SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
นวัตกรรมการศึกษา 7ประเภท หัวข้อที่ 7: การบริหารจัดการศึกษา
เจาะลึกหัวข้อที่ศึกษา เรื่อง โรงเรียนวิถีพุทธ
โรงเรียนวิถีพุทธ (Buddhis Oriented Schools) หมายถึงโรงเรียนในระบบปกติทุกระดับ
ภายใต้การกากับของกระทรวงศึกษาธิการที่เน้นการนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาตามหลักไตร
สิกขามาบูรณาการประยุกต์ใช้ในการบริหาร และการพัฒนาผู้เรียนในภาพรวมของสถานศึกษา
โดยเน้นกรอบการพัฒนาตามหลักไตรสิกขา
ผ่านกระบวนการทางวัฒนธรรม แสวงหาปัญญา และมีเมตตา เพื่อมุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้สอดคล้อง
กับจุดเน้นการพัฒนาของประเทศ
ปัจจุบัน (พ.ศ. 2557) มีโรงเรียนสมัครเข้าร่วมโครงการโรงเรียนวิถีพุทธ รวมทั้งสิ้น กว่า
20,000 โรงเรียน ทั้งระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษา กระจายอยู่ทั่วทุกภูมิภาคของประเทศ
ความเป็นมาโรงเรียนวิถีพุทธ
แนวคิดโรงเรียนวิถีพุทธสืบเนื่องจากที่กระทรวงศึกษาธิการจัดการประชุมเรื่อง
“หลักสูตรใหม่เด็กไทยพัฒนา” ขึ้นเมื่อวันที่ 25ธันวาคม พ.ศ.
2545 ที่ประชุมได้หารือถึงโรงเรียนที่จัดการศึกษาเพื่อสนองตอบความสามารถที่แตกต่างกันของบุค
คลเพื่อนาพาเด็กและเยาวชนไทยก้าวทันความเปลี่ยนแปลงของโลก
แนวการเรียนของสอนของโรงเรียนวิถีพุทธ
โรงเรียนวิถีพุทธจะมีแนวการเรียนการสอนระบบปกติทั่วไปที่นาหลักธรรมพระพุทธศาส
นามาใช้หรือประยุกต์ในการพัฒนาเด็กโดยเน้นกรอบการพัฒนาตามหลักไตรสิกขา (ศีล สมาธิ
ปัญญา) ซึ่งเป็นการฝึกหัดอบรม เพื่อพัฒนากาย ความประพฤติ จิตใจ และปัญญาอย่างบูรณาการ
ลักษณะของโรงเรียนวิถีพุทธ
โรงเรียนวิถีพุทธมีกระบวนการจัดการเรียนรู้ลักษณะ “สอนให้รู้ ทาให้ดู อยู่ให้เห็น”
การเรียนรู้ในชั้นเรียนจะเป็นลักษณะการบูรณาการพุทธธรรมในการเรียนรู้ ทั้งความรู้
กระบวนการฝึกปฏิบัติ และมีการวัดประเมินทุกหน่วยการเรียนรู้ โดยเฉพาะด้านคุณลักษณะนิสัย
ศรัทธา ค่านิยม และโดยลักษณะโรงเรียนวิถีพุทธ จะเน้นการจัดสภาพทุกๆ ด้าน
เพื่อสนับสนุนให้ผู้เรียนพัฒนาตามหลักพุทธธรรมอย่างบูรณาการ
ที่ส่งเสริมให้เกิดความเจริญงอกงามตามลักษณะแห่งปัญญาวุฒิธรรม 4ประการ คือ
1. สัปปุริสสังเสวะ หมายถึง การอยู่ใกล้คนดี ใกล้ผู้รู้
2. สัทธัมมัสสวนะ หมายถึง เอาใจใส่ศึกษา โดยมีหลักสูตรการเรียนการสอนที่ดี
3. โยนิโสมนสิการ หมายถึง มีกระบวนการคิดวิเคราะห์ พิจารณาเหตุผลที่ดีและถูกวิธี
4. ธัมมานุธัมปฏิปัตติ หมายถึง ความสามารถนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ถูก
กิจกรรมที่มุ่งเน้นในโรงเรียนวิถีพุทธ
