SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
www.TewLek.com เว็บติวเลขดอทคอม



            จํานวนจริง            ม.4 เทอมตน สาระการเรียนรูเพิ่มเติม


พื้นฐานเกี่ยวกับจํานวนจริง
                                จํานวนชนิดตางๆ


        สมบัติของจํานวนจริง                                  คาสัมบูรณและ
                                                           สมบัติของคาสัมบูรณ

                      การเขียนจํานวนจริงบนเสนจํานวน


การแกสมการ และอสมการ
     การแกสมการ
                              สมการพหุนามรูปทั่วไป

          สมการพหุนามรูปพิเศษ                                 สมการคาสัมบูรณ


     การแกอสมการ
                              อสมการพหุนามรูปทั่วไป

         อสมการพหุนามรูปพิเศษ                              อสมการคาสัมบูรณ



ทฤษฎีเศษเหลือ
                                 ทฤษฎีเศษเหลือ


                                                                                  1
www.TewLek.com เว็บติวเลขดอทคอม


พื้นฐานเกี่ยวกับจํานวนจริง

จํานวนชนิดตางๆ
                                         จํานวนเชิงซอน

                        จํานวนจริง                                       ไมใชจํานวนจริง

    จํานวนอตรรกยะ                จํานวนตรรกยะ

                  ไมใชจํานวนเต็ม                จํานวนเต็ม

               จํานวนเต็มลบ                  จํานวนเต็มศูนย               จํานวนเต็มบวก

จํานวนเชิงซอน
คือ จํานวนทุกจํานวน

จํานวนเชิงซอนที่เปนจํานวนจริง
คือ จํานวนที่ไมมคาลบที่อยูในรากคูเปนสวนประกอบ
                 ี
เชน 6, 8, − 7.5, 3 ,    2, − 2, − 4 16, − 6 18
                  5


จํานวนเชิงซอนที่ไมใชจํานวนจริง
                                                                                 1
คือ จํานวนทีมีสวนประกอบของคาลบทีอยูในรากคู เชน
            ่                     ่                            −1, 4 −2, 6 −4,      , 1 + −1
                                                                                 −4


จํานวนอตรรกยะ
คือ จํานวนที่ไมสามารถเขียนในรูปของทศนิยมซ้ําได
และ ไมสามารถเขียนในรูปเศษสวน ที่เศษเปนจํานวนเต็ม และสวนเปนจํานวนเต็มได
เชน 2 = 1.4142135...
      π = 3.141592...




                                                                                               2
www.TewLek.com เว็บติวเลขดอทคอม


จํานวนตรรกยะ (จํานวนจริงที่ไมใชจํานวนอตรรกยะ)
คือ จํานวนที่สามารถเขียนในรูปของทศนิยมซ้ําได
และ สามารถเขียนในรูปเศษสวน ที่เศษเปนจํานวนเต็ม และสวนเปนจํานวนเต็มได
(สวนไมเทากับ 0 )
                                                                 i
เชน −1.5 หรือมันก็คือ −1.50... จะเขียนในรูปทศนิยมซ้าไดเปน −1.50
                                                    ํ
    0, 5, − 4
        i    i       i
     3.3, 5.6 23
     22     7
        ,−
      7     9


จํานวนตรรกยะที่ไมใชจํานวนเต็ม
                 i       i    i
                                  22    7
เชน −1.5, 3.3, 5.6 23,              ,−
                                  7     9


จํานวนเต็ม
จํานวนเต็มบวก (จํานวนนับ) เชน 1, 2, 3, 4, 5,...
                                            7 14
                                             ,
                                            7 7
จํานวนเต็มศูนย เชน 0, 0
                                 5
จํานวนเต็มลบ เชน            −1, − 2, − 3, − 4,...
                          7 14
                         − ,−
                          7   7




                                                                                  3
www.TewLek.com เว็บติวเลขดอทคอม


สมบัติของจํานวนจริง
ให a, b, c เปนจํานวนจริงใดๆ และ   R   คือ เซตของจํานวนจริง

สมบัติการเทากัน
สมบัติการสะทอน                                     จะได a = a
สมบัติการสมมาตร                                     ถา a = b แลว b = a
สมบัติการถายทอด                                    ถา a = b และ b = c แลว a = c
สมบัติการบวกดวยจํานวนที่เทากัน ทั้งสองขาง        ถา a = b แลว a + c = b + c
สมบัติการคูณดวยจํานวนที่เทากัน ทังสองขาง
                                   ้                ถา a = b แลว a. c = b. c

สมบัติการบวก
สมบัติปด                                       ถา a ∈ R และ b ∈ R แลว a + b∈ R
สมบัติการสลับที่                                จะได a + b = b + a
สมบัติการเปลี่ยนกลุม                           จะได a + (b + c) = (a + b) + c
สมบัติมีเอกลักษณการบวก คือ 0                   จะได 0 + a = a + 0 = a
สมบัติมีอินเวอรสการบวก                         a มีอินเวอรสการบวกคือ − a
                                                และ −a มีอนเวอรสการบวกคือ a
                                                            ิ
                                                จะได a + (−a) = (−a) + a = 0

สมบัติการคูณ
สมบัติปด                                       ถา a ∈ R และ b ∈ R แลว a . b∈ R
สมบัติการสลับที่                                จะได a . b = b . a
สมบัตการเปลี่ยนกลุม
      ิ                                         จะได a .(b . c) = (a . b). c
สมบัติมีเอกลักษณการคูณ คือ 1                   จะได 1. a = a .1 = a
สมบัติมีอินเวอรสการคูณ                         a   มีอินเวอรสการคูณคือ    1
                  1                                                         a
(ยกเวน 0 เพราะ       ไมมีความหมาย)                  1
                  0                             และ       มีอนเวอรสการคูณคือ a
                                                             ิ
                                                      a
                                                จะได a . 1 = 1 . a = 1
                                                          a    a


