SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
Download to read offline
เอกสารสนับสนุนการดาเนินงาน


 แนวทางการจัดการเรียนรู ้
 ในโรงเรียนมาตรฐานสากล




                         ึ
สาน ักบริหารงานการม ัธยมศกษาตอนปลาย
                           ึ  ั้ ้
สาน ักงานคณะกรรมการการศกษาขนพืนฐาน
2




การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนมาตรฐานสากล
        โรงเรี ยนมาตรฐานสากล ( World             class standard school)

หมายถึง โรงเรี ยนที่จดการเรี ยนการสอนมุ่งให้ผเู ้ รี ยนมีคุณลักษณะพึงประสงค์
                     ั
(Learner Profile) เทียบเคียงมาตรฐานสากล (World class standard) ผูเ้ รี ยนมี
ศักยภาพ เป็ นพลโลก (World citizen) เพื่อพัฒนายกระดับคุณภาพจัดการเรี ยน
การสอนและการจัดการด้วยระบบคุณภาพ เพื่อให้ผเู้ รี ยนมีคุณลักษณะที่พึง
ประสงค์ของผูเ้ รี ยนเป็ นมาตรฐานสากล เป็ นการต่อยอดคุณลักษณะที่พึง
ประสงค์ที่เป็ นมาตรฐานชาติ (ตามที่โรงเรี ยนทุกโรงจะต้องดาเนินการ เพื่อ
รองรับการประเมินคุณภาพการ จัดการศึกษาโดย สมศ. ตาม พ.ร.บ. การศึกษา
แห่งชาติ พ.ศ. 2542) โดยภาพรวมคุณลักษณะที่พึงประสงค์พ้นฐานของทั้งสอง
                                                     ื
มาตรฐานเหมือนกัน คือ การจัดการศึกษาให้คนในชาติเป็ น คน เก่ง คนดี และ มี
ความสุ ข ตามปฏิญญาว่าด้วยการจัดการศึกษาของ UNESCO โดยในศตวรรษที่
21 ทุกประเทศได้มีการพัฒนาและใช้หลักสู ตรการศึกษาที่มีเป้ าหมายให้ผเู้ รี ยน
ได้ Learn to know , Learn to be , Learn to do, เพื่อให้มีคุณลักษณะที่พึง
ประสงค์ในฐานะพลเมืองของชาติ และ Learn to live together เพื่อสร้าง
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ในฐานะพลโลก ( มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของคน
ไทยที่พึงประสงค์ท้ งในฐานะพลเมืองและพลโลก)
                   ั
            จากข้อค้นพบในการศึกษาวิจยและติดตามผลการใช้หลักสู ตรการศึกษา
                                    ั
                                 ่
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ที่ผานมา ประกอบกับข้อมูลจากแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 เกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาคนใน
สังคมไทย และจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิ การในการพัฒนาเยาวชนสู่ ศตวรรษ
ที่ 21จึงเกิดการทบทวนหลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 เพื่อ
นาไปสู่ การพัฒนาหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่
มีความเหมาะสมชัดเจน ทั้งเป้ าหมายของหลักสู ตรในการพัฒนาคุณภาพผูเ้ รี ยน
ทักษะกระบวนการนาหลักสู ตรไปสู่ การปฏิบติในระดับเขตพื้นที่การศึกษาและ
                                           ั
สถานศึกษา โดยได้มีการกาหนดวิสัยทัศน์ จุดหมาย สมรรถนะสาคัญของ
ผูเ้ รี ยน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรี ยนรู ้และตัวชี้วดที่ชดเจน เพื่อ
                                                                ั ั
ใช้เป็ นทิศทางในการจัดทาหลักสู ตร การเรี ยนการสอนในแต่ละระดับ
3




นอกจากนั้นได้กาหนดโครงสร้างเวลาเรี ยนขั้นต่าของแต่ละกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้
ในแต่ละชั้นปี ไว้ในหลักสู ตรแกนกลาง และเปิ ดโอกาสให้สถานศึกษาเพิ่มเติม
เวลาเรี ยนได้ตามความพร้อมและจุดเน้น อีกทั้งได้ปรับกระบวนการวัดและ
ประเมินผลผูเ้ รี ยน เกณฑ์การจบการศึกษาแต่ละระดับ และเอกสารแสดง
หลักฐานทางการศึกษาให้มีความสอดคล้องกับมาตรฐานการเรี ยนรู ้ และมีความ
ชัดเจนต่อการนาไปปฏิบติ  ั
         โรงเรี ยนมาตรฐานสากลมีวตถุประสงค์ที่สาคัญคือการพัฒนาผูเ้ รี ยนให้มี
                                 ั
ศักยภาพเป็ นพลโลกโดยมุ่งหวังที่จะให้โรงเรี ยนได้พฒนาต่อยอดคุณลักษณะ
                                                 ั
ของผูเ้ รี ยนตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน       การพัฒนาผูเ้ รี ยนมุ่ง
ให้มีพ้ืนฐานจิตใจที่ดีงาม มีจิตสาธารณะ มีสมรรถนะ ทักษะและความรู ้ พื้นฐาน
ที่จาเป็ นในการดารงชีวต การพัฒนาเยาวชนของชาติเข้าสู่ โลกยุคศตวรรษที่ 21
                      ิ
โดยมุ่งส่ งเสริ มผูเ้ รี ยนมีคุณธรรม รักความเป็ นไทย ให้มีทกษะการคิดวิเคราะห์
                                                           ั
สร้างสรรค์ มีทกษะด้านเทคโนโลยี สามารถทางานร่ วมกับผูอื่น และสามารถอยู่
              ั                                     ้
ร่ วมกับผูอื่นในสังคมโลกได้อย่างสันติอนจะส่ งผลต่อการพัฒนาประเทศแบบ
          ้                           ั
ยังยืน
  ่
                               Inventive Thinking
                                 การคิดประดิษฐ์
     Digital-Age                     -สร ้าง
     Literacy                                    High Productivity
     รู ้ภาษายุคดิจตัล
                   ิ                             มีผลิตภาพสูง

 Effective
 Communication
   ่
 สือสารมี
 ประสิทธิผล



                         การเรียนรู ้ ในศตวรรษที่ 21
                         Academic Achievements
4



รู ้ภาษายุคดิจตล (Digital-Age Literacy)
              ิ ั
พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ เทคโนโลยี รู้ภาษาข้อมูล และทัศนภาพ
(Visual & Information Literacies รู้พหุวฒนธรรมและมีความตระหนักสานึก
                                        ั
ระดับโลก (Multicultural Literacy & Global Awareness)
การคิดประดิษฐ์-สร ้าง (Inventive Thinking)
ปรับตัว-นาตน จัดการกับความซับซ้อน ใฝ่ รู ้ สร้างสรรค์ กล้าเสี่ ยง คิดได้ใน
ระดับสู งและมีเหตุมีผล
มีผลิตภาพสูง (High Productivity)
จัดลาดับความสาคัญ วางแผน และบริ หาร จัดการมุ่งผลสาเร็ จ ใช้เครื่ องมืออย่าง
มีประสิ ทธิ ผลในโลกแห่ง ความเป็ นจริ งสามารถผลิตผลงานที่เหมาะสม
มีคุณภาพสู ง
 ื่        ิ
สอสารมีประสทธิผล (Effective Communication)
ทักษะทีม การร่ วมมือและสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ความรับผิดชอบต่อตนเอง
สังคม และส่ วนรวม การสื่ อสารเชิงปฏิสัมพันธ์


โดย หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานได้กาหนดสมรรถนะสาคัญ




1
5 ประการ ดังนี้
                         ื่
         ความสามารถในการสอสาร
          เป็ นความสามารถในการรับและส่ งสาร มีวฒนธรรมในการใช้ภาษา
                                                  ั
          ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเอง
          เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์อนจะเป็ นประโยชน์ต่อ
                                                       ั
การพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปั ญหาความ
ขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรื อไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความ




2
ถูกต้องตลอดจนการเลือกใช้วธีการสื่ อสาร ที่มีประสิ ทธิภาพโดยคานึงถึง
                              ิ
ผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม
         ความสามารถในการคิด
       เป็ นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง
       สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวจารณญาณ และการคิดเป็ นระบบ เพื่อ
                                ิ
       นาไปสู่ การสร้างองค์ความรู ้หรื อสารสนเทศเพื่อการตัดสิ นใจเกี่ยวกับ
ตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม
5




3        ความสามารถในการแก ้ปั ญหา
        เป็ นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรค ต่าง ๆ ที่เผชิญได้
        อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูล
        สารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง
ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู ้มาใช้ในการป้ องกันและแก้ไข




4
ปัญหา และมีการตัดสิ นใจที่มีประสิ ทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบ ที่เกิดขึ้นต่อ
ตนเอง สังคมและสิ่ งแวดล้อม
                          ้     ี ิ
         ความสามารถในการใชทักษะชวต
           เป็ นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการดาเนิน
           ชีวตประจาวัน การเรี ยนรู้ดวยตนเอง การเรี ยนรู ้อย่างต่อเนื่อง การ
               ิ                     ้
           ทางาน และการอยูร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริ มความสัมพันธ์
                            ่
อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปั ญหาและความขัดแย้งต่าง ๆอย่างเหมาะสม




5
การปรับตัวให้ทนกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการ
                  ั
รู ้จกหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผูอื่น
     ั                        ึ                                        ้
                           ้
         ความสามารถในการใชเทคโนโลยี
         เป็ นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีดานต่าง ๆและมี
                                                         ้
         ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ใน
         ด้านการเรี ยนรู้ การสื่ อสารการทางาน การแก้ปัญหา อย่างสร้างสรรค์
ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม


           หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน มุ่งพัฒนาผูเ้ รี ยนให้มี
                                    ้ ้
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพือให้สามารถอยู่ร่วมกับผูอืนในสังคมได้
                             ่                     ้่
อย่างมี ความสุข ในฐานะเป็ นพลเมื องไทยและพลโลกซึ่งเมื ่อพิจารณา
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะสาคัญของผูเ้ รี ยน คุณลักษณะ
ของผูเ้ รี ยนในศตวรรษ 21 และคุณภาพผูเ้ รี ยนในโรงเรี ยน
มาตรฐานสากลมี ความสัมพันธ์ สอดคล้องและส่งเสริ มต่อยอดผูเ้ รี ยนให้
มี ศกยภาพเป็ นพลโลก
    ั
6




       คุณลักษณะอัน                  สมรรถนะสาคัญ                  คุณลักษณะผู้เรียน             คุณภาพผู้เรียน
         พึงประสงค์                     ของผู้เรียน                  ในศตวรรษ 21            โรงเรียนมาตรฐานสากล
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ 1. ความสามารถ                    1.ใฝ่ รู้ใฝ่ เรี ยน           1. เป็ นเลิศวิชาการ
2. ซื่อสัตย์สุจริ ต               ในการสื่ อสาร              2.มีภูมิรู้                   2. สื่ อสาร 2 ภาษา
3. มีวนย
      ิ ั                        2. ความสามารถ               3.รู้จกใช้วจารณญาณ
                                                                   ั ิ                     3. ล้ าหน้าความคิด
                                                                                           4. ผลิตงานอย่าง
4. ใฝ่ เรี ยนรู้                    ในการคิด                 4.เป็ นนักคิด
                                                                                              สร้างสรรค์
      ่
5. อยูอย่างพอเพียง               3. ความสามารถ               5. สามารถสื่ อสารได้
                                                                                           5. ร่ วมกันรับผิดชอบต่อ
6. มุ่งมันในการทางาน
         ่                         ในการแก้ปัญหา             6.มีระเบียบวินย
                                                                           ั                  สังคมโลก
7. รักความเป็ นไทย               4. ความสามารถ               7.ใจกว้าง
8. มีจิตสาธารณะ                    ในการใช้ทกษะชีวต
                                            ั     ิ          8. รอบคอบ
                                 5. ความสามารถ               9. กล้าตัดสิ นใจ




                      ก
                                   ในการใช้เทคโนโลยี         10. ยุติธรรม


                                    ารพัฒนาหลักสู ตรสถานศึกษาในโรงเรี ยนมาตรฐานสากลยัง ยึดหลักการ
                                    และแนวคิดหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาทุกประการคือ ให้ผเู้ รี ยนได้เรี ยน
                                    กลุ่มสาระพื้นฐาน 8 กลุ่มสาระ เรี ยนสาระเพิ่มเติมและกิจกรรมพัฒนา
                      ผูเ้ รี ยน ดังเช่นที่ได้ถือปฏิบติอยู่ โรงเรี ยนจึงควรใช้กระบวนการพัฒนาหลักสู ตร
                                                     ั
                      สถานศึกษาในการจัดการเรี ยนการสอนโดยคานึงถึงสภาพความพร้อม จุดเน้น ของ
                      โรงเรี ยน การจัดการเรี ยนการสอนสาระที่เป็ นสากล จึงสามารถจัดได้ท้ งเป็ นหน่วยการ
                                                                                        ั
                      เรี ยนรู ้ในรายวิชาพื้นฐานทั้ง 8 สาระ เช่น ทฤษฎีความรู้ (Theory of Knowledge : TOK)
                      ความเรี ยงชั้นสู ง (Extended- Essay) โลกศึกษา(Global Education) สาหรับกิจกรรม
                      สร้างสรรค์ (CAS:Creativity, Action,Service) สามารถนาไปในการจัดกิจกรรมพัฒนา
                      ผูเ้ รี ยน ในส่ วนของ ชุมนุม ชมรม หรื อ กิจกรรมเพื่อสังคมและสารธารณะประโยชน์ได้
                      เรี ยนรู ้ภาษาต่างประเทศที่ 2 อีกหนึ่งภาษาสาหรับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ต
                                                                                             7




                 ลอดจนการปรับเปลี่ยนวิธีการวัดและประเมินผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนโดย
                 ให้ผเู้ รี ยน สร้างสรรค์ผลงานนาเสนอผลงานทั้งเป็ นเอกสารและปากเปล่า
                 (Oral Presentation) ซึ่งการหมายถึงการให้ผเู้ รี ยนเจ้าของผลงานนาเสนอ
    ผลงานเอกสารเขียนโดยไม่อนุญาตให้นาเสนอโดยการอ่าน ไม่ใช่การสอบสัมภาษณ์
    (Interview) เพื่อสะท้อนผลการจัดการเรี ยนรู ้ที่ส่งผลต่อนคุณภาพของผูเ้ รี ยนที่มีศกยภาพ
                                                                                     ั
    เป็ นพลโลกตามตามเจตนารมณ์และวัตถุประสงค์ของโรงเรี ยนมาตรฐานสากลดังแผนภูมิ
    ต่อไปนี้

                           - ทฤษฎีความรู ้            -   ภาษาไทย
                                         ้
                           - ความเรียงชันสูง          -   ภาษาอังกฤษ
                                                      -   คณิตศาสตร์
                           - กิจกรรมสร ้างสรรค์
                                                      -   วิทยาศาสตร์
                           ประโยชน์                   -   สังคมศึกษา / ศาสนา/
                           -โลกศึกษา                      วัฒนธรรม/ประวัตศาสตร์
                                                                         ิ
                                                      -   สุขศึกษาและพลศึกษา
                                                      -   ศิลปะ
                                                      -   การงานอาชีพและเทคโนโลยี

     ้
ใชเทคโนโลยีเป็ น
  ื่
สอสารเป็ น
คิดเป็ น
แก ้ปั ญหาเป็ น
       ้
ใชทักษะชวต ี ิ               เป็ นเลิศวิชาการ
                               ื่
                             สอสารสองภาษา
                             ล้าหน ้าทางความคิด
                             ผลิตงานอย่างสร ้างสรรค์
                                               ั
                             ร่วมกันรับผิดชอบสงคมโลก
8




                    การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา

                        ึ
 โครงสร ้างหลักสูตรสถานศกษา                                    ึ
                                        โครงสร ้างหลักสูตรสถานศกษา
         โรงเรียนทั่วไป                    โรงเรียนมาตรฐานสากล




วิชาพืนฐาน 8 กลุมสาระการเรียนรู ้
      ้              ่              วิชาพืนฐาน 8 กลุมสาระการเรียนรู ้
                                          ้            ่
- ภาษาไทย                           - ภาษาไทย
- ภาษาอังกฤษ                        - ภาษาอังกฤษ
- คณิตศาสตร์                        - คณิตศาสตร์
- วิทยาศาสตร์                       - วิทยาศาสตร์
        ั      ึ
- สงคมศกษา / ศาสนา/                         ั      ึ
                                    - สงคมศกษา / ศาสนา/
    วัฒนธรรม/ประวัตศาสตร์
                       ิ                วัฒนธรรม/ประวัตศาสตร์
                                                         ิ
             ึ
- สุขศกษาและพลศกษา         ึ                     ึ
                                    - สุขศกษาและพลศกษา     ึ
- ศ       ิลปะการงานอาชพและ
                         ี          - ศ       ิลปะ
    เทคโนโลยี                                        ี
                                    - การงานอาชพและเทคโนโลยี




                +                          สาระเพิมเติมตามจุดเน ้น
                                                  ่
    สาระเพิมเติมตามจุดเน ้น
           ่


     กิจกรรมพัฒนาผู ้เรียน                  กิจกรรมพัฒนาผู ้เรียน




                                    สาระสากล
                                       - TOK (Theory of Knowledge)
                                       - EE (Extended – Essay)
                                       - CAS (Creativity,Action,Service)
                                       - GE (Global Education)
                                       - ภาษาอังกฤษ
                                       - ภาษาต่างประเทศที่ 2
9




แนวทางในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสู ตรสถานศึกษาของโรงเรี ยนมาตรฐานสากล โรงเรี ยนจะต้องใช้
หลักการและแนวคิดหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาทุกประการ คือ ให้ผเู้ รี ยนได้
เรี ยนกลุ่มสาระพื้นฐาน 8 กลุ่มสาระ เรี ยนสาระเพิ่มเติมและกิจกรรมพัฒนา
ผูเ้ รี ยน ดังเช่นที่ได้ถือปฏิบติอยู่ โดยโรงเรี ยนควรพิจารณาถึงความเหมาะสม
                               ั
สภาพความพร้อม และจุดเน้นของโรงเรี ยน การจัดให้มีการเรี ยนการสอนสาระที่
เป็ นสากล 4 สาระ ได้แก่ ทฤษฎีความรู้ (Theory of Knowledge : TOK) ความ
เรี ยงชั้นสู ง (Extended- Essay) กิจกรรมสร้างสรรค์ (CAS:Creativity,
Action,Service) โลกศึกษา(Global Education) และเน้นให้ผเู้ รี ยนได้เรี ยนรู้
ภาษาต่างประเทศที่ 2 อีกหนึ่งภาษา สาหรับมัธยมศึกษาตอนปลาย ซึ่งโรงเรี ยน
สามารถพัฒนาหลักสู ตรโดยนาสาระสากลมาจัดลงในหลักสู ตรสถานศึกษาทั้ง
ในเชิงบูรณาการเป็ นหน่วยการเรี ยนรู ้ในสาระพื้นฐานทั้ง 8 สาระ หรื อ จัดเป็ น