โรงเรียนวิถีพุทธจะมีการจัดกิจกรรมหลากหลายและต่อเนื่องเป็นวิถีชีวิต เพื่อให้เด็กๆ
รู้จักคิดและได้ฝึกปฏิบัติเสมอๆ ให้เกิดการพัฒนาทั้งด้านความประพฤติ จิตใจ
และปัญญาไปพร้อมๆ กัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการกิน อยู่ดู ฟัง
ในชีวิตประจาวันที่มีสติสัมปชัญญะคอยกากับ เพื่อเป็นไปตามคุณค่าแท้ของการดาเนินชีวิต
ผ่านกิจกรรมต่างๆ เช่น สวดมนต์ก่อนและหลังเลิกเรียน นั่งสมาธิ
มีการเวียนเทียนในวันสาคัญทางพุทธศาสนา เข้าค่ายธรรมมะ ฯลฯ
สภาพแวดล้อมในโรงเรียนวิถีพุทธ
โรงเรียนวิถีพุทธจะมีหลักการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ตามหลักพุทธศาสนา โ
ดยมีบรรยากาศสงบเงียบ เรียบง่าย ร่มรื่น สะอาด มีระเบียบ ปลอดภัย
สื่อและอุปกรณ์การเรียนการสอนมีการปรับปรุงพัฒนาอยู่เสมอ
โรงเรียนวิถีพุทธจะมีลักษณะเกื้อกูลและใกล้ชิดกับชุมชน โดยโรงเรียนจะมีการร่วมมือกับบ้านวัด
และสถาบันต่างๆ
ในชุมชนที่จะพัฒนาทั้งนักเรียนและสังคมตามหลักธรรมในพุทธศาสนา เพื่อประโยชน์สุขร่วมกัน
และเด็กๆ ก็ได้เรียนรู้วัฒนธรรมไทยอีกด้วย
สิ่งที่เด็กได้รับจากการเรียนโรงเรียนวิถีพุทธ
โรงเรียนวิถีพุทธส่วนใหญ่ก็มีจุดมุ่งหมายสาคัญเพื่อพัฒนาเด็กๆ
ให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์แบบ
กิจกรรมการเรียนรู้ในโรงเรียนวิถีพุทธนั้นจะมุ่งเน้นให้เด็กเกิดพฤติกรรมที่มีเป้าหมายในเรื่องของชี
วิต สามารถช่วยเหลือและดูแลตัวเองได้ ซึ่งรวมถึงการปลูกฝังเรื่องความกตัญญูต่อผู้มีพระคุณ
ที่เป็นคุณธรรมสาหรับวัยเด็ก สอดคล้องกับหลักไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ปัญญา
และเรียนรู้ที่จะดารงชีวิตอย่างเหมาะสม รู้เท่าทันโลกที่เปลี่ยนแปลง สร้างสังคมที่ดีมีคุณภาพ ผ่าน
‘การกิน อยู่ดู ฟังเป็น’นั่นเอง
การคัดเลือกโรงเรียนวิถีพุทธชั้นนา
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
และมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยร่วมกันนาอัตลักษณ์ ๒๙ ประการ
สู่ความเป็นโรงเรียนวิถีพุทธ
ไปเป็นตัวชี้วัดในการคัดเลือกโรงเรียนวิถีพุทธชั้นนามาอย่างต่อเนื่อง แนวทางดาเนินการ ๒๙
ประการสู่ความเป็นโรงเรียนวิถีพุทธทาให้โรงเรียนมีแนวทางการพัฒนาโรงเรียนที่เป็นรูปธรรมมาก
ขึ้น
แนวทางดาเนินการ 29 ประการสู่ความเป็นโรงเรียนวิถีพุทธ ประกอบด้วย
๑. ด้านกายภาพ ๗ ประการ คือ มีป้ายโรงเรียนวิถีพุทธ, มีพระพุทธรูปหน้าโรงเรียน,
มีพระพุทธรูปประจาห้องเรียน, พระพุทธศาสนสุภาษิต วาทะธรรม พระราชดารัสติดตามที่ต่าง ๆ,
มีความสะอาด สงบ ร่มรื่น, มีห้องพระพุทธศาสนาหรือลานธรรม