สมบัติการคูณและการบวก
สมบัติการแจกแจง                                 จะได a (b + c) = a . b + a . c


                                                                                       4
www.TewLek.com เว็บติวเลขดอทคอม


การเขียนจํานวนจริงบนเสนจํานวน
เครื่องหมาย =, ≥, ≤ และ วงเล็บ [ , ] จุดทึบ
เครื่องหมาย ≠, >, < และ วงเล็บ ( , ) จุดโปรง
ตัวอยางเขียน x บนเสนจํานวน ดังนี้
x=0




                                                0


x ≠ 0 เขียนไดวา {x x ≠ 0}   หรือเขียนไดวา (−∞, 0) ∪ (0, ∞)



                                                0


x < 1 เขียนไดวา {x x < 1}   หรือเขียนไดวา (−∞, 1)



                                                1


−2 ≤ x < 3   เขียนไดวา {x −2 ≤ x < 3} หรือเขียนไดวา [−2, 3)



                       −2                                                 3


x < −2   หรือ   x≥3   เขียนไดวา {x x < −2 หรือ    x ≥ 3}   หรือเขียนไดวา (−∞, − 2) ∪ [3, ∞)



                       −2                                                 3




                                                                                                  5
www.TewLek.com เว็บติวเลขดอทคอม


คาสัมบูรณและสมบัติของคาสัมบูรณ
คาสัมบูรณ
ให a เปนจํานวนจริงใดๆ
คาสัมบูรณของ a หรือ a คือ ระยะทางจากจุด a ถึง 0 ซึ่งระยะทางจะมีคาบวกเสมอ
                                                                  
เชน 3 หรือ −3 จะมีคาเทากันคือ 3
                            −3 = 3                    3 =3



                  −3                     0                      3
                        3    3
ดังนัน
     ้   −7 = 7        −   =
                        2    2
                       7    7
         7 =7             =
                       6    6


*วิธีถอดเครืองหมายคาสัมบูรณทําไดดังนี้
             ่
    ถา a < 0 แลว a = −a (ลบอยูหนาลบ ไดคาบวก)
    ถา a > 0 แลว a = a
    ถา a = 0 แลว a = 0




                                                                                  6
www.TewLek.com เว็บติวเลขดอทคอม


สมบัติของคาสัมบูรณ
ให x, y เปนจํานวนจริงใดๆ และ a เปนจํานวนจริงที่มากกวา 0
1) x ≥ 0
2) x = − x
3)* x = a เมื่อ x = a หรือ x = −a
4) x . y = x . y
      x   x
5)      =            โดยที่   y≠0
      y   y
                                                           ตรงสวนที่มีเครื่องหมาย *
                       ( x)
                                2
6)*   x = x2 ≠
                                                    เปนความรูพื้นฐานสําคัญที่ตองนํามาใช
7)    x
          2
              = x2                                     แกสมการและอสมการคาสัมบูรณ
8)*   x <a  จะไดวา −a < x < a
      x ≤ a จะไดวา −a ≤ x ≤ a


      x >a       จะไดวา     x < −a   หรือ a < x
      x ≥a       จะไดวา     x ≤ −a   หรือ a ≤ x
9) x + y ≤ x + y
10) x − y ≥ x − y




                                                                                              7
www.TewLek.com เว็บติวเลขดอทคอม


การแกสมการ และอสมการ

การแกสมการ
การแกสมการพหุนามรูปทั่วไป
เชน 2 x 4 − 14 x 2 = −12 x
ขั้นที่ 1
ยายขางใหขางนึงของสมการมีคาเปน 0
และ อีกขาง ให ส.ป.ส. หนาตัวแปรยกกําลังสูงสุดมีคาเปนบวก
จะได 2 x 4 − 14 x 2 + 12 x = 0
ขั้นที่ 2
ถาพหุนามมีตวรวมดึงออกมาเลย และถาเปนคาคงตัวหารตลอดไดสมการเลย
               ั
(แตตวแปรหามหารตลอดสมการ เพราะตัวแปรมีคาเปน 0 ได ซึ่งตัวสวนเปน 0 หาคาไมไดนะ)
       ั
ซึ่งจะเห็นวา 2 x 4 − 14 x 2 + 12 x มี 2x เปนตัวรวม ดึงออกมาเลย
จะได 2x( x3 − 7 x + 6) = 0 นํา 2 หารตลอดสมการ แตหามนํา x หารตลอดสมการ
จะได x( x3 − 7 x + 6) = 0
ขั้นที่ 3
แยกแฟกเตอร (หลังจากแยกแฟกเตอรแลว ส.ป.ส. หนา ตัวแปรตองมีคาบวก)
แยกแฟกเตอร x3 − 7 x + 6 ทําโดยขั้นตอนดังนี้
3.1) หาคาที่แทนใน x แลวทําให x3 − 7 x + 6 มีคาเปน 0
ควรลองคางายๆ แทนดูกอน เชน 1, − 1, 2, − 2,... ลองเอา 1 แทนดูกอน
จะได 13 − 7(1) + 6 = 1 − 7 + 6 = 0
ดังนัน จะไดวา ( x − 1) เปนตัวประกอบนึงของ x3 − 7 x + 6
     ้
เขียนไดวา x3 − 7 x + 6 = ( x − 1) (
                                                 )
3.2) หาตัวประกอบที่เหลือโดยการหารยาว
           x2 + x − 6
     x − 1 x3        − 7x + 6
          x3 − x 2
                x2 − 7 x + 6
                x2 − x
                   − 6x + 6
                   − 6x + 6
                           0



                                                                                        8
www.TewLek.com เว็บติวเลขดอทคอม


3.3) ดังนันจากขั้นตอนที่ 2
          ้                        x( x3 − 7 x + 6) = 0

                             x ( x − 1) ( x 2 + x − 6) = 0
                        x ( x − 1) ( x + 3) ( x − 2) = 0
คําตอบของสมการคือ       0, 1, − 3, 2