1
รายวิชาเพิ่มเติม ทั้งนี้โรงเรี ยนควรพิจารณาถึงความเหมาะสมของขอบข่ายสาระ
การเรี ยนรู ้ของสาระสากลกับโครงสร้างของหลักสู ตรสถานศึกษา
              ทฤษฎีความรู้ (Theory of Knowledge) เป็ นสาระการสอนที่มี
              วัตถุประสงค์เพื่อปลูกฝังทักษะการค้นคว้าแสวงหาความรู ้เพิ่มเติมให้
              ลึกซึ้ งในประเด็นความรู ้หรื อหัวข้อที่โรงเรี ยนกาหนดให้ผเู ้ รี ยนเลือก
เป็ นการต่อยอดความรู ้จากการเรี ยนสาระการเรี ยนรู ้พ้ืนฐาน 8 สาระการเรี ยนรู้
ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ไม่ ใช่ การสอน
เนือหาเพิ่มครู ผสอนจะไม่สอนสิ่ งที่เป็ นเนื้อหา แต่สอนกระบวนการค้นคว้าและ
     ้                ู้
สื บค้นความรู้ โดยผูเ้ รี ยนต้องค้นคว้าหาความรู ้เพื่อนามาแสดงให้เห็นว่า “เรา รู้
ได้อย่างไร : How do we know ? ”และครู ผสอนจะเป็ นผูช้ ีแนะชี้นาวิธีการ
                                                   ู้            ้
แสวงหาความรู้ (Ways of Knowing ) การใช้ขอมูลเป็ นเหตุผล การใช้ขอมูล
                                                       ้                           ้
จากการค้นคว้าโต้แย้งด้วยความคิดสนับสนุนเห็นด้วยและความคิดขัดแย้งไม่เห็น
ด้วยกับความคิดที่คนพบ    ้
10



   How do we know? (Ways of Knowing )




     ขอบข่ายของความรู ้
     Areas of Knowledge

อารมณ์             วิถของการรู ้
                      ี
                   Ways of Knowing    การรับรู ้
                       ภาษา
          เหตุผล




                            วิทยาศาสตร์เ้ ป็ นสหวิทยาการ
                                 ความรู             ศิลปะ          ประวัติศาสตร์
                                 Interdisciplinary Course
                            ธรรมชาติ
                                                            มนุษยศาสตร์
                                     จริยศาสตร์



         มุงพัฒนาทักษะ การคิดวิเคราะห์วจารณ์ Critical Thinking
           ่                           ิ
          ่
         สงเสริมการเรียนรู ้ว่าด ้วย ธรรมชาติและขอบข่ายของความรู ้ วิพากษ์ และ
         ประเมินขอบข่ายขององค์ความรู ้สาขาต่างๆวิเคราะห์ แยกแยะ ประเมิน
                  ื่                                               ่ ี ่ ั
         ความน่าเชอถือของแหล่งความรู ้ ระบุบทบาทของความรู ้ทีมตอสงคม
         โลก อธิบาย ทาความเข ้าใจถึงความจาเป็ นทีจะต ้องรับผิดชอบในโลก
                                                    ่
         โลกาภิวฒน์
                ั
2
                                                                                                  11




                 การเขียนความเรี ยงขั้นสู ง ( Extended-Essay ) เป็ นสาระที่มีวตถุประสงค์
                                                                               ั
                 เพื่อให้ผเู ้ รี ยนได้ฝึกฝนทักษะการค้นคว้าอย่างอิสระ( Independent
                 Study/Research ) ในเรื่ องที่ตนสนใจ จากการเรี ยนเนื้อสาระในสาระการ




   3
   เรี ยนรู ้พ้ืนฐาน และเขียนรายงานสิ่ งที่คนพบจากการค้นคว้าเป็ นความเรี ยงเชิงวิชาการ
                                                 ้
   ตามแบบแผนการเขียนเชิงวิชาการ มีองค์ประกอบต่างๆตามที่กาหนดครบถ้วน
                 โลกศึกษา ( Global Education )เป็ นสาระการเรี ยนรู ้ที่มุ่งให้ผเู ้ รี ยนมีความรู ้
                 ความเข้าใจในสถานการณ์ของโลก สามารถวิเคราะห์เหตุการณ์เป็ นและ
                 สามารถมองเห็นช่องทางและวิธีการในการแก้ปัญหาอย่างชาญฉลาด โดย
   กาหนดให้ผเู ้ รี ยนรู ้จกวิเคราะห์เหตุการณ์ใน 8 มิติ ได้แก่
                                  ั

                              Global Citizenship


     Social justice                                      Interdependence
                                        GLOBAL

                                                            Diversity
        Human Rights
                                       DIMENSION

     Conflict Resolution                             Values &Perceptions


                          Sustainable Development




             การเรี ยนโลกศึกษา ( Global Education ) ไม่ใช่การสอนเนื้อหาสาระ แต่หวังผล
ให้ผเู้ รี ยน “ คิดเป็ น แก้ปัญหาเป็ น ” มีทกษะการคิดสร้างสรรค์ ( Creative Thinking )
                                                ั
และทักษะการคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ ( Critical Thinking ) การจัดการเรี ยนการสอนเน้น
การมีส่วนร่ วมของผูเ้ รี ยนซึ่ งครู ควรจัดกิจกรรมให้มีความหลายหลาย เช่น การจัดการ




4
เรี ยนการสอนโดยใช้ประเด็นเหตุการณ์หรื อปัญหาเป็ นฐานในการเรี ยนรู้ (Issue/Problem-
based Learning) การเรี ยนรู ้โดยผ่านการสนทนา (Dialogue-based Learning) ฯลฯ
             กิจสร้างสรรค์ประโยชน์ (Creativity, Action, Service)เป็ นกิจกรรมที่มี
             วัตถุประสงค์เพื่อมุ่งพัฒนาผูเ้ รี ยนได้พฒนาตนเองตามศักยภาพอย่างรอบด้าน
                                                     ั
             เป็ นกิจกรรมที่มีวตถุประสงค์เพื่อปลูกฝังและสร้างจิตสานึกของการทา
                                 ั
ประโยชน์เพื่อสังคม สามารถจัดการตนเองได้และอยูร่วมกับผูอื่นได้อย่างมี เป็ นการจัด
                                                         ่      ้
กิจกรรมที่ให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้สร้างสรรค์โครงงานและปฏิบติจริ ง 3 กิจกรรมหลัก ๆ ที่
                                                             ั
12




ประกอบไปด้วย การสร้างสรรค์โครงงาน ( Creativity ) โดยใช้ความรู้จากสาระการ
เรี ยนรู ้พ้ืนฐาน การปฏิบติกิจกรรมตามโครงงานที่สร้างขึ้น ( Action ) และเข้าร่ วม
                         ั
กิจกรรรมโครงงานสาธารณะประโยชน์ ( Service )



ก      ารจัดการเรี ยนการสอนสาระที่เป็ นสากล 4 สาระ ได้แก่
       ทฤษฎีความรู้ (Theory of Knowledge : TOK) ความเรี ยงขั้นนสู ง (Extended-
Essay) กิจกรรมสร้างสรรค์ (CAS:Creativity, Action,Service) โลกศึกษา(Global
Education) จะช่วยให้การสะท้อนภาพความสาเร็ จที่ชดเจนทั้งความรู ้ความสามารถตาม
                                                ั
สมมรรถนะทั้ง 5 ของหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขันพื้นฐานและศักยภาพความเป็ นพล
โลกของโรงเรี ยนมาตรฐานสากล แนวทางการพัฒนาหลักสู ตรสถานศึกษาโรงเรี ยนจึง
ควรพิจารณา ดาเนินการดังนี้
1. โรงเรียนมาตรฐานสากลในระดับประถมศึกษา                   ควรจัดสาระสากลใน
ลักษณะของการบูรณาการเป็ นหน่วยการเรี ยนรู ้ในสาระพื้นฐาน หรื ออาจจะจัดเป็ น
เพิมเติมในบางสาระ โดยมีแนวดาเนินการดังนี้
   ่
                                                                             ่
       1.1 ทฤษฎีความรู้ (Theory of Knowledge) ควรจัดเป็ นหน่วยบูรณาการอยูในสาระ
       พื้นฐานทั้ง 8 สาระในชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4 - 6
      1.2 การเขียนความเรี ยงชั้นสู ง ( Extended-Essay ) ควรจัดเป็ นหน่วยบูรณาการอยู่
      ในสาระพื้นฐานภาษาไทย หรื อเป็ นสาระเพิ่มเติม ในชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4 - 6
      อย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้
                                                                      ่
      1.3 โลกศึกษา ( Global Education ) ควรเป็ นหน่วยบูรณาการอยูในสาระพื้นฐาน
      ทั้ง 8 สาระในชั้นปฐมวัย ประถมศึกษาปี ที่ 1 - 6
      1.4 กิจสร้างสรรค์ประโยชน์ (Creativity, Action, Service)ควรจัดเป็ นหน่วย
                   ่
      กิจกรรมอยูในกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน ในชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 - 6
13



            ึ
ระด ับประถมศกษา

                      ทฤษฎีความรู้        การเขียนความ         โลกศึกษา      กิจสร้ างสรรค์
                       (Theory of           เรียงชั้นสู ง (Global Education) ประโยชน์
   สาระพืนฐาน
          ้           Knowledge)       ( Extended-Essay )                    (Creativity, Action,
   8 กลุ่มสาระ                                                               Service )
    การเรียนรู้    หน่ วย     เพิมเติม หน่ วย เพิมเติม หน่ วย เพิมเติม หน่ วย เพิมเติม
                                 ่                    ่                 ่                   ่
                   การ                 การ                 การ               กิจกรรม
                   เรียนรู้            เรียนรู้            เรียนรู้
ภาษาไทย                         -        -                           -         -          -
คณิ ตศาสตร์                     -        -       -                    -         -          -
วิทยาศาสตร์                     -        -       -                    -         -          -
สังคมศึกษาฯ /                   -        -       -                    -         -          -
ประวัติศาสตร์
สุ ขศึกษาและ                    -        -         -                  -         -          -
พลศึกษา
ศิลปะ                           -        -         -                  -         -          -
การงานอาชีพและ                  -        -         -                   -         -          -
เทคโนโลยี
ภาษาอังกฤษ                      -        -                            -         -          -
กิจกรรมพัฒนา
ผูเ้ รี ยน
- กิจกรรมชุมนุม/       -         -        -         -         -         -                   -
ชมรม
- กิจกรรมเพื่อ         -         -        -         -         -         -                   -
สังคมและ
สาธารณประโยชน์
14




   2. โรงเรียนมาตรฐานสากลในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
   ควรจัดสาระสากลในลักษณะของการบูรณาการเป็ นหน่วยการเรี ยนรู ้ในสาระพื้นฐาน
   หรื ออาจจะจัดเป็ นเพิ่มเติมในบางสาระ โดยมีแนวดาเนินการดังนี้
       1.1 ทฤษฎีความรู้ (Theory of Knowledge) ควรจัดเป็ นหน่วยบูรณาการอยูในสาระ่
       พื้นฐานทั้ง 8 สาระในชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1-3
       1.2 การเขียนความเรี ยงชั้นสู ง ( Extended-Essay ) ควรจัดเป็ นหน่วยบูรณาการอยู่
       ในสาระพื้นฐานภาษาไทย ภาษาอังกฤษ หรื อเป็ นสาระเพิ่มเติม ในชั้นมัธยมศึกษา
       ปี ที่ 1 - 3 อย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้
                                                                      ่
       1.3 โลกศึกษา ( Global Education ) ควรเป็ นหน่วยบูรณาการอยูในสาระพื้นฐาน
       ทั้ง 8 สาระ หรื อ เป็ นสาระเพิ่มเติมในสาระสังคมหรื อสาระอื่นๆ ในชั้นมัธยมศึกษา
       ปี ที่ 1 - 3 อย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้
       1.4 กิจสร้างสรรค์ประโยชน์(Creativity, Action, Service) ควรจัดเป็ นหน่วย
               ่
กิจกรรมอยูในกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน หรื อเป็ นสาระเพิ่มเติม ในชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 - 3
อย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้
15




           ึ
ระดับมัธยมศกษาตอนต ้น

                      ทฤษฎีความรู้        การเขียนความ         โลกศึกษา      กิจสร้ างสรรค์
                       (Theory of           เรียงชั้นสู ง (Global Education) ประโยชน์
   สาระพืนฐาน
          ้           Knowledge)       ( Extended-Essay )                    (Creativity, Action,
   8 กลุ่มสาระ                                                               Service )
    การเรียนรู้    หน่ วย     เพิมเติม หน่ วย เพิมเติม หน่ วย เพิมเติม หน่ วย เพิมเติม
                                 ่                    ่                 ่                   ่
                   การ                 การ                 การ               กิจกรรม
                   เรียนรู้            เรียนรู้            เรียนรู้
ภาษาไทย                         -        -                          -          -          -
คณิ ตศาสตร์                     -        -       -                   -          -          -
วิทยาศาสตร์                     -        -       -                   -          -          -
สังคมศึกษาฯ /                   -        -       -                             -          -
ประวัติศาสตร์
สุ ขศึกษาและ                    -        -         -                  -         -          -
พลศึกษา
ศิลปะ                           -        -         -                  -         -          -
การงานอาชีพและ                  -        -         -                   -         -          -
เทคโนโลยี
ภาษาอังกฤษ                      -        -                            -         -          -
กิจกรรมพัฒนา
ผูเ้ รี ยน
- กิจกรรมชุมนุม/       -         -        -         -         -         -                   -
ชมรม
- กิจกรรมเพื่อ         -         -        -         -         -         -                   -
สังคมและ
สาธารณประโยชน์
16




3. โรงเรียนมาตรฐานสากลในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ควรจัดสาระสากลในลักษณะของการบูรณาการเป็ นหน่วยการเรี ยนรู ้ในสาระพื้นฐาน
หรื ออาจจะจัดเป็ นเพิ่มเติมในบางสาระ โดยมีแนวดาเนินการดังนี้
    1.1 ทฤษฎีความรู้ (Theory of Knowledge) ควรจัดเป็ นหน่วยบูรณาการอยูในสาระ่
    พื้นฐานทั้ง 8 สาระ หรื ออาจจะจัดเป็ นเพิ่มเติมในบางสาระในชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4-
    6
    1.2 การเขียนความเรี ยงชั้นสู ง ( Extended-Essay ) ควรจัดเป็ นหน่วยบูรณาการอยู่
    ในสาระพื้นฐานภาษาไทย ภาษาอังกฤษ หรื อเป็ นสาระเพิ่มเติม ในชั้นมัธยมศึกษา
    ปี ที่ 4-6 อย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้
                                                                    ่
    1.3 โลกศึกษา ( Global Education ) ควรเป็ นหน่วยบูรณาการอยูในสาระพื้นฐาน
    ทั้ง 8 สาระ หรื อ เป็ นสาระเพิ่มเติมในสาระสังคมหรื อสาระอื่นๆ ในชั้นมัธยมศึกษา
    ปี ที่ 4-6 อย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้
    1.4 กิจสร้างสรรค์ประโยชน์(Creativity, Action, Service) ควรจัดเป็ นหน่วย
                 ่
    กิจกรรมอยูในกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน หรื อเป็ นสาระเพิมเติม ในชั้นมัธยมศึกษาปี ที่
                                                        ่
    4-6 อย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้
17



           ึ
ระดับมัธยมศกษาตอนปลาย

                      ทฤษฎีความรู้        การเขียนความ         โลกศึกษา      กิจกรรมสร้ างสรรค์
                       (Theory of           เรียงชั้นสู ง (Global Education)     ประโยชน์
   สาระพืนฐาน
          ้           Knowledge)       ( Extended-Essay )                    (Creativity, Action,
   8 กลุ่มสาระ                                                                    Service )
    การเรียนรู้    หน่ วย     เพิมเติม หน่ วย เพิมเติม หน่ วย เพิมเติม หน่ วย เพิมเติม
                                 ่                    ่                 ่                  ่
                   การ                 การ                 การ               กิจกรรม
                   เรียนรู้            เรียนรู้            เรียนรู้
ภาษาไทย                                 -                          -          -      
คณิ ตศาสตร์                             -       -                   -          -      
วิทยาศาสตร์                             -       -                   -          -      
สังคมศึกษาฯ /                           -       -                             -      
ประวัติศาสตร์
สุ ขศึกษาและ                            -         -                  -         -      
พลศึกษา
ศิลปะ                                   -         -                  -         -      
การงานอาชีพและ                          -         -                   -         -      
เทคโนโลยี
ภาษาอังกฤษ                              -                            -         -      
กิจกรรมพัฒนา
ผูเ้ รี ยน
- กิจกรรมชุมนุม/       -         -        -         -         -         -                   -
ชมรม
- กิจกรรมเพื่อ         -         -        -         -         -         -                   -
สังคมและ
สาธารณประโยชน์

More Related Content

What's hot

Ptกระบวนการเรียนรู้ 5 steps (ใหม่)
Ptกระบวนการเรียนรู้ 5 steps (ใหม่)Ptกระบวนการเรียนรู้ 5 steps (ใหม่)
Ptกระบวนการเรียนรู้ 5 steps (ใหม่)lovegussen
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21Anucha Somabut
 
Ict literacy
Ict literacyIct literacy
Ict literacyBodaidog
 
ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน
ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน
ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน Orange Wongwaiwit
 
1การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
1การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 211การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
1การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21krupornpana55
 
บทบาทครูในยุคดิจิตอล
บทบาทครูในยุคดิจิตอลบทบาทครูในยุคดิจิตอล
บทบาทครูในยุคดิจิตอลDuangnapa Inyayot
 
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21nanza
 
แนวทางการดำแนินงานด้านการเรียนการสอนศตวรรษที่ 21 สนง ประกันคูณภาพการศึกษา
แนวทางการดำแนินงานด้านการเรียนการสอนศตวรรษที่ 21 สนง ประกันคูณภาพการศึกษาแนวทางการดำแนินงานด้านการเรียนการสอนศตวรรษที่ 21 สนง ประกันคูณภาพการศึกษา
แนวทางการดำแนินงานด้านการเรียนการสอนศตวรรษที่ 21 สนง ประกันคูณภาพการศึกษาSakaeoPlan
 
Social media in the classroom: Why and how to use it
Social media in the classroom: Why and how to use itSocial media in the classroom: Why and how to use it
Social media in the classroom: Why and how to use itAnucha Somabut
 
ชุมชนการเรียนรู้ออนไลน์ เพื่อพัฒนาวิชาชีพครู
ชุมชนการเรียนรู้ออนไลน์ เพื่อพัฒนาวิชาชีพครูชุมชนการเรียนรู้ออนไลน์ เพื่อพัฒนาวิชาชีพครู
ชุมชนการเรียนรู้ออนไลน์ เพื่อพัฒนาวิชาชีพครูDuangnapa Inyayot
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21Teacher Sophonnawit
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21Kobwit Piriyawat
 

What's hot (16)

Ptกระบวนการเรียนรู้ 5 steps (ใหม่)
Ptกระบวนการเรียนรู้ 5 steps (ใหม่)Ptกระบวนการเรียนรู้ 5 steps (ใหม่)
Ptกระบวนการเรียนรู้ 5 steps (ใหม่)
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
 
Ict literacy
Ict literacyIct literacy
Ict literacy
 
ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน
ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน
ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน
 
1การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
1การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 211การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
1การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
 
บทบาทครูในยุคดิจิตอล
บทบาทครูในยุคดิจิตอลบทบาทครูในยุคดิจิตอล
บทบาทครูในยุคดิจิตอล
 