และไม่มีสิ่งเสพติดเหล้าบุหรี่ 100 %
๒.ด้านกิจกรรมประจาวันพระ 4ประการ คือ ใส่เสื้อขาวทุกคน, ทาบุญใส่บาตรฟังเทศน์,
รับประทานอาหารมังสวิรัติในมื้อกลางวัน และสวดมนต์แปล
๓. ด้านการเรียนการสอน 5 ประการ คือ มีการบริหารจิต เจริญปัญญา ก่อนเข้าเรียน เช้า
บ่าย ทั้งครู และ นักเรียน, มีการบูรณาการวิถีพุทธ ทุกกลุ่มสาระ
และในวันสาคัญทางพระพุทธศาสนา, ครู พานักเรียนทาโครงงานคุณธรรม
กิจกรรมจิตอาสาสัปดาห์ละ 1 ครั้ง, ครู ผู้บริหาร และ นักเรียน ทุกคน
ไปปฏิบัติศาสนกิจที่วัดเดือนละ 1 ครั้ง มีวัดเป็นแหล่งเรียนรู้ และครู ผู้บริหาร และ นักเรียนทุกคน
เข้าค่ายปฏิบัติธรรมอย่างน้อยปีละ 1ครั้ง
๔. ด้านพฤติกรรม ครูผู้บริหารโรงเรียน และนักเรียน 5 ประการ คือ ครู
ผู้บริหารโรงเรียนและนักเรียนรักษาศีล 5, ครู ผู้บริหารโรงเรียนและนักเรียนยิ้มง่าย ไหว้สวย
กราบงาม, ครู ผู้บริหารโรงเรียนและนักเรียน ก่อนรับประทานอาหารจะมีการพิจารณาอาหาร
รับประทานอาหารไม่ดัง ไม่หก ไม่เหลือ เป็นต้น, ครู ผู้บริหารโรงเรียนและนักเรียน
มีความประหยัด]ออม ถนอมใช้ เงินและ สิ่งของ และครู ผู้บริหารโรงเรียนและนักเรียน มีนิสัยใฝ่รู้
สู้สิ่งยาก
๕. ด้านการส่งเสริมวิถีพุทธ 8 ประการ คือ ไม่มีอาหารขยะขายในโรงเรียน, ครู
ผู้บริหารโรงเรียนไม่ดุ ด่า นักเรียน, ครู ผู้บริหารโรงเรียน ชื่นชมคุณความดี หน้าเสาธงทุกวัน,
มีโฮมรูมเพื่อสะท้อนความรู้สึก เช่นความรู้สึกที่ได้ทาความดี, ครู ผู้บริหาร และนักเรียน
มีสมุดบันทึกความดี, ครู ผู้บริหาร และนักเรียน สอบได้ธรรมศึกษาตรีเป็นอย่างน้อย, ครู
ผู้บริหารโรงเรียน และนักเรียน บริหารจิต เจริญปัญญา ก่อนการประชุมทุกครั้ง
และมีพระมาสอนอย่างสม่าเสมอ
สรุป โรงเรียนวิถีพุทธเป็นการบริหารจัดการศึกษาโดยนาหลักธรรมพระพุทธศาสนามาใช้
หรือประยุกต์ในการพัฒนาเด็กโดยเน้นกรอบการพัฒนาตามหลักไตรสิกขาคือ ศีล สมาธิ ปัญญา
ซึ่งเป็นการฝึกหัดอบรม เพื่อพัฒนากาย ความประพฤติ
จิตใจและปัญญาอย่างบูรณาการมุ่งเน้นให้เด็กเกิดพฤติกรรมที่มีเป้าหมายในเรื่องของชีวิต
สามารถช่วยเหลือและดูแลตัวเองได้ ซึ่งรวมถึงการปลูกฝังเรื่องความกตัญญูต่อผู้มีพระคุณ
ที่เป็นคุณธรรมสาหรับวัยเด็กและเรียนรู้ที่จะดารงชีวิตอย่างเหมาะสม
สมาชิกกลุ่ม
1.น.ส.สุธิดา ชาคาสนธ์ รหัส 561166050
2.น.ส.ชรัญญา เมฆมานุรักษ์ รหัส 561166066
3.น.ส.อังคณา เรือนแก้ว รหัส 561166074
4.น.ส.ปวีณา บัวอิ่น รหัส 561166075
5.น.ส.อารยา สุขสบาย รหัส 561166088
คณะครุศาสตร์วิชาเอกภาษาไทย Section :AE
แหล่งสืบค้นข้อมูล
เว็บไซต์โรงเรียนวิถีพุทธพุทธธรรมประยุกต์เพื่อการศึกษาhttp://www.vitheebuddha.com/main.php