การแกสมการพหุนามรูปพิเศษ
                                                              เศษ
พหุนามรูปพิเศษ หมายถึง          กลุมตัวแปร        หรือ
                                                          กลุมตัวแปร

หลักการที่สําคัญมากๆ
กอนจะตะลุยแกสมการใหเขียนเงื่อนไขขางตนของกลุมตัวแปรซะกอน
เชน กลุมตัวแปร

                                     กลุมตัวแปร ≥ 0

                                     กลุมตัวแปร ≠ 0
           เศษ
       กลุมตัวแปร

หลังจากเขียนเงื่อนไขขั้นตนแลว
ทําใหพหุนามรูปพิเศษ ใหเปนพหุนามรูปทั่วไป แลวแกสมการตามขั้นตอนของการแกสมการ
พหุนามรูปทั่วไปจนไดคําตอบ
สําคัญมาก กอนจะสรุปคําตอบ ตองนําคําตอบที่ได Check ดูวาเปนตามเงื่อนไขขางตน
หรือไม เอาแตเฉพาะคําตอบที่เปนตามเงื่อนไขขางตน เทานัน ้




                                                                                             9
www.TewLek.com เว็บติวเลขดอทคอม


การแกสมการคาสัมบูรณ
ให x = a ถอดเครื่องหมายคาสัมบูรณ ทําได 2 วิธี
วิธีที่ 1 ยกกําลังสองทั้งสองขาง             วิธีที่ 2 แยกกรณี
          x =a                                         x
จาก     x = x2                                 กรณีที่ x ≥ 0     หรือ   กรณีที่ x < 0
จะได    x2 = a   ยกกําลังสองทั้งสองขาง       จะได x = x              จะได x = − x
จะได         x2 = a2

         x2 − a2 = 0
( x − a) ( x + a) = 0
               x = a, − a
***วิธีนี้ไมเหมาะ ถาในสมการ ตัวแปรยกกําลัง
   มากกวาหนึ่ง




                                                                                    10
www.TewLek.com เว็บติวเลขดอทคอม


การแกอสมการ (ขอสอบเขามหาวิทยาลัยชอบออกมาก!!!)

***พื้นฐานสําคัญที่ตองรูเกี่ยวกับอสมการ***

ถานําคาลบมาคูณหรือหารทั้งสองขางของอสมการ เครื่องหมายอสมการตองกลับขาง
เชน
ให a, b, c เปนจํานวนจริง
    ถา a < b และ c เปนคาลบ                      ถา a ≤ b และ c เปนคาลบ
                                                                 a b
   จะได a. c > b. c                                     จะได    ≥
                                                                 c c

การยกกําลังสองทั้งสองขางของอสมการ
ให a < b
จะได a 2 < b2 ถา a และ b เปนคาบวก ทังคู ( a เปน 0 ก็ได)
                                         ้
จะได a 2 > b2 ถา a และ b เปนคาลบ ทั้งคู ( b เปน 0 ก็ได)
***แตถา a เปนลบ และ b เปนบวก จะบอกไมไดวา a 2 < b2 หรือ a 2 > b2
       

การแกอสมการพหุนามรูปทั่วไป
ทําขั้นตอนเหมือนแกสมการพหุนามรูปทัวไปจนแยกแฟกเตอรเสร็จ
                                    ่
(ส.ป.ส. หนาตัวแปรตองเปนบวกทั้งหมด)
เชน ( x − a) ( x − b) < 0
นําคาทีทําใหพหุนามเปน 0 มาเขียนบนเสนจํานวน ก็คือ คา a, b
         ่
ใสจุด ถา > , < จุดโปรง
       ถา ≥ , ≤ จุดทึบ
                                                       ใสเครื่องหมาย + , − สลับกัน
                                                       จากขวาไปซาย (เริ่ม + ขวาสุดกอน)


           +                                   −                                 +

                       a                                             b


ถา พหุนาม < , ≤ เอาชวง −
ถา พหุนาม > , ≥ เอาชวง +



                                                                                           11
www.TewLek.com เว็บติวเลขดอทคอม


Note ถาแยกแฟกเตอรแลวมีบางวงเล็บ
ยกกําลังเลขคู ( x − a)2,4,6,... ใหใสเครื่องหมายซ้ําเดิมจากขวาไปซาย ที่จด a นัน
                                                                           ุ     ้
แตถายกกําลังเลขคี่ ( x − a)3,5,7,... ใหคดเหมือน ( x − a) ไดเลย
                                            ิ
เชน
( x − a ) 2 ( x − b) < 0


             −                                    −                                  +

                              a                                           b


( x − a ) 2 ( x − b)3 ( x − c ) 4 < 0


             −                          −                     +                      +

                              a                    b                      c




                                                                                         12
www.TewLek.com เว็บติวเลขดอทคอม


การแกอสมการพหุนามรูปพิเศษ

                                                      เศษ
พหุนามรูปพิเศษ หมายถึง    กลุมตัวแปร      หรือ
                                                  กลุมตัวแปร

หลักการที่สําคัญมากๆ
กอนจะตะลุยแกอสมการใหเขียนเงื่อนไขขางตนของกลุมตัวแปรซะกอน
เชน กลุมตัวแปร

                              กลุมตัวแปร ≥ 0

                              กลุมตัวแปร ≠ 0
           เศษ
       กลุมตัวแปร

หลังจากเขียนเงื่อนไขขั้นตนแลว
ทําใหพหุนามรูปพิเศษ ใหเปนพหุนามรูปทั่วไป แลวแกอสมการตามขั้นตอนของการแกอสมการ
พหุนามรูปทั่วไปจนไดคําตอบ
สําคัญมาก กอนจะสรุปคําตอบ ตองนําคําตอบที่ได Check ดูวาเปนตามเงื่อนไขขางตน
หรือไม เอาแตเฉพาะคําตอบที่เปนตามเงื่อนไขขั้นตน เทานัน ้