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
แนวทางการดำแนินงานด้านการเรียนการสอนศตวรรษที่ 21 สนง ประกันคูณภาพการศึกษา
แนวทางการดำแนินงานด้านการเรียนการสอนศตวรรษที่ 21 สนง ประกันคูณภาพการศึกษาแนวทางการดำแนินงานด้านการเรียนการสอนศตวรรษที่ 21 สนง ประกันคูณภาพการศึกษา
แนวทางการดำแนินงานด้านการเรียนการสอนศตวรรษที่ 21 สนง ประกันคูณภาพการศึกษา
 
Lectures 14 2.2
Lectures 14 2.2Lectures 14 2.2
Lectures 14 2.2
 
B2
B2B2
B2
 
Social media in the classroom: Why and how to use it
Social media in the classroom: Why and how to use itSocial media in the classroom: Why and how to use it
Social media in the classroom: Why and how to use it
 
ชุมชนการเรียนรู้ออนไลน์ เพื่อพัฒนาวิชาชีพครู
ชุมชนการเรียนรู้ออนไลน์ เพื่อพัฒนาวิชาชีพครูชุมชนการเรียนรู้ออนไลน์ เพื่อพัฒนาวิชาชีพครู
ชุมชนการเรียนรู้ออนไลน์ เพื่อพัฒนาวิชาชีพครู
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
 

Similar to แนวทาง Tok

ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 docหลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 dockrupornpana55
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนNattayaporn Dokbua
 
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอนการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอนTeacher Sophonnawit
 
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดแบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดKrupol Phato
 
วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์nang_phy29
 
Thinking and doing school
Thinking and doing schoolThinking and doing school
Thinking and doing schoolWC Triumph
 
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูรหลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูรRayoon Singchlad
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...Sawittri Phaisal
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ05102500
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ05102500
 
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่วิจัยบทที่
วิจัยบทที่Natmol Thedsanabun
 
วิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตรวิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตรnakkee
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนnang_phy29
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือwatdang
 

Similar to แนวทาง Tok (20)

ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายวิชาการศึกษา (เก่าแล้วใช้ได้บา...
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 docหลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
 
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอนการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
 
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดแบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
 
วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
Thinking and doing school
Thinking and doing schoolThinking and doing school
Thinking and doing school
 
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูรหลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
หลักสูตรศิลปะมัธยม อ.ระยูร
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่วิจัยบทที่
วิจัยบทที่
 
วิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตรวิสัยทัศน์ของหลักสูตร
วิสัยทัศน์ของหลักสูตร
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
 

More from อัครเดช โพธิญาณ์

เอกสารแบบรางาน โครงงานบทที่ 2 ม.ปลาย
เอกสารแบบรางาน โครงงานบทที่ 2 ม.ปลายเอกสารแบบรางาน โครงงานบทที่ 2 ม.ปลาย
เอกสารแบบรางาน โครงงานบทที่ 2 ม.ปลายอัครเดช โพธิญาณ์
 
เอกสารประการเรียนรู้ รายวิชา ง20202 ทฤษฎีความรู้
เอกสารประการเรียนรู้ รายวิชา ง20202 ทฤษฎีความรู้เอกสารประการเรียนรู้ รายวิชา ง20202 ทฤษฎีความรู้
เอกสารประการเรียนรู้ รายวิชา ง20202 ทฤษฎีความรู้อัครเดช โพธิญาณ์
 

More from อัครเดช โพธิญาณ์ (20)

หน่วยที่ 1 การสืบค้นข้อมูล
หน่วยที่ 1 การสืบค้นข้อมูล หน่วยที่ 1 การสืบค้นข้อมูล
หน่วยที่ 1 การสืบค้นข้อมูล
 
ประมวลการสอน
ประมวลการสอนประมวลการสอน
ประมวลการสอน
 
Test
TestTest
Test
 
chapter 3 คำสั่งควบคุม
chapter 3 คำสั่งควบคุมchapter 3 คำสั่งควบคุม
chapter 3 คำสั่งควบคุม
 
บทที่ 3 คำสั่งควบคุม ส่วนที่ 1
บทที่ 3 คำสั่งควบคุม ส่วนที่ 1บทที่ 3 คำสั่งควบคุม ส่วนที่ 1
บทที่ 3 คำสั่งควบคุม ส่วนที่ 1
 
Facebook
FacebookFacebook
Facebook
 
Cchapter 1
Cchapter 1 Cchapter 1
Cchapter 1
 
เอกสารแบบรางาน โครงงานบทที่ 2 ม.ปลาย
เอกสารแบบรางาน โครงงานบทที่ 2 ม.ปลายเอกสารแบบรางาน โครงงานบทที่ 2 ม.ปลาย
เอกสารแบบรางาน โครงงานบทที่ 2 ม.ปลาย
 
11 biodata
11 biodata11 biodata
11 biodata
 
10 bibliography
10 bibliography10 bibliography
10 bibliography
 
8 chapter4
8 chapter48 chapter4
8 chapter4
 
7 chapter3
7 chapter37 chapter3
7 chapter3
 
5 chapter1
5 chapter15 chapter1
5 chapter1
 
4 content
4 content4 content
4 content
 
12 kumnum
12 kumnum12 kumnum
12 kumnum
 
3 abstract
3 abstract3 abstract
3 abstract
 
เอกสารประการเรียนรู้ รายวิชา ง20202 ทฤษฎีความรู้
เอกสารประการเรียนรู้ รายวิชา ง20202 ทฤษฎีความรู้เอกสารประการเรียนรู้ รายวิชา ง20202 ทฤษฎีความรู้
เอกสารประการเรียนรู้ รายวิชา ง20202 ทฤษฎีความรู้
 
Tok
TokTok
Tok
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
1 titlepage
1 titlepage1 titlepage
1 titlepage
 