More Related Content

Similar to นวัตกรรมการศึกษา

สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบสรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบtunyapisit
 
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นนำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นkruklai98
 
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นนำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นkruklai98
 
ตอนที่ 2 การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา 3
ตอนที่ 2 การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา 3ตอนที่ 2 การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา 3
ตอนที่ 2 การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา 3warijung2012
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7kanwan0429
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7kanwan0429
 
Thinking and doing school
Thinking and doing schoolThinking and doing school
Thinking and doing schoolWC Triumph
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7benty2443
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7nattawad147
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524gam030
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7wanneemayss
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑rampasri
 

Similar to นวัตกรรมการศึกษา (20)

สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบสรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
 
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นนำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
 
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นนำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
 
ตอนที่ 2 การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา 3
ตอนที่ 2 การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา 3ตอนที่ 2 การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา 3
ตอนที่ 2 การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา 3
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
Thinking and doing school
Thinking and doing schoolThinking and doing school
Thinking and doing school
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑
 

นวัตกรรมการศึกษา

  • 1. นวัตกรรมการศึกษา 7ประเภท หัวข้อที่ 7: การบริหารจัดการศึกษา เจาะลึกหัวข้อที่ศึกษา เรื่อง โรงเรียนวิถีพุทธ โรงเรียนวิถีพุทธ (Buddhis Oriented Schools) หมายถึงโรงเรียนในระบบปกติทุกระดับ ภายใต้การกากับของกระทรวงศึกษาธิการที่เน้นการนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาตามหลักไตร สิกขามาบูรณาการประยุกต์ใช้ในการบริหาร และการพัฒนาผู้เรียนในภาพรวมของสถานศึกษา โดยเน้นกรอบการพัฒนาตามหลักไตรสิกขา ผ่านกระบวนการทางวัฒนธรรม แสวงหาปัญญา และมีเมตตา เพื่อมุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้สอดคล้อง กับจุดเน้นการพัฒนาของประเทศ ปัจจุบัน (พ.ศ. 2557) มีโรงเรียนสมัครเข้าร่วมโครงการโรงเรียนวิถีพุทธ รวมทั้งสิ้น กว่า 20,000 โรงเรียน ทั้งระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษา กระจายอยู่ทั่วทุกภูมิภาคของประเทศ ความเป็นมาโรงเรียนวิถีพุทธ แนวคิดโรงเรียนวิถีพุทธสืบเนื่องจากที่กระทรวงศึกษาธิการจัดการประชุมเรื่อง “หลักสูตรใหม่เด็กไทยพัฒนา” ขึ้นเมื่อวันที่ 25ธันวาคม พ.ศ. 2545 ที่ประชุมได้หารือถึงโรงเรียนที่จัดการศึกษาเพื่อสนองตอบความสามารถที่แตกต่างกันของบุค คลเพื่อนาพาเด็กและเยาวชนไทยก้าวทันความเปลี่ยนแปลงของโลก แนวการเรียนของสอนของโรงเรียนวิถีพุทธ โรงเรียนวิถีพุทธจะมีแนวการเรียนการสอนระบบปกติทั่วไปที่นาหลักธรรมพระพุทธศาส นามาใช้หรือประยุกต์ในการพัฒนาเด็กโดยเน้นกรอบการพัฒนาตามหลักไตรสิกขา (ศีล สมาธิ ปัญญา) ซึ่งเป็นการฝึกหัดอบรม เพื่อพัฒนากาย ความประพฤติ จิตใจ และปัญญาอย่างบูรณาการ ลักษณะของโรงเรียนวิถีพุทธ โรงเรียนวิถีพุทธมีกระบวนการจัดการเรียนรู้ลักษณะ “สอนให้รู้ ทาให้ดู อยู่ให้เห็น” การเรียนรู้ในชั้นเรียนจะเป็นลักษณะการบูรณาการพุทธธรรมในการเรียนรู้ ทั้งความรู้ กระบวนการฝึกปฏิบัติ และมีการวัดประเมินทุกหน่วยการเรียนรู้ โดยเฉพาะด้านคุณลักษณะนิสัย ศรัทธา ค่านิยม และโดยลักษณะโรงเรียนวิถีพุทธ จะเน้นการจัดสภาพทุกๆ ด้าน เพื่อสนับสนุนให้ผู้เรียนพัฒนาตามหลักพุทธธรรมอย่างบูรณาการ ที่ส่งเสริมให้เกิดความเจริญงอกงามตามลักษณะแห่งปัญญาวุฒิธรรม 4ประการ คือ 1. สัปปุริสสังเสวะ หมายถึง การอยู่ใกล้คนดี ใกล้ผู้รู้ 2. สัทธัมมัสสวนะ หมายถึง เอาใจใส่ศึกษา โดยมีหลักสูตรการเรียนการสอนที่ดี