                                                                                     13
www.TewLek.com เว็บติวเลขดอทคอม


***หลักในการแกอสมการพหุนามที่กลุมตัวแปรอยูที่สวน
                                 
เชน
  1
     ≤1
 x−5
เงื่อนไขขางตนคือ    x −5 ≠ 0    ดังนัน
                                       ้    x≠5


นํา ( x − 5)2 มาคูณทังสองขางของอสมการ
                         ้
***สาเหตุทตองเปน ( x − 5)2 ไมเปน ( x − 5) เพราะ
             ี่
( x − 5) เราไมรูวาเปนคาบวกหรือลบ ดังนันเครื่องหมายอสมการจึงไมรูวาตองกลับขางหรือไม
                                           ้
( x − 5) 2 เรามันใจไดเลยวาเปนบวก ดังนันเครื่องหมายอสมการเหมือนเดิม
                ่                        ้

จะได    x − 5 ≤ ( x − 5) 2

x − 5 ≤ x 2 − 10 x + 25
                                           เนื่องจากเงื่อนไขขางตน x ≠ 5
     0 ≤ x 2 − 11x + 30                    ดังนั้นที่ x = 5 จึงเปนจุดโปรง
     0 ≤ ( x − 6) ( x − 5)


              +                                            −                             +

                              5                                                 6


จึงได   x = (−∞,5) ∪ [6, ∞)




                                                                                                 14
www.TewLek.com เว็บติวเลขดอทคอม


การแกอสมการคาสัมบูรณ
ถอดเครื่องหมายคาสัมบูรณ ทําได 3 วิธี
วิธีที่ 1 ยกกําลังสองทั้งสองขาง
เปลี่ยนจาก x ไปเปน x 2 แลวยกกําลังสองทั้งสองขางของอสมการเพื่อให หายไป
***วิธีนี้ตองใชกับอสมการทีมั่นใจวา ซาย-ขวา เปนบวกทั้งคู หรือ ซาย-ขวา เปนลบทั้งคู
                            ่
    ยกกําลังสองทังสองขางแลวจะไดรูวาเครื่องหมายอสมการตองเปนยังไง
                    ้
***วิธีนี้ไมเหมาะ ถาในสมการ ตัวแปรยกกําลัง มากกวาหนึ่ง

วิธีที่ 2 ทําแบบแบงชวง
 x <a                                             x >a
จะไดวา −a < x < a                              จะไดวา   x < −a   หรือ a < x
เขียนใหมไดเปน                                            x < −a ∪ a < x
 − a < x และ x < a

−a < x ∩ x < a


 x ≤a                                             x ≥a
จะไดวา −a ≤ x ≤ a                              จะไดวา   x ≤ −a   หรือ a ≤ x
เขียนใหมไดเปน                                            x ≤ −a ∪ a ≤ x
 − a ≤ x และ x ≤ a

−a ≤ x ∩ x ≤ a
สําคัญมาก “และ” คือ     ∩   “หรือ” คือ   ∪


วิธีที่ 3 แยกกรณี
กรณีที่ x ≥ 0     หรือ        กรณีที่ x < 0
จะได x = x                  จะได x = − x




                                                                                            15
www.TewLek.com เว็บติวเลขดอทคอม


ทฤษฎีเศษเหลือ

 f ( x)   หารดวย ( x − c) เศษเหลือ เทากับ      f (c )


และถา
 f ( x) หารดวย ( x − c) เศษเหลือ เทากับ 0
 f (c) = 0 แสดงวา ( x − c) เปนตัวประกอบนึงของ           f ( x)   หรือ
                    ( x − c) หาร f ( x) ลงตัว


เชน
 f ( x) = x 2 − x + 1   หารดวย   x−2   จะเหลือเศษเทาไหร
จะเหลือเศษเทากับ       f (2) = 22 − 2 + 1 = 3




                                                                                               16

More Related Content

What's hot

กราฟ ม.3
กราฟ ม.3กราฟ ม.3
กราฟ ม.3krookay2012
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง จำนวนเชิงซ้อน
แบบฝึกทักษะเรื่อง จำนวนเชิงซ้อนแบบฝึกทักษะเรื่อง จำนวนเชิงซ้อน
แบบฝึกทักษะเรื่อง จำนวนเชิงซ้อนchatchai
 
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...กุ้ง ณัฐรดา
 
จำนนวนเชิงซ้อน
จำนนวนเชิงซ้อนจำนนวนเชิงซ้อน
จำนนวนเชิงซ้อนFern Monwalee
 
จำนวนเชิงซ้อน
จำนวนเชิงซ้อนจำนวนเชิงซ้อน
จำนวนเชิงซ้อนBeer Aksornsart
 
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์PumPui Oranuch
 
คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34krookay2012
 
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวsontayath
 

What's hot (16)

กราฟ ม.3
กราฟ ม.3กราฟ ม.3
กราฟ ม.3
 
Original sy eq-solve2
Original sy eq-solve2Original sy eq-solve2
Original sy eq-solve2
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง จำนวนเชิงซ้อน
แบบฝึกทักษะเรื่อง จำนวนเชิงซ้อนแบบฝึกทักษะเรื่อง จำนวนเชิงซ้อน
แบบฝึกทักษะเรื่อง จำนวนเชิงซ้อน
 
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
P2a
P2aP2a
P2a
 
Math1
Math1Math1
Math1
 
จำนนวนเชิงซ้อน
จำนนวนเชิงซ้อนจำนนวนเชิงซ้อน
จำนนวนเชิงซ้อน
 
Function1
Function1Function1
Function1
 
Math9
Math9Math9
Math9
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
จำนวนเชิงซ้อน
จำนวนเชิงซ้อนจำนวนเชิงซ้อน
จำนวนเชิงซ้อน
 
Math3
Math3Math3
Math3
 
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
 
คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34
 
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 

Similar to Real content

Real number2555
Real number2555Real number2555
Real number2555wongsrida
 
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3  เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3 วรรณิภา ไกรสุข
 