แนวทาง Tok

  • 1. เอกสารสนับสนุนการดาเนินงาน แนวทางการจัดการเรียนรู ้ ในโรงเรียนมาตรฐานสากล ึ สาน ักบริหารงานการม ัธยมศกษาตอนปลาย ึ ั้ ้ สาน ักงานคณะกรรมการการศกษาขนพืนฐาน
  • 2. 2 การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรี ยนมาตรฐานสากล ( World class standard school) หมายถึง โรงเรี ยนที่จดการเรี ยนการสอนมุ่งให้ผเู ้ รี ยนมีคุณลักษณะพึงประสงค์ ั (Learner Profile) เทียบเคียงมาตรฐานสากล (World class standard) ผูเ้ รี ยนมี ศักยภาพ เป็ นพลโลก (World citizen) เพื่อพัฒนายกระดับคุณภาพจัดการเรี ยน การสอนและการจัดการด้วยระบบคุณภาพ เพื่อให้ผเู้ รี ยนมีคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ของผูเ้ รี ยนเป็ นมาตรฐานสากล เป็ นการต่อยอดคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ที่เป็ นมาตรฐานชาติ (ตามที่โรงเรี ยนทุกโรงจะต้องดาเนินการ เพื่อ รองรับการประเมินคุณภาพการ จัดการศึกษาโดย สมศ. ตาม พ.ร.บ. การศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. 2542) โดยภาพรวมคุณลักษณะที่พึงประสงค์พ้นฐานของทั้งสอง ื มาตรฐานเหมือนกัน คือ การจัดการศึกษาให้คนในชาติเป็ น คน เก่ง คนดี และ มี ความสุ ข ตามปฏิญญาว่าด้วยการจัดการศึกษาของ UNESCO โดยในศตวรรษที่ 21 ทุกประเทศได้มีการพัฒนาและใช้หลักสู ตรการศึกษาที่มีเป้ าหมายให้ผเู้ รี ยน ได้ Learn to know , Learn to be , Learn to do, เพื่อให้มีคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ในฐานะพลเมืองของชาติ และ Learn to live together เพื่อสร้าง คุณลักษณะที่พึงประสงค์ในฐานะพลโลก ( มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของคน ไทยที่พึงประสงค์ท้ งในฐานะพลเมืองและพลโลก) ั จากข้อค้นพบในการศึกษาวิจยและติดตามผลการใช้หลักสู ตรการศึกษา ั ่ ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ที่ผานมา ประกอบกับข้อมูลจากแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 เกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาคนใน สังคมไทย และจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิ การในการพัฒนาเยาวชนสู่ ศตวรรษ ที่ 21จึงเกิดการทบทวนหลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 เพื่อ นาไปสู่ การพัฒนาหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่ มีความเหมาะสมชัดเจน ทั้งเป้ าหมายของหลักสู ตรในการพัฒนาคุณภาพผูเ้ รี ยน ทักษะกระบวนการนาหลักสู ตรไปสู่ การปฏิบติในระดับเขตพื้นที่การศึกษาและ ั สถานศึกษา โดยได้มีการกาหนดวิสัยทัศน์ จุดหมาย สมรรถนะสาคัญของ ผูเ้ รี ยน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรี ยนรู ้และตัวชี้วดที่ชดเจน เพื่อ ั ั ใช้เป็ นทิศทางในการจัดทาหลักสู ตร การเรี ยนการสอนในแต่ละระดับ
  • 3. 3 นอกจากนั้นได้กาหนดโครงสร้างเวลาเรี ยนขั้นต่าของแต่ละกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ในแต่ละชั้นปี ไว้ในหลักสู ตรแกนกลาง และเปิ ดโอกาสให้สถานศึกษาเพิ่มเติม เวลาเรี ยนได้ตามความพร้อมและจุดเน้น อีกทั้งได้ปรับกระบวนการวัดและ ประเมินผลผูเ้ รี ยน เกณฑ์การจบการศึกษาแต่ละระดับ และเอกสารแสดง หลักฐานทางการศึกษาให้มีความสอดคล้องกับมาตรฐานการเรี ยนรู ้ และมีความ ชัดเจนต่อการนาไปปฏิบติ ั โรงเรี ยนมาตรฐานสากลมีวตถุประสงค์ที่สาคัญคือการพัฒนาผูเ้ รี ยนให้มี ั ศักยภาพเป็ นพลโลกโดยมุ่งหวังที่จะให้โรงเรี ยนได้พฒนาต่อยอดคุณลักษณะ ั ของผูเ้ รี ยนตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน การพัฒนาผูเ้ รี ยนมุ่ง ให้มีพ้ืนฐานจิตใจที่ดีงาม มีจิตสาธารณะ มีสมรรถนะ ทักษะและความรู ้ พื้นฐาน ที่จาเป็ นในการดารงชีวต การพัฒนาเยาวชนของชาติเข้าสู่ โลกยุคศตวรรษที่ 21 ิ โดยมุ่งส่ งเสริ มผูเ้ รี ยนมีคุณธรรม รักความเป็ นไทย ให้มีทกษะการคิดวิเคราะห์ ั สร้างสรรค์ มีทกษะด้านเทคโนโลยี สามารถทางานร่ วมกับผูอื่น และสามารถอยู่ ั ้ ร่ วมกับผูอื่นในสังคมโลกได้อย่างสันติอนจะส่ งผลต่อการพัฒนาประเทศแบบ ้ ั ยังยืน ่ Inventive Thinking การคิดประดิษฐ์ Digital-Age -สร ้าง Literacy High Productivity รู ้ภาษายุคดิจตัล ิ มีผลิตภาพสูง Effective Communication ่ สือสารมี ประสิทธิผล การเรียนรู ้ ในศตวรรษที่ 21 Academic Achievements
  • 4. 4 รู ้ภาษายุคดิจตล (Digital-Age Literacy) ิ ั พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ เทคโนโลยี รู้ภาษาข้อมูล และทัศนภาพ (Visual & Information Literacies รู้พหุวฒนธรรมและมีความตระหนักสานึก ั ระดับโลก (Multicultural Literacy & Global Awareness) การคิดประดิษฐ์-สร ้าง (Inventive Thinking) ปรับตัว-นาตน จัดการกับความซับซ้อน ใฝ่ รู ้ สร้างสรรค์ กล้าเสี่ ยง คิดได้ใน ระดับสู งและมีเหตุมีผล มีผลิตภาพสูง (High Productivity) จัดลาดับความสาคัญ วางแผน และบริ หาร จัดการมุ่งผลสาเร็ จ ใช้เครื่ องมืออย่าง มีประสิ ทธิ ผลในโลกแห่ง ความเป็ นจริ งสามารถผลิตผลงานที่เหมาะสม มีคุณภาพสู ง ื่ ิ สอสารมีประสทธิผล (Effective Communication) ทักษะทีม การร่ วมมือและสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และส่ วนรวม การสื่ อสารเชิงปฏิสัมพันธ์ โดย หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานได้กาหนดสมรรถนะสาคัญ 1 5 ประการ ดังนี้ ื่ ความสามารถในการสอสาร เป็ นความสามารถในการรับและส่ งสาร มีวฒนธรรมในการใช้ภาษา ั ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเอง เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์อนจะเป็ นประโยชน์ต่อ ั การพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปั ญหาความ ขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรื อไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความ 2 ถูกต้องตลอดจนการเลือกใช้วธีการสื่ อสาร ที่มีประสิ ทธิภาพโดยคานึงถึง ิ ผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม ความสามารถในการคิด เป็ นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวจารณญาณ และการคิดเป็ นระบบ เพื่อ ิ นาไปสู่ การสร้างองค์ความรู ้หรื อสารสนเทศเพื่อการตัดสิ นใจเกี่ยวกับ ตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม
  • 5. 5 3 ความสามารถในการแก ้ปั ญหา เป็ นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรค ต่าง ๆ ที่เผชิญได้ อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูล สารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู ้มาใช้ในการป้ องกันและแก้ไข 4 ปัญหา และมีการตัดสิ นใจที่มีประสิ ทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบ ที่เกิดขึ้นต่อ ตนเอง สังคมและสิ่ งแวดล้อม ้ ี ิ ความสามารถในการใชทักษะชวต เป็ นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการดาเนิน ชีวตประจาวัน การเรี ยนรู้ดวยตนเอง การเรี ยนรู ้อย่างต่อเนื่อง การ ิ ้ ทางาน และการอยูร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริ มความสัมพันธ์ ่ อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปั ญหาและความขัดแย้งต่าง ๆอย่างเหมาะสม 5 การปรับตัวให้ทนกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการ ั รู ้จกหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผูอื่น ั ึ ้ ้ ความสามารถในการใชเทคโนโลยี เป็ นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีดานต่าง ๆและมี ้ ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ใน ด้านการเรี ยนรู้ การสื่ อสารการทางาน การแก้ปัญหา อย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน มุ่งพัฒนาผูเ้ รี ยนให้มี ้ ้ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพือให้สามารถอยู่ร่วมกับผูอืนในสังคมได้ ่ ้่ อย่างมี ความสุข ในฐานะเป็ นพลเมื องไทยและพลโลกซึ่งเมื ่อพิจารณา คุณลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะสาคัญของผูเ้ รี ยน คุณลักษณะ ของผูเ้ รี ยนในศตวรรษ 21 และคุณภาพผูเ้ รี ยนในโรงเรี ยน มาตรฐานสากลมี ความสัมพันธ์ สอดคล้องและส่งเสริ มต่อยอดผูเ้ รี ยนให้ มี ศกยภาพเป็ นพลโลก ั