  • 2. 3. โยนิโสมนสิการ หมายถึง มีกระบวนการคิดวิเคราะห์ พิจารณาเหตุผลที่ดีและถูกวิธี 4. ธัมมานุธัมปฏิปัตติ หมายถึง ความสามารถนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ถูก กิจกรรมที่มุ่งเน้นในโรงเรียนวิถีพุทธ โรงเรียนวิถีพุทธจะมีการจัดกิจกรรมหลากหลายและต่อเนื่องเป็นวิถีชีวิต เพื่อให้เด็กๆ รู้จักคิดและได้ฝึกปฏิบัติเสมอๆ ให้เกิดการพัฒนาทั้งด้านความประพฤติ จิตใจ และปัญญาไปพร้อมๆ กัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการกิน อยู่ดู ฟัง ในชีวิตประจาวันที่มีสติสัมปชัญญะคอยกากับ เพื่อเป็นไปตามคุณค่าแท้ของการดาเนินชีวิต ผ่านกิจกรรมต่างๆ เช่น สวดมนต์ก่อนและหลังเลิกเรียน นั่งสมาธิ มีการเวียนเทียนในวันสาคัญทางพุทธศาสนา เข้าค่ายธรรมมะ ฯลฯ สภาพแวดล้อมในโรงเรียนวิถีพุทธ โรงเรียนวิถีพุทธจะมีหลักการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ตามหลักพุทธศาสนา โ ดยมีบรรยากาศสงบเงียบ เรียบง่าย ร่มรื่น สะอาด มีระเบียบ ปลอดภัย สื่อและอุปกรณ์การเรียนการสอนมีการปรับปรุงพัฒนาอยู่เสมอ โรงเรียนวิถีพุทธจะมีลักษณะเกื้อกูลและใกล้ชิดกับชุมชน โดยโรงเรียนจะมีการร่วมมือกับบ้านวัด และสถาบันต่างๆ ในชุมชนที่จะพัฒนาทั้งนักเรียนและสังคมตามหลักธรรมในพุทธศาสนา เพื่อประโยชน์สุขร่วมกัน และเด็กๆ ก็ได้เรียนรู้วัฒนธรรมไทยอีกด้วย สิ่งที่เด็กได้รับจากการเรียนโรงเรียนวิถีพุทธ โรงเรียนวิถีพุทธส่วนใหญ่ก็มีจุดมุ่งหมายสาคัญเพื่อพัฒนาเด็กๆ ให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์แบบ กิจกรรมการเรียนรู้ในโรงเรียนวิถีพุทธนั้นจะมุ่งเน้นให้เด็กเกิดพฤติกรรมที่มีเป้าหมายในเรื่องของชี วิต สามารถช่วยเหลือและดูแลตัวเองได้ ซึ่งรวมถึงการปลูกฝังเรื่องความกตัญญูต่อผู้มีพระคุณ ที่เป็นคุณธรรมสาหรับวัยเด็ก สอดคล้องกับหลักไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ปัญญา และเรียนรู้ที่จะดารงชีวิตอย่างเหมาะสม รู้เท่าทันโลกที่เปลี่ยนแปลง สร้างสังคมที่ดีมีคุณภาพ ผ่าน ‘การกิน อยู่ดู ฟังเป็น’นั่นเอง
  • 3. การคัดเลือกโรงเรียนวิถีพุทธชั้นนา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยร่วมกันนาอัตลักษณ์ ๒๙ ประการ สู่ความเป็นโรงเรียนวิถีพุทธ ไปเป็นตัวชี้วัดในการคัดเลือกโรงเรียนวิถีพุทธชั้นนามาอย่างต่อเนื่อง แนวทางดาเนินการ ๒๙ ประการสู่ความเป็นโรงเรียนวิถีพุทธทาให้โรงเรียนมีแนวทางการพัฒนาโรงเรียนที่เป็นรูปธรรมมาก ขึ้น แนวทางดาเนินการ 29 ประการสู่ความเป็นโรงเรียนวิถีพุทธ ประกอบด้วย ๑. ด้านกายภาพ ๗ ประการ คือ มีป้ายโรงเรียนวิถีพุทธ, มีพระพุทธรูปหน้าโรงเรียน, มีพระพุทธรูปประจาห้องเรียน, พระพุทธศาสนสุภาษิต วาทะธรรม พระราชดารัสติดตามที่ต่าง ๆ, มีความสะอาด สงบ ร่มรื่น, มีห้องพระพุทธศาสนาหรือลานธรรม และไม่มีสิ่งเสพติดเหล้าบุหรี่ 100 % ๒.