จำนวนจริง
จำนวนจริงจำนวนจริง
จำนวนจริงPiyanouch Suwong
 
จำนวนเชิงซ้อน.pdf
จำนวนเชิงซ้อน.pdfจำนวนเชิงซ้อน.pdf
จำนวนเชิงซ้อน.pdfrattapoomKruawang2
 
ระบบจำนวนเต็ม
ระบบจำนวนเต็มระบบจำนวนเต็ม
ระบบจำนวนเต็ม17112528
 
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001Thidarat Termphon
 
แผน 4 นวัตกรรม บูรณาการเรื่องสมบัติของจำนวนเต็ม
แผน 4 นวัตกรรม บูรณาการเรื่องสมบัติของจำนวนเต็มแผน 4 นวัตกรรม บูรณาการเรื่องสมบัติของจำนวนเต็ม
แผน 4 นวัตกรรม บูรณาการเรื่องสมบัติของจำนวนเต็มJirathorn Buenglee
 
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3  เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3 วรรณิภา ไกรสุข
 
เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซี
เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซีเครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซี
เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซีเทวัญ ภูพานทอง
 
แบบฝึกทักษะ อสมการ
แบบฝึกทักษะ อสมการแบบฝึกทักษะ อสมการ
แบบฝึกทักษะ อสมการNoir Black
 
ระบบจำนวน
ระบบจำนวนระบบจำนวน
ระบบจำนวนguest89040d
 

Similar to Real content (20)

Real number2555
Real number2555Real number2555
Real number2555
 
Realnumbers
RealnumbersRealnumbers
Realnumbers
 
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3  เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
 
จำนวนจริง
จำนวนจริงจำนวนจริง
จำนวนจริง
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
จำนวนเชิงซ้อน.pdf
จำนวนเชิงซ้อน.pdfจำนวนเชิงซ้อน.pdf
จำนวนเชิงซ้อน.pdf
 
ระบบจำนวนเต็ม
ระบบจำนวนเต็มระบบจำนวนเต็ม
ระบบจำนวนเต็ม
 
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
 
แผน 4 นวัตกรรม บูรณาการเรื่องสมบัติของจำนวนเต็ม
แผน 4 นวัตกรรม บูรณาการเรื่องสมบัติของจำนวนเต็มแผน 4 นวัตกรรม บูรณาการเรื่องสมบัติของจำนวนเต็ม
แผน 4 นวัตกรรม บูรณาการเรื่องสมบัติของจำนวนเต็ม
 
Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3
 
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3  เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
 
112
112112
112
 
เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซี
เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซีเครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซี
เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซี
 
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
 
แบบฝึกทักษะ อสมการ
แบบฝึกทักษะ อสมการแบบฝึกทักษะ อสมการ
แบบฝึกทักษะ อสมการ
 
ระบบจำนวน
ระบบจำนวนระบบจำนวน
ระบบจำนวน
 
Number
NumberNumber
Number
 

More from adunjanthima

Mas p anet_chiangmai2551
Mas p anet_chiangmai2551Mas p anet_chiangmai2551
Mas p anet_chiangmai2551adunjanthima
 
การสอบ ย่อยและกลางภาคม.4
การสอบ ย่อยและกลางภาคม.4การสอบ ย่อยและกลางภาคม.4
การสอบ ย่อยและกลางภาคม.4adunjanthima
 

More from adunjanthima (6)

Mas p anet_chiangmai2551
Mas p anet_chiangmai2551Mas p anet_chiangmai2551
Mas p anet_chiangmai2551
 
Real content
Real contentReal content
Real content
 
Logic content
Logic contentLogic content
Logic content
 
Logic content
Logic contentLogic content
Logic content
 
การสอบ ย่อยและกลางภาคม.4
การสอบ ย่อยและกลางภาคม.4การสอบ ย่อยและกลางภาคม.4
การสอบ ย่อยและกลางภาคม.4
 