  • 6. 6 คุณลักษณะอัน สมรรถนะสาคัญ คุณลักษณะผู้เรียน คุณภาพผู้เรียน พึงประสงค์ ของผู้เรียน ในศตวรรษ 21 โรงเรียนมาตรฐานสากล 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ 1. ความสามารถ 1.ใฝ่ รู้ใฝ่ เรี ยน 1. เป็ นเลิศวิชาการ 2. ซื่อสัตย์สุจริ ต ในการสื่ อสาร 2.มีภูมิรู้ 2. สื่ อสาร 2 ภาษา 3. มีวนย ิ ั 2. ความสามารถ 3.รู้จกใช้วจารณญาณ ั ิ 3. ล้ าหน้าความคิด 4. ผลิตงานอย่าง 4. ใฝ่ เรี ยนรู้ ในการคิด 4.เป็ นนักคิด สร้างสรรค์ ่ 5. อยูอย่างพอเพียง 3. ความสามารถ 5. สามารถสื่ อสารได้ 5. ร่ วมกันรับผิดชอบต่อ 6. มุ่งมันในการทางาน ่ ในการแก้ปัญหา 6.มีระเบียบวินย ั สังคมโลก 7. รักความเป็ นไทย 4. ความสามารถ 7.ใจกว้าง 8. มีจิตสาธารณะ ในการใช้ทกษะชีวต ั ิ 8. รอบคอบ 5. ความสามารถ 9. กล้าตัดสิ นใจ ก ในการใช้เทคโนโลยี 10. ยุติธรรม ารพัฒนาหลักสู ตรสถานศึกษาในโรงเรี ยนมาตรฐานสากลยัง ยึดหลักการ และแนวคิดหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาทุกประการคือ ให้ผเู้ รี ยนได้เรี ยน กลุ่มสาระพื้นฐาน 8 กลุ่มสาระ เรี ยนสาระเพิ่มเติมและกิจกรรมพัฒนา ผูเ้ รี ยน ดังเช่นที่ได้ถือปฏิบติอยู่ โรงเรี ยนจึงควรใช้กระบวนการพัฒนาหลักสู ตร ั สถานศึกษาในการจัดการเรี ยนการสอนโดยคานึงถึงสภาพความพร้อม จุดเน้น ของ โรงเรี ยน การจัดการเรี ยนการสอนสาระที่เป็ นสากล จึงสามารถจัดได้ท้ งเป็ นหน่วยการ ั เรี ยนรู ้ในรายวิชาพื้นฐานทั้ง 8 สาระ เช่น ทฤษฎีความรู้ (Theory of Knowledge : TOK) ความเรี ยงชั้นสู ง (Extended- Essay) โลกศึกษา(Global Education) สาหรับกิจกรรม สร้างสรรค์ (CAS:Creativity, Action,Service) สามารถนาไปในการจัดกิจกรรมพัฒนา ผูเ้ รี ยน ในส่ วนของ ชุมนุม ชมรม หรื อ กิจกรรมเพื่อสังคมและสารธารณะประโยชน์ได้ เรี ยนรู ้ภาษาต่างประเทศที่ 2 อีกหนึ่งภาษาสาหรับมัธยมศึกษาตอนปลาย
  • 7. 7 ลอดจนการปรับเปลี่ยนวิธีการวัดและประเมินผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนโดย ให้ผเู้ รี ยน สร้างสรรค์ผลงานนาเสนอผลงานทั้งเป็ นเอกสารและปากเปล่า (Oral Presentation) ซึ่งการหมายถึงการให้ผเู้ รี ยนเจ้าของผลงานนาเสนอ ผลงานเอกสารเขียนโดยไม่อนุญาตให้นาเสนอโดยการอ่าน ไม่ใช่การสอบสัมภาษณ์ (Interview) เพื่อสะท้อนผลการจัดการเรี ยนรู ้ที่ส่งผลต่อนคุณภาพของผูเ้ รี ยนที่มีศกยภาพ ั เป็ นพลโลกตามตามเจตนารมณ์และวัตถุประสงค์ของโรงเรี ยนมาตรฐานสากลดังแผนภูมิ ต่อไปนี้ - ทฤษฎีความรู ้ - ภาษาไทย ้ - ความเรียงชันสูง - ภาษาอังกฤษ - คณิตศาสตร์ - กิจกรรมสร ้างสรรค์ - วิทยาศาสตร์ ประโยชน์ - สังคมศึกษา / ศาสนา/ -โลกศึกษา วัฒนธรรม/ประวัตศาสตร์ ิ - สุขศึกษาและพลศึกษา - ศิลปะ - การงานอาชีพและเทคโนโลยี ้ ใชเทคโนโลยีเป็ น ื่ สอสารเป็ น คิดเป็ น แก ้ปั ญหาเป็ น ้ ใชทักษะชวต ี ิ เป็ นเลิศวิชาการ ื่ สอสารสองภาษา ล้าหน ้าทางความคิด ผลิตงานอย่างสร ้างสรรค์ ั ร่วมกันรับผิดชอบสงคมโลก
  • 8. 8 การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ึ โครงสร ้างหลักสูตรสถานศกษา ึ โครงสร ้างหลักสูตรสถานศกษา โรงเรียนทั่วไป โรงเรียนมาตรฐานสากล วิชาพืนฐาน 8 กลุมสาระการเรียนรู ้ ้ ่ วิชาพืนฐาน 8 กลุมสาระการเรียนรู ้ ้ ่ - ภาษาไทย - ภาษาไทย - ภาษาอังกฤษ - ภาษาอังกฤษ - คณิตศาสตร์ - คณิตศาสตร์ - วิทยาศาสตร์ - วิทยาศาสตร์ ั ึ - สงคมศกษา / ศาสนา/ ั ึ - สงคมศกษา / ศาสนา/ วัฒนธรรม/ประวัตศาสตร์ ิ วัฒนธรรม/ประวัตศาสตร์ ิ ึ - สุขศกษาและพลศกษา ึ ึ - สุขศกษาและพลศกษา ึ - ศ ิลปะการงานอาชพและ ี - ศ ิลปะ เทคโนโลยี ี - การงานอาชพและเทคโนโลยี + สาระเพิมเติมตามจุดเน ้น ่ สาระเพิมเติมตามจุดเน ้น ่ กิจกรรมพัฒนาผู ้เรียน กิจกรรมพัฒนาผู ้เรียน สาระสากล - TOK (Theory of Knowledge) - EE (Extended – Essay) - CAS (Creativity,Action,Service) - GE (Global Education) - ภาษาอังกฤษ - ภาษาต่างประเทศที่ 2
  • 9. 9 แนวทางในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การพัฒนาหลักสู ตรสถานศึกษาของโรงเรี ยนมาตรฐานสากล โรงเรี ยนจะต้องใช้ หลักการและแนวคิดหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาทุกประการ คือ ให้ผเู้ รี ยนได้ เรี ยนกลุ่มสาระพื้นฐาน 8 กลุ่มสาระ เรี ยนสาระเพิ่มเติมและกิจกรรมพัฒนา ผูเ้ รี ยน ดังเช่นที่ได้ถือปฏิบติอยู่ โดยโรงเรี ยนควรพิจารณาถึงความเหมาะสม ั สภาพความพร้อม และจุดเน้นของโรงเรี ยน การจัดให้มีการเรี ยนการสอนสาระที่ เป็ นสากล 4 สาระ ได้แก่ ทฤษฎีความรู้ (Theory of Knowledge : TOK) ความ เรี ยงชั้นสู ง (Extended- Essay) กิจกรรมสร้างสรรค์ (CAS:Creativity, Action,Service) โลกศึกษา(Global Education) และเน้นให้ผเู้ รี ยนได้เรี ยนรู้ ภาษาต่างประเทศที่ 2 อีกหนึ่งภาษา สาหรับมัธยมศึกษาตอนปลาย ซึ่งโรงเรี ยน สามารถพัฒนาหลักสู ตรโดยนาสาระสากลมาจัดลงในหลักสู ตรสถานศึกษาทั้ง ในเชิงบูรณาการเป็ นหน่วยการเรี ยนรู ้ในสาระพื้นฐานทั้ง 8 สาระ หรื อ จัดเป็ น 1 รายวิชาเพิ่มเติม ทั้งนี้โรงเรี ยนควรพิจารณาถึงความเหมาะสมของขอบข่ายสาระ การเรี ยนรู ้ของสาระสากลกับโครงสร้างของหลักสู ตรสถานศึกษา ทฤษฎีความรู้ (Theory of Knowledge) เป็ นสาระการสอนที่มี วัตถุประสงค์เพื่อปลูกฝังทักษะการค้นคว้าแสวงหาความรู ้เพิ่มเติมให้ ลึกซึ้ งในประเด็นความรู ้หรื อหัวข้อที่โรงเรี ยนกาหนดให้ผเู ้ รี ยนเลือก เป็ นการต่อยอดความรู ้จากการเรี ยนสาระการเรี ยนรู ้พ้ืนฐาน 8 สาระการเรี ยนรู้ ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ไม่ ใช่ การสอน เนือหาเพิ่มครู ผสอนจะไม่สอนสิ่ งที่เป็ นเนื้อหา แต่สอนกระบวนการค้นคว้าและ ้ ู้ สื บค้นความรู้ โดยผูเ้ รี ยนต้องค้นคว้าหาความรู ้เพื่อนามาแสดงให้เห็นว่า “เรา รู้ ได้อย่างไร : How do we know ? ”และครู ผสอนจะเป็ นผูช้ ีแนะชี้นาวิธีการ ู้ ้ แสวงหาความรู้ (Ways of Knowing ) การใช้ขอมูลเป็ นเหตุผล การใช้ขอมูล ้ ้ จากการค้นคว้าโต้แย้งด้วยความคิดสนับสนุนเห็นด้วยและความคิดขัดแย้งไม่เห็น ด้วยกับความคิดที่คนพบ ้
  • 10. 10 How do we know? (Ways of Knowing ) ขอบข่ายของความรู ้ Areas of Knowledge อารมณ์ วิถของการรู ้ ี Ways of Knowing การรับรู ้ ภาษา เหตุผล วิทยาศาสตร์เ้ ป็ นสหวิทยาการ ความรู ศิลปะ ประวัติศาสตร์ Interdisciplinary Course ธรรมชาติ มนุษยศาสตร์ จริยศาสตร์ มุงพัฒนาทักษะ การคิดวิเคราะห์วจารณ์ Critical Thinking ่ ิ ่ สงเสริมการเรียนรู ้ว่าด ้วย ธรรมชาติและขอบข่ายของความรู ้ วิพากษ์ และ ประเมินขอบข่ายขององค์ความรู ้สาขาต่างๆวิเคราะห์ แยกแยะ ประเมิน ื่ ่ ี ่ ั ความน่าเชอถือของแหล่งความรู ้ ระบุบทบาทของความรู ้ทีมตอสงคม โลก อธิบาย ทาความเข ้าใจถึงความจาเป็ นทีจะต ้องรับผิดชอบในโลก ่ โลกาภิวฒน์ ั
  • 11. 2 11 การเขียนความเรี ยงขั้นสู ง ( Extended-Essay ) เป็ นสาระที่มีวตถุประสงค์ ั เพื่อให้ผเู ้ รี ยนได้ฝึกฝนทักษะการค้นคว้าอย่างอิสระ( Independent Study/Research ) ในเรื่ องที่ตนสนใจ จากการเรี ยนเนื้อสาระในสาระการ 3 เรี ยนรู ้พ้ืนฐาน และเขียนรายงานสิ่ งที่คนพบจากการค้นคว้าเป็ นความเรี ยงเชิงวิชาการ ้ ตามแบบแผนการเขียนเชิงวิชาการ มีองค์ประกอบต่างๆตามที่กาหนดครบถ้วน โลกศึกษา ( Global Education )เป็ นสาระการเรี ยนรู ้ที่มุ่งให้ผเู ้ รี ยนมีความรู ้ ความเข้าใจในสถานการณ์ของโลก สามารถวิเคราะห์เหตุการณ์เป็ นและ สามารถมองเห็นช่องทางและวิธีการในการแก้ปัญหาอย่างชาญฉลาด โดย กาหนดให้ผเู ้ รี ยนรู ้จกวิเคราะห์เหตุการณ์ใน 8 มิติ ได้แก่ ั Global Citizenship Social justice Interdependence GLOBAL Diversity Human Rights DIMENSION Conflict Resolution Values &Perceptions Sustainable Development การเรี ยนโลกศึกษา ( Global Education ) ไม่ใช่การสอนเนื้อหาสาระ แต่หวังผล ให้ผเู้ รี ยน “ คิดเป็ น แก้ปัญหาเป็ น ” มีทกษะการคิดสร้างสรรค์ ( Creative Thinking ) ั และทักษะการคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ ( Critical Thinking ) การจัดการเรี ยนการสอนเน้น การมีส่วนร่ วมของผูเ้ รี ยนซึ่ งครู ควรจัดกิจกรรมให้มีความหลายหลาย เช่น การจัดการ 4 เรี ยนการสอนโดยใช้ประเด็นเหตุการณ์หรื อปัญหาเป็ นฐานในการเรี ยนรู้ (Issue/Problem- based Learning) การเรี ยนรู ้โดยผ่านการสนทนา (Dialogue-based Learning) ฯลฯ กิจสร้างสรรค์ประโยชน์ (Creativity, Action, Service)เป็ นกิจกรรมที่มี วัตถุประสงค์เพื่อมุ่งพัฒนาผูเ้ รี ยนได้พฒนาตนเองตามศักยภาพอย่างรอบด้าน ั เป็ นกิจกรรมที่มีวตถุประสงค์เพื่อปลูกฝังและสร้างจิตสานึกของการทา ั ประโยชน์เพื่อสังคม สามารถจัดการตนเองได้และอยูร่วมกับผูอื่นได้อย่างมี เป็ นการจัด ่ ้ กิจกรรมที่ให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้สร้างสรรค์โครงงานและปฏิบติจริ ง 3 กิจกรรมหลัก ๆ ที่ ั
