นมีมากหรือน้อยเกินไป ก็จะ ส่งผลทาให้เกิดความผิดปกติหรือเกิดโรคต่าง ๆ ขึ้นได้ จาไว้ให้ขึ้นใจนะทุกคน อย่าลืมทบทวนบ่อย ๆ จะได้ เข้าใจมากยิ่งขึ้นนะครับ
  • 20. 20 แบบฝึกหัด เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนเครื่องหมาย  หน้าข้อความที่ถูกและเขียนเครื่องหมาย  หน้าข้อความ ที่ผิด ............... 1. หากต่อมไทรอยด์ทางานผิดปกติจะทาให้เป็นโรคคอพอก ............... 2. อินซูลินซึ่งควบคุมระดับน้าตาลในกระแสเลือดผลิตจากตับอ่อน ............... 3. ต่อมไทมัสจะมีขนาดใหญ่ขึ้นไปตามวัย ............... 4. ฮอร์โมนเอสโทรเจนและโพรเจสเทอโรนผลิตจากรังไข่ ............... 5. ฮอร์โมนที่ควบคุมการเจริญเติบโต (Growth Hormone) ผลิตจากต่อมหมวกไต ............... 6. ต่อมพาราไทรอยด์ทาหน้าที่ผลิตแคลเซียมและฟอสฟอรัสเสริมให้กับร่างกาย ............... 7. ฮอร์โมนอะดรีนาลินจะหลั่งออกมามากเมื่อรู้สึกตกใจหรือกลัว ............... 8. ต่อมเพศของเพศชาย คือ ต่อมลูกหมาก ผลิตฮอร์โมนเทสทอสเทอโรน ............... 9. หากต่อมไพเนียลถูกทาลาย จะทาให้การเจริญเติบโตเป็นหนุ่มสาวเร็วกว่าปกติ ............... 10. ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ จะทางานประสานกันเพื่อให้ร่างกายเป็นปกติ พยายาม เข้านะครับ
  • 21. 21 เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนเครื่องหมาย  หน้าข้อความที่ถูกและเขียนเครื่องหมาย  หน้าข้อความ ที่ผิด ....... ........ 1. หากต่อมไทรอยด์ทางานผิดปกติจะทาให้เป็นโรคคอพอก ........ ....... 2. อินซูลินซึ่งควบคุมระดับน้าตาลในกระแสเลือดผลิตจากตับอ่อน ......... ...... 3. ต่อมไทมัสจะมีขนาดใหญ่ขึ้นไปตามวัย ........ ....... 4. ฮอร์โมนเอสโทรเจนและโพรเจสเทอโรนผลิตจากรังไข่ ........ ........ 5. ฮอร์โมนที่ควบคุมการเจริญเติบโต (Growth Hormone) ผลิตจากต่อมหมวกไต ......... ...... 6. ต่อมพาราไทรอยด์ทาหน้าที่ผลิตแคลเซียมและฟอสฟอรัสเสริมให้กับร่างกาย ........ ....... 7. ฮอร์โมนอะดรีนาลินจะหลั่งออกมามากเมื่อรู้สึกตกใจหรือกลัว ........ ........ 8. ต่อมเพศของเพศชาย คือ ต่อมลูกหมาก ผลิตฮอร์โมนเทสทอสเทอโรน .......... ..... 9. หากต่อมไพเนียลถูกทาลาย จะทาให้การเจริญเติบโตเป็นหนุ่มสาวเร็วกว่าปกติ ........ ....... 10. ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ จะทางานประสานกันเพื่อให้ร่างกาย เป็นปกติ ปรบมือให้ตัวเอง หน่อยครับ
  • 22. 22 แบบทดสอบหลังเรียน คาชี้แจง 1. ข้อสอบแบบปรนัย เลือกตอบ ก, ข, ค และ ง จานวน 10 ข้อ 2. เลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว โดยทาเครื่องหมาย × หน้าข้อที่ถูกต้อง 1. ต่อมไร้ท่อทาหน้าที่ใด ก. ผลิตเม็ดเลือด ข. ผลิตไขกระดูก ค. ผลิตฮอร์โมน ง. ผลิตน้าลาย 2. ต่อมพิทูอิทารีเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าอะไร ก. ต่อมหมวกไต ข. ต่อมใต้สมอง ค. ต่อมไทรอยด์ ง. ต่อมเพศ 3. ฮอร์โมนแคลซิโทนินทาหน้าที่ใด ก. ควบคุมการผลิตเม็ดเลือด ข. ควบคุมน้าในร่างกาย ค. ควบคุมการทางานในสมอง ง. ควบคุมปริมาณแคลเซียมในโลหิต 4. ข้อใดไม่เกี่ยวกับต่อมหมวกไตชั้นใน ก. ฮอร์โมนโพรแลกติน ข. ฮอร์โมนอะดรีนาลีน ค. ฮอร์โมนเอพิเนฟริน ง. ฮอร์โมนนอร์อะดรีนาลิน 5. ต่อมไทรอยด์อยู่ส่วนใดของร่างกาย ก. รักแร้ ข. ท้อง ค. ลาคอ ง. หลังใบหู