Logic content
Logic contentLogic content
Logic content
 

Real content

  • 1. www.TewLek.com เว็บติวเลขดอทคอม จํานวนจริง ม.4 เทอมตน สาระการเรียนรูเพิ่มเติม พื้นฐานเกี่ยวกับจํานวนจริง จํานวนชนิดตางๆ สมบัติของจํานวนจริง คาสัมบูรณและ สมบัติของคาสัมบูรณ การเขียนจํานวนจริงบนเสนจํานวน การแกสมการ และอสมการ การแกสมการ สมการพหุนามรูปทั่วไป สมการพหุนามรูปพิเศษ สมการคาสัมบูรณ การแกอสมการ อสมการพหุนามรูปทั่วไป อสมการพหุนามรูปพิเศษ อสมการคาสัมบูรณ ทฤษฎีเศษเหลือ ทฤษฎีเศษเหลือ 1
  • 2. www.TewLek.com เว็บติวเลขดอทคอม พื้นฐานเกี่ยวกับจํานวนจริง จํานวนชนิดตางๆ จํานวนเชิงซอน จํานวนจริง ไมใชจํานวนจริง จํานวนอตรรกยะ จํานวนตรรกยะ ไมใชจํานวนเต็ม จํานวนเต็ม จํานวนเต็มลบ จํานวนเต็มศูนย จํานวนเต็มบวก จํานวนเชิงซอน คือ จํานวนทุกจํานวน จํานวนเชิงซอนที่เปนจํานวนจริง คือ จํานวนที่ไมมคาลบที่อยูในรากคูเปนสวนประกอบ ี เชน 6, 8, − 7.5, 3 , 2, − 2, − 4 16, − 6 18 5 จํานวนเชิงซอนที่ไมใชจํานวนจริง 1 คือ จํานวนทีมีสวนประกอบของคาลบทีอยูในรากคู เชน ่ ่ −1, 4 −2, 6 −4, , 1 + −1 −4 จํานวนอตรรกยะ คือ จํานวนที่ไมสามารถเขียนในรูปของทศนิยมซ้ําได และ ไมสามารถเขียนในรูปเศษสวน ที่เศษเปนจํานวนเต็ม และสวนเปนจํานวนเต็มได เชน 2 = 1.4142135... π = 3.141592... 2
  • 3. www.TewLek.com เว็บติวเลขดอทคอม จํานวนตรรกยะ (จํานวนจริงที่ไมใชจํานวนอตรรกยะ) คือ จํานวนที่สามารถเขียนในรูปของทศนิยมซ้ําได และ สามารถเขียนในรูปเศษสวน ที่เศษเปนจํานวนเต็ม และสวนเปนจํานวนเต็มได (สวนไมเทากับ 0 ) i เชน −1.5 หรือมันก็คือ −1.50... จะเขียนในรูปทศนิยมซ้าไดเปน −1.50 ํ 0, 5, − 4 i i i 3.3, 5.6 23 22 7 ,− 7 9 จํานวนตรรกยะที่ไมใชจํานวนเต็ม i i i 22 7 เชน −1.5, 3.3, 5.6 23, ,− 7 9 จํานวนเต็ม จํานวนเต็มบวก (จํานวนนับ) เชน 1, 2, 3, 4, 5,... 7 14 , 7 7 จํานวนเต็มศูนย เชน 0, 0 5 จํานวนเต็มลบ เชน −1, − 2, − 3, − 4,... 7 14 − ,− 7 7 3
  • 4. www.TewLek.com เว็บติวเลขดอทคอม สมบัติของจํานวนจริง ให a, b, c เปนจํานวนจริงใดๆ และ R คือ เซตของจํานวนจริง สมบัติการเทากัน สมบัติการสะทอน จะได a = a สมบัติการสมมาตร ถา a = b แลว b = a สมบัติการถายทอด ถา a = b และ b = c แลว a = c สมบัติการบวกดวยจํานวนที่เทากัน ทั้งสองขาง ถา a = b แลว a + c = b + c สมบัติการคูณดวยจํานวนที่เทากัน ทังสองขาง ้ ถา a = b แลว a. c = b. c สมบัติการบวก สมบัติปด ถา a ∈ R และ b ∈ R แลว a + b∈ R สมบัติการสลับที่ จะได a + b = b + a สมบัติการเปลี่ยนกลุม จะได a + (b + c) = (a + b) + c สมบัติมีเอกลักษณการบวก คือ 0 จะได 0 + a = a + 0 = a สมบัติมีอินเวอรสการบวก a มีอินเวอรสการบวกคือ − a และ −a มีอนเวอรสการบวกคือ a ิ จะได a + (−a) = (−a) + a = 0 สมบัติการคูณ สมบัติปด ถา a ∈ R และ b ∈ R แลว a . b∈ R สมบัติการสลับที่ จะได a . b = b . a สมบัตการเปลี่ยนกลุม ิ จะได a .(b . c) = (a . b). c สมบัติมีเอกลักษณการคูณ คือ 1 จะได 1. a = a .1 = a สมบัติมีอินเวอรสการคูณ a มีอินเวอรสการคูณคือ 1 1 a (ยกเวน 0 เพราะ ไมมีความหมาย) 1 0 และ มีอนเวอรสการคูณคือ a ิ a จะได a . 1 = 1 . a = 1 a a สมบัติการคูณและการบวก สมบัติการแจกแจง จะได a (b + c) = a . b + a . c 4
  • 5. www.TewLek.com เว็บติวเลขดอทคอม การเขียนจํานวนจริงบนเสนจํานวน เครื่องหมาย =, ≥, ≤ และ วงเล็บ [ , ] จุดทึบ เครื่องหมาย ≠, >, < และ วงเล็บ ( , ) จุดโปรง ตัวอยางเขียน x บนเสนจํานวน ดังนี้ x=0 0 x ≠ 0 เขียนไดวา {x x ≠ 0} หรือเขียนไดวา (−∞, 0) ∪ (0, ∞) 0 x < 1 เขียนไดวา {x x < 1} หรือเขียนไดวา (−∞, 1) 1 −2 ≤ x < 3 เขียนไดวา {x −2 ≤ x < 3} หรือเขียนไดวา [−2, 3) −2 3 x < −2 หรือ x≥3 เขียนไดวา {x x < −2 หรือ x ≥ 3} หรือเขียนไดวา (−∞, − 2) ∪ [3, ∞) −2 3 5