  • 12. 12 ประกอบไปด้วย การสร้างสรรค์โครงงาน ( Creativity ) โดยใช้ความรู้จากสาระการ เรี ยนรู ้พ้ืนฐาน การปฏิบติกิจกรรมตามโครงงานที่สร้างขึ้น ( Action ) และเข้าร่ วม ั กิจกรรรมโครงงานสาธารณะประโยชน์ ( Service ) ก ารจัดการเรี ยนการสอนสาระที่เป็ นสากล 4 สาระ ได้แก่ ทฤษฎีความรู้ (Theory of Knowledge : TOK) ความเรี ยงขั้นนสู ง (Extended- Essay) กิจกรรมสร้างสรรค์ (CAS:Creativity, Action,Service) โลกศึกษา(Global Education) จะช่วยให้การสะท้อนภาพความสาเร็ จที่ชดเจนทั้งความรู ้ความสามารถตาม ั สมมรรถนะทั้ง 5 ของหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขันพื้นฐานและศักยภาพความเป็ นพล โลกของโรงเรี ยนมาตรฐานสากล แนวทางการพัฒนาหลักสู ตรสถานศึกษาโรงเรี ยนจึง ควรพิจารณา ดาเนินการดังนี้ 1. โรงเรียนมาตรฐานสากลในระดับประถมศึกษา ควรจัดสาระสากลใน ลักษณะของการบูรณาการเป็ นหน่วยการเรี ยนรู ้ในสาระพื้นฐาน หรื ออาจจะจัดเป็ น เพิมเติมในบางสาระ โดยมีแนวดาเนินการดังนี้ ่ ่ 1.1 ทฤษฎีความรู้ (Theory of Knowledge) ควรจัดเป็ นหน่วยบูรณาการอยูในสาระ พื้นฐานทั้ง 8 สาระในชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4 - 6 1.2 การเขียนความเรี ยงชั้นสู ง ( Extended-Essay ) ควรจัดเป็ นหน่วยบูรณาการอยู่ ในสาระพื้นฐานภาษาไทย หรื อเป็ นสาระเพิ่มเติม ในชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4 - 6 อย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ ่ 1.3 โลกศึกษา ( Global Education ) ควรเป็ นหน่วยบูรณาการอยูในสาระพื้นฐาน ทั้ง 8 สาระในชั้นปฐมวัย ประถมศึกษาปี ที่ 1 - 6 1.4 กิจสร้างสรรค์ประโยชน์ (Creativity, Action, Service)ควรจัดเป็ นหน่วย ่ กิจกรรมอยูในกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน ในชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 - 6
  • 13. 13 ึ ระด ับประถมศกษา ทฤษฎีความรู้ การเขียนความ โลกศึกษา กิจสร้ างสรรค์ (Theory of เรียงชั้นสู ง (Global Education) ประโยชน์ สาระพืนฐาน ้ Knowledge) ( Extended-Essay ) (Creativity, Action, 8 กลุ่มสาระ Service ) การเรียนรู้ หน่ วย เพิมเติม หน่ วย เพิมเติม หน่ วย เพิมเติม หน่ วย เพิมเติม ่ ่ ่ ่ การ การ การ กิจกรรม เรียนรู้ เรียนรู้ เรียนรู้ ภาษาไทย  - -   - - - คณิ ตศาสตร์  - - -  - - - วิทยาศาสตร์  - - -  - - - สังคมศึกษาฯ /  - - -  - - - ประวัติศาสตร์ สุ ขศึกษาและ  - - -  - - - พลศึกษา ศิลปะ  - - -  - - - การงานอาชีพและ  - - - - - - เทคโนโลยี ภาษาอังกฤษ  - -  - - - กิจกรรมพัฒนา ผูเ้ รี ยน - กิจกรรมชุมนุม/ - - - - - -  - ชมรม - กิจกรรมเพื่อ - - - - - -  - สังคมและ สาธารณประโยชน์
  • 14. 14 2. โรงเรียนมาตรฐานสากลในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ควรจัดสาระสากลในลักษณะของการบูรณาการเป็ นหน่วยการเรี ยนรู ้ในสาระพื้นฐาน หรื ออาจจะจัดเป็ นเพิ่มเติมในบางสาระ โดยมีแนวดาเนินการดังนี้ 1.1 ทฤษฎีความรู้ (Theory of Knowledge) ควรจัดเป็ นหน่วยบูรณาการอยูในสาระ่ พื้นฐานทั้ง 8 สาระในชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1-3 1.2 การเขียนความเรี ยงชั้นสู ง ( Extended-Essay ) ควรจัดเป็ นหน่วยบูรณาการอยู่ ในสาระพื้นฐานภาษาไทย ภาษาอังกฤษ หรื อเป็ นสาระเพิ่มเติม ในชั้นมัธยมศึกษา ปี ที่ 1 - 3 อย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ ่ 1.3 โลกศึกษา ( Global Education ) ควรเป็ นหน่วยบูรณาการอยูในสาระพื้นฐาน ทั้ง 8 สาระ หรื อ เป็ นสาระเพิ่มเติมในสาระสังคมหรื อสาระอื่นๆ ในชั้นมัธยมศึกษา ปี ที่ 1 - 3 อย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ 1.4 กิจสร้างสรรค์ประโยชน์(Creativity, Action, Service) ควรจัดเป็ นหน่วย ่ กิจกรรมอยูในกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน หรื อเป็ นสาระเพิ่มเติม ในชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 - 3 อย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้
  • 15. 15 ึ ระดับมัธยมศกษาตอนต ้น ทฤษฎีความรู้ การเขียนความ โลกศึกษา กิจสร้ างสรรค์ (Theory of เรียงชั้นสู ง (Global Education) ประโยชน์ สาระพืนฐาน ้ Knowledge) ( Extended-Essay ) (Creativity, Action, 8 กลุ่มสาระ Service ) การเรียนรู้ หน่ วย เพิมเติม หน่ วย เพิมเติม หน่ วย เพิมเติม หน่ วย เพิมเติม ่ ่ ่ ่ การ การ การ กิจกรรม เรียนรู้ เรียนรู้ เรียนรู้ ภาษาไทย  - -   - - - คณิ ตศาสตร์  - - -  - - - วิทยาศาสตร์  - - -  - - - สังคมศึกษาฯ /  - - -   - - ประวัติศาสตร์ สุ ขศึกษาและ  - - -  - - - พลศึกษา ศิลปะ  - - -  - - - การงานอาชีพและ  - - - - - - เทคโนโลยี ภาษาอังกฤษ  - -  - - - กิจกรรมพัฒนา ผูเ้ รี ยน - กิจกรรมชุมนุม/ - - - - - -  - ชมรม - กิจกรรมเพื่อ - - - - - -  - สังคมและ สาธารณประโยชน์
  • 16. 16 3. โรงเรียนมาตรฐานสากลในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ควรจัดสาระสากลในลักษณะของการบูรณาการเป็ นหน่วยการเรี ยนรู ้ในสาระพื้นฐาน หรื ออาจจะจัดเป็ นเพิ่มเติมในบางสาระ โดยมีแนวดาเนินการดังนี้ 1.1 ทฤษฎีความรู้ (Theory of Knowledge) ควรจัดเป็ นหน่วยบูรณาการอยูในสาระ่ พื้นฐานทั้ง 8 สาระ หรื ออาจจะจัดเป็ นเพิ่มเติมในบางสาระในชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4- 6 1.2 การเขียนความเรี ยงชั้นสู ง ( Extended-Essay ) ควรจัดเป็ นหน่วยบูรณาการอยู่ ในสาระพื้นฐานภาษาไทย ภาษาอังกฤษ หรื อเป็ นสาระเพิ่มเติม ในชั้นมัธยมศึกษา ปี ที่ 4-6 อย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ ่ 1.3 โลกศึกษา ( Global Education ) ควรเป็ นหน่วยบูรณาการอยูในสาระพื้นฐาน ทั้ง 8 สาระ หรื อ เป็ นสาระเพิ่มเติมในสาระสังคมหรื อสาระอื่นๆ ในชั้นมัธยมศึกษา ปี ที่ 4-6 อย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ 1.4 กิจสร้างสรรค์ประโยชน์(Creativity, Action, Service) ควรจัดเป็ นหน่วย ่ กิจกรรมอยูในกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน หรื อเป็ นสาระเพิมเติม ในชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ่ 4-6 อย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้
  • 17. 17 ึ ระดับมัธยมศกษาตอนปลาย ทฤษฎีความรู้ การเขียนความ โลกศึกษา กิจกรรมสร้ างสรรค์ (Theory of เรียงชั้นสู ง (Global Education) ประโยชน์ สาระพืนฐาน ้ Knowledge) ( Extended-Essay ) (Creativity, Action, 8 กลุ่มสาระ Service ) การเรียนรู้ หน่ วย เพิมเติม หน่ วย เพิมเติม หน่ วย เพิมเติม หน่ วย เพิมเติม ่ ่ ่ ่ การ การ การ กิจกรรม เรียนรู้ เรียนรู้ เรียนรู้ ภาษาไทย   -   - -  คณิ ตศาสตร์   - -  - -  วิทยาศาสตร์   - -  - -  สังคมศึกษาฯ /   - -   -  ประวัติศาสตร์ สุ ขศึกษาและ   - -  - -  พลศึกษา ศิลปะ   - -  - -  การงานอาชีพและ   - - - -  เทคโนโลยี ภาษาอังกฤษ   -  - -  กิจกรรมพัฒนา ผูเ้ รี ยน - กิจกรรมชุมนุม/ - - - - - -  - ชมรม - กิจกรรมเพื่อ - - - - - -  - สังคมและ สาธารณประโยชน์