ด้านกิจกรรมประจาวันพระ 4ประการ คือ ใส่เสื้อขาวทุกคน, ทาบุญใส่บาตรฟังเทศน์, รับประทานอาหารมังสวิรัติในมื้อกลางวัน และสวดมนต์แปล ๓. ด้านการเรียนการสอน 5 ประการ คือ มีการบริหารจิต เจริญปัญญา ก่อนเข้าเรียน เช้า บ่าย ทั้งครู และ นักเรียน, มีการบูรณาการวิถีพุทธ ทุกกลุ่มสาระ และในวันสาคัญทางพระพุทธศาสนา, ครู พานักเรียนทาโครงงานคุณธรรม กิจกรรมจิตอาสาสัปดาห์ละ 1 ครั้ง, ครู ผู้บริหาร และ นักเรียน ทุกคน ไปปฏิบัติศาสนกิจที่วัดเดือนละ 1 ครั้ง มีวัดเป็นแหล่งเรียนรู้ และครู ผู้บริหาร และ นักเรียนทุกคน เข้าค่ายปฏิบัติธรรมอย่างน้อยปีละ 1ครั้ง ๔. ด้านพฤติกรรม ครูผู้บริหารโรงเรียน และนักเรียน 5 ประการ คือ ครู ผู้บริหารโรงเรียนและนักเรียนรักษาศีล 5, ครู ผู้บริหารโรงเรียนและนักเรียนยิ้มง่าย ไหว้สวย กราบงาม, ครู ผู้บริหารโรงเรียนและนักเรียน ก่อนรับประทานอาหารจะมีการพิจารณาอาหาร รับประทานอาหารไม่ดัง ไม่หก ไม่เหลือ เป็นต้น, ครู ผู้บริหารโรงเรียนและนักเรียน มีความประหยัด]ออม ถนอมใช้ เงินและ สิ่งของ และครู ผู้บริหารโรงเรียนและนักเรียน มีนิสัยใฝ่รู้ สู้สิ่งยาก ๕. ด้านการส่งเสริมวิถีพุทธ 8 ประการ คือ ไม่มีอาหารขยะขายในโรงเรียน, ครู ผู้บริหารโรงเรียนไม่ดุ ด่า นักเรียน, ครู ผู้บริหารโรงเรียน ชื่นชมคุณความดี หน้าเสาธงทุกวัน,
  • 4. มีโฮมรูมเพื่อสะท้อนความรู้สึก เช่นความรู้สึกที่ได้ทาความดี, ครู ผู้บริหาร และนักเรียน มีสมุดบันทึกความดี, ครู ผู้บริหาร และนักเรียน สอบได้ธรรมศึกษาตรีเป็นอย่างน้อย, ครู ผู้บริหารโรงเรียน และนักเรียน บริหารจิต เจริญปัญญา ก่อนการประชุมทุกครั้ง และมีพระมาสอนอย่างสม่าเสมอ สรุป โรงเรียนวิถีพุทธเป็นการบริหารจัดการศึกษาโดยนาหลักธรรมพระพุทธศาสนามาใช้ หรือประยุกต์ในการพัฒนาเด็กโดยเน้นกรอบการพัฒนาตามหลักไตรสิกขาคือ ศีล สมาธิ ปัญญา ซึ่งเป็นการฝึกหัดอบรม เพื่อพัฒนากาย ความประพฤติ จิตใจและปัญญาอย่างบูรณาการมุ่งเน้นให้เด็กเกิดพฤติกรรมที่มีเป้าหมายในเรื่องของชีวิต สามารถช่วยเหลือและดูแลตัวเองได้ ซึ่งรวมถึงการปลูกฝังเรื่องความกตัญญูต่อผู้มีพระคุณ ที่เป็นคุณธรรมสาหรับวัยเด็กและเรียนรู้ที่จะดารงชีวิตอย่างเหมาะสม สมาชิกกลุ่ม 1.น.ส.สุธิดา ชาคาสนธ์ รหัส 561166050 2.น.ส.ชรัญญา เมฆมานุรักษ์ รหัส 561166066 3.น.ส.อังคณา เรือนแก้ว รหัส 561166074 4.น.ส.ปวีณา บัวอิ่น รหัส 561166075 5.น.ส.อารยา สุขสบาย รหัส 561166088 คณะครุศาสตร์วิชาเอกภาษาไทย Section :AE แหล่งสืบค้นข้อมูล เว็บไซต์โรงเรียนวิถีพุทธพุทธธรรมประยุกต์เพื่อการศึกษาhttp://www.vitheebuddha.com/main.php