  • 6. www.TewLek.com เว็บติวเลขดอทคอม คาสัมบูรณและสมบัติของคาสัมบูรณ คาสัมบูรณ ให a เปนจํานวนจริงใดๆ คาสัมบูรณของ a หรือ a คือ ระยะทางจากจุด a ถึง 0 ซึ่งระยะทางจะมีคาบวกเสมอ  เชน 3 หรือ −3 จะมีคาเทากันคือ 3 −3 = 3 3 =3 −3 0 3 3 3 ดังนัน ้ −7 = 7 − = 2 2 7 7 7 =7 = 6 6 *วิธีถอดเครืองหมายคาสัมบูรณทําไดดังนี้ ่ ถา a < 0 แลว a = −a (ลบอยูหนาลบ ไดคาบวก) ถา a > 0 แลว a = a ถา a = 0 แลว a = 0 6
  • 7. www.TewLek.com เว็บติวเลขดอทคอม สมบัติของคาสัมบูรณ ให x, y เปนจํานวนจริงใดๆ และ a เปนจํานวนจริงที่มากกวา 0 1) x ≥ 0 2) x = − x 3)* x = a เมื่อ x = a หรือ x = −a 4) x . y = x . y x x 5) = โดยที่ y≠0 y y ตรงสวนที่มีเครื่องหมาย * ( x) 2 6)* x = x2 ≠ เปนความรูพื้นฐานสําคัญที่ตองนํามาใช 7) x 2 = x2 แกสมการและอสมการคาสัมบูรณ 8)* x <a จะไดวา −a < x < a x ≤ a จะไดวา −a ≤ x ≤ a x >a จะไดวา x < −a หรือ a < x x ≥a จะไดวา x ≤ −a หรือ a ≤ x 9) x + y ≤ x + y 10) x − y ≥ x − y 7
  • 8. www.TewLek.com เว็บติวเลขดอทคอม การแกสมการ และอสมการ การแกสมการ การแกสมการพหุนามรูปทั่วไป เชน 2 x 4 − 14 x 2 = −12 x ขั้นที่ 1 ยายขางใหขางนึงของสมการมีคาเปน 0 และ อีกขาง ให ส.ป.ส. หนาตัวแปรยกกําลังสูงสุดมีคาเปนบวก จะได 2 x 4 − 14 x 2 + 12 x = 0 ขั้นที่ 2 ถาพหุนามมีตวรวมดึงออกมาเลย และถาเปนคาคงตัวหารตลอดไดสมการเลย ั (แตตวแปรหามหารตลอดสมการ เพราะตัวแปรมีคาเปน 0 ได ซึ่งตัวสวนเปน 0 หาคาไมไดนะ) ั ซึ่งจะเห็นวา 2 x 4 − 14 x 2 + 12 x มี 2x เปนตัวรวม ดึงออกมาเลย จะได 2x( x3 − 7 x + 6) = 0 นํา 2 หารตลอดสมการ แตหามนํา x หารตลอดสมการ จะได x( x3 − 7 x + 6) = 0 ขั้นที่ 3 แยกแฟกเตอร (หลังจากแยกแฟกเตอรแลว ส.ป.ส. หนา ตัวแปรตองมีคาบวก) แยกแฟกเตอร x3 − 7 x + 6 ทําโดยขั้นตอนดังนี้ 3.1) หาคาที่แทนใน x แลวทําให x3 − 7 x + 6 มีคาเปน 0 ควรลองคางายๆ แทนดูกอน เชน 1, − 1, 2, − 2,... ลองเอา 1 แทนดูกอน จะได 13 − 7(1) + 6 = 1 − 7 + 6 = 0 ดังนัน จะไดวา ( x − 1) เปนตัวประกอบนึงของ x3 − 7 x + 6 ้ เขียนไดวา x3 − 7 x + 6 = ( x − 1) (  ) 3.2) หาตัวประกอบที่เหลือโดยการหารยาว x2 + x − 6 x − 1 x3 − 7x + 6 x3 − x 2 x2 − 7 x + 6 x2 − x − 6x + 6 − 6x + 6 0 8
  • 9. www.TewLek.com เว็บติวเลขดอทคอม 3.3) ดังนันจากขั้นตอนที่ 2 ้ x( x3 − 7 x + 6) = 0 x ( x − 1) ( x 2 + x − 6) = 0 x ( x − 1) ( x + 3) ( x − 2) = 0 คําตอบของสมการคือ 0, 1, − 3, 2 การแกสมการพหุนามรูปพิเศษ เศษ พหุนามรูปพิเศษ หมายถึง กลุมตัวแปร หรือ กลุมตัวแปร หลักการที่สําคัญมากๆ กอนจะตะลุยแกสมการใหเขียนเงื่อนไขขางตนของกลุมตัวแปรซะกอน เชน กลุมตัวแปร กลุมตัวแปร ≥ 0 กลุมตัวแปร ≠ 0 เศษ กลุมตัวแปร หลังจากเขียนเงื่อนไขขั้นตนแลว ทําใหพหุนามรูปพิเศษ ใหเปนพหุนามรูปทั่วไป แลวแกสมการตามขั้นตอนของการแกสมการ พหุนามรูปทั่วไปจนไดคําตอบ สําคัญมาก กอนจะสรุปคําตอบ ตองนําคําตอบที่ได Check ดูวาเปนตามเงื่อนไขขางตน หรือไม เอาแตเฉพาะคําตอบที่เปนตามเงื่อนไขขางตน เทานัน ้ 9
  • 10. www.TewLek.com เว็บติวเลขดอทคอม การแกสมการคาสัมบูรณ ให x = a ถอดเครื่องหมายคาสัมบูรณ ทําได 2 วิธี วิธีที่ 1 ยกกําลังสองทั้งสองขาง วิธีที่ 2 แยกกรณี x =a x จาก x = x2 กรณีที่ x ≥ 0 หรือ กรณีที่ x < 0 จะได x2 = a ยกกําลังสองทั้งสองขาง จะได x = x จะได x = − x จะได x2 = a2 x2 − a2 = 0 ( x − a) ( x + a) = 0 x = a, − a ***วิธีนี้ไมเหมาะ ถาในสมการ ตัวแปรยกกําลัง มากกวาหนึ่ง 10