  • 23. 23 6. ข้อใดคือต่อมไร้ท่อ ก. ต่อมเพศ ข. ต่อมน้าลาย ค. ต่อมเหงื่อ ง. ต่อมไขมัน 7. รังไข่มีหน้าที่สร้างฮอร์โมนใด ก. เทสโทสเตอโรน ข. เอสโตรเจน ค. โพรเจสเทอโรน ง. เอสโตรเจนและโพรเจสเทอโรน 8. ข้อใดไม่ใช่วิธีการดูแลรักษาสุขภาพ ก. ดื่มน้าดื่มที่สะอาด ข. พักผ่อนอย่างเพียงพอ ค. ออกกาลังกายเป็นประจา ง. รับประทานอาหารไม่ตรงเวลา 9. หากต่อมไทรอยด์ทางานผิดปกติจะเกิดผลอย่างไร ก. เป็นโรคเบาหวาน ข. เกิดการเบี่ยงเบนทางเพศ ค. การรับรู้รสชาติอาหารเปลี่ยนไป ง. น้าหนักตัวลดลงมากทั้งที่กินจุ 10. ถ้าต้องการให้ต่อมไทรอยด์ทางานปกติควรเลือกรับประทานอาหารในข้อใด ก. ปลาตัวเล็กตัวน้อย ข. ผักที่มีใบเขียว ค. กุ้ง หอย ปู ปลา ง. นม ตับ ไข่แดง
  • 24. 24 เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 1. ค 6. ก 2. ข 7. ง 3. ง 8. ง 4. ก 9. ง 5. ค 10. ค
  • 25. 25 บรรณานุกรม กิตติ ปรมัตถผลและคณะ. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน สุขศึกษาและพลศึกษา ม.1 กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร : เอมพันธ์, 2557. สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ. สุขศึกษาและพลศึกษา ม.1 กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและ พลศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร : สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ, 2557. สมหมาย แตงสกุล และคณะ. สุขศึกษาและพลศึกษา ม.1 กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพล ศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร : วัฒนาพานิช, 2556. สุชาดา วงศ์ใหญ่และปรีชา ไวยโภคา. ชุดสัมฤทธิ์มาตรฐาน หลักสูตรแกนกลางฯ สุขศึกษา ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร : บริษัทอักษรเจริญทัศน์ อจท. จากัด, 2557. สุเทพ พณิชยาและสุมน คณานิตย์. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน สุขศึกษาและพลศึกษา ม.1 กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร : วีบุ๊ค, 2555. https://sites.google.com/site/30233mind/home/krabwnkar-srang-serim-laea-darng- prasiththiphaph-kar-thangan-khxng-rabb-prasath-rabb-subphanthu-laea-rabb-txm-ri-thx/page2/ (20/03/2557) http://www.sopon.ac.th/sopon/sema_web/secondary_m2 (20/03/2557) http://suchadana.blogspot.com/2013/02/blog-post_17.html (20/03/2557) http://www.thaigoodview.com/node/75594 (20/03/2557) http://www.thaigoodview.com/node/87995 (20/03/2557) http://www.thaigoodview.com/node/69073 (20/03/2557) http://www.vcharkarn.com/lesson/1407 (20/03/2557) http://www.vcharkarn.com/lesson/1195 (20/03/2557)