  • 11. www.TewLek.com เว็บติวเลขดอทคอม การแกอสมการ (ขอสอบเขามหาวิทยาลัยชอบออกมาก!!!) ***พื้นฐานสําคัญที่ตองรูเกี่ยวกับอสมการ*** ถานําคาลบมาคูณหรือหารทั้งสองขางของอสมการ เครื่องหมายอสมการตองกลับขาง เชน ให a, b, c เปนจํานวนจริง ถา a < b และ c เปนคาลบ ถา a ≤ b และ c เปนคาลบ a b จะได a. c > b. c จะได ≥ c c การยกกําลังสองทั้งสองขางของอสมการ ให a < b จะได a 2 < b2 ถา a และ b เปนคาบวก ทังคู ( a เปน 0 ก็ได) ้ จะได a 2 > b2 ถา a และ b เปนคาลบ ทั้งคู ( b เปน 0 ก็ได) ***แตถา a เปนลบ และ b เปนบวก จะบอกไมไดวา a 2 < b2 หรือ a 2 > b2  การแกอสมการพหุนามรูปทั่วไป ทําขั้นตอนเหมือนแกสมการพหุนามรูปทัวไปจนแยกแฟกเตอรเสร็จ ่ (ส.ป.ส. หนาตัวแปรตองเปนบวกทั้งหมด) เชน ( x − a) ( x − b) < 0 นําคาทีทําใหพหุนามเปน 0 มาเขียนบนเสนจํานวน ก็คือ คา a, b ่ ใสจุด ถา > , < จุดโปรง ถา ≥ , ≤ จุดทึบ ใสเครื่องหมาย + , − สลับกัน จากขวาไปซาย (เริ่ม + ขวาสุดกอน) + − + a b ถา พหุนาม < , ≤ เอาชวง − ถา พหุนาม > , ≥ เอาชวง + 11
  • 12. www.TewLek.com เว็บติวเลขดอทคอม Note ถาแยกแฟกเตอรแลวมีบางวงเล็บ ยกกําลังเลขคู ( x − a)2,4,6,... ใหใสเครื่องหมายซ้ําเดิมจากขวาไปซาย ที่จด a นัน ุ ้ แตถายกกําลังเลขคี่ ( x − a)3,5,7,... ใหคดเหมือน ( x − a) ไดเลย ิ เชน ( x − a ) 2 ( x − b) < 0 − − + a b ( x − a ) 2 ( x − b)3 ( x − c ) 4 < 0 − − + + a b c 12
  • 13. www.TewLek.com เว็บติวเลขดอทคอม การแกอสมการพหุนามรูปพิเศษ เศษ พหุนามรูปพิเศษ หมายถึง กลุมตัวแปร หรือ กลุมตัวแปร หลักการที่สําคัญมากๆ กอนจะตะลุยแกอสมการใหเขียนเงื่อนไขขางตนของกลุมตัวแปรซะกอน เชน กลุมตัวแปร กลุมตัวแปร ≥ 0 กลุมตัวแปร ≠ 0 เศษ กลุมตัวแปร หลังจากเขียนเงื่อนไขขั้นตนแลว ทําใหพหุนามรูปพิเศษ ใหเปนพหุนามรูปทั่วไป แลวแกอสมการตามขั้นตอนของการแกอสมการ พหุนามรูปทั่วไปจนไดคําตอบ สําคัญมาก กอนจะสรุปคําตอบ ตองนําคําตอบที่ได Check ดูวาเปนตามเงื่อนไขขางตน หรือไม เอาแตเฉพาะคําตอบที่เปนตามเงื่อนไขขั้นตน เทานัน ้ 13
  • 14. www.TewLek.com เว็บติวเลขดอทคอม ***หลักในการแกอสมการพหุนามที่กลุมตัวแปรอยูที่สวน  เชน 1 ≤1 x−5 เงื่อนไขขางตนคือ x −5 ≠ 0 ดังนัน ้ x≠5 นํา ( x − 5)2 มาคูณทังสองขางของอสมการ ้ ***สาเหตุทตองเปน ( x − 5)2 ไมเปน ( x − 5) เพราะ ี่ ( x − 5) เราไมรูวาเปนคาบวกหรือลบ ดังนันเครื่องหมายอสมการจึงไมรูวาตองกลับขางหรือไม ้ ( x − 5) 2 เรามันใจไดเลยวาเปนบวก ดังนันเครื่องหมายอสมการเหมือนเดิม ่ ้ จะได x − 5 ≤ ( x − 5) 2 x − 5 ≤ x 2 − 10 x + 25 เนื่องจากเงื่อนไขขางตน x ≠ 5 0 ≤ x 2 − 11x + 30 ดังนั้นที่ x = 5 จึงเปนจุดโปรง 0 ≤ ( x − 6) ( x − 5) + − + 5 6 จึงได x = (−∞,5) ∪ [6, ∞) 14
  • 15. www.TewLek.com เว็บติวเลขดอทคอม การแกอสมการคาสัมบูรณ ถอดเครื่องหมายคาสัมบูรณ ทําได 3 วิธี วิธีที่ 1 ยกกําลังสองทั้งสองขาง เปลี่ยนจาก x ไปเปน x 2 แลวยกกําลังสองทั้งสองขางของอสมการเพื่อให หายไป ***วิธีนี้ตองใชกับอสมการทีมั่นใจวา ซาย-ขวา เปนบวกทั้งคู หรือ ซาย-ขวา เปนลบทั้งคู ่ ยกกําลังสองทังสองขางแลวจะไดรูวาเครื่องหมายอสมการตองเปนยังไง ้ ***วิธีนี้ไมเหมาะ ถาในสมการ ตัวแปรยกกําลัง มากกวาหนึ่ง วิธีที่ 2 ทําแบบแบงชวง x <a x >a จะไดวา −a < x < a จะไดวา x < −a หรือ a < x เขียนใหมไดเปน x < −a ∪ a < x − a < x และ x < a −a < x ∩ x < a x ≤a x ≥a จะไดวา −a ≤ x ≤ a จะไดวา x ≤ −a หรือ a ≤ x เขียนใหมไดเปน x ≤ −a ∪ a ≤ x − a ≤ x และ x ≤ a −a ≤ x ∩ x ≤ a สําคัญมาก “และ” คือ ∩ “หรือ” คือ ∪ วิธีที่ 3 แยกกรณี กรณีที่ x ≥ 0 หรือ กรณีที่ x < 0 จะได x = x จะได x = − x 15
  • 16. www.TewLek.com เว็บติวเลขดอทคอม ทฤษฎีเศษเหลือ f ( x) หารดวย ( x − c) เศษเหลือ เทากับ f (c ) และถา f ( x) หารดวย ( x − c) เศษเหลือ เทากับ 0 f (c) = 0 แสดงวา ( x − c) เปนตัวประกอบนึงของ f ( x) หรือ ( x − c) หาร f ( x) ลงตัว เชน f ( x) = x 2 − x + 1 หารดวย x−2 จะเหลือเศษเทาไหร จะเหลือเศษเทากับ f (2) = 22 − 2 + 1 = 3 16