SlideShare a Scribd company logo
1 of 72
Download to read offline
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
การพัฒนาการเรียนการสอนผานเว็บบล็อก เรื่อง คําสั่งพื้นฐานของ Visual Basic
   ในรายวิชาระบบการจัดการฐานขอมูล ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4
                       โรงเรียนหนองเสือวิทยาคม




                           นายอาสมาน ฮาแว




  รายงานการวิจัยนี้เปนสวนหนึ่งของวิชาการฝกประสบการณวิชาชีพครู 2
         สาขาวิชาคอมพิวเตอรศึกษา คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม
                  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
                     ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2555
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
การพัฒนาการเรียนการสอนผานเว็บบล็อก เรื่อง คําสั่งพื้นฐานของ Visual Basic
   ในรายวิชาระบบการจัดการฐานขอมูล ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4
                       โรงเรียนหนองเสือวิทยาคม




                           นายอาสมาน ฮาแว




  รายงานการวิจัยนี้เปนสวนหนึ่งของวิชาการฝกประสบการณวิชาชีพครู 2
         สาขาวิชาคอมพิวเตอรศึกษา คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม
                  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
                     ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2555
ก



ชื่องานวิจัย                        การพัฒนาการเรียนการสอนผานเว็บบล็อก เรื่อง คําสั่งพื้นฐานของ
                                    Visual Basic ในรายวิชาระบบการจัดการฐานขอมูล
                                    ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนหนองเสือวิทยาคม
ชื่อผูวิจัย                        นายอาสมาน         ฮาแว
สาขาวิชา/คณะ                        เทคโนโลยีสารสนเทศการศึกษา ครุศาสตรอุตสาหกรรม
มหาวิทยาลัย                         มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
อาจารยที่ปรึกษาการวิจัย            ดร.รสริน เจิมไธสง
ปที่ทําวิจัย                       2556



                                                 บทคัดยอ
           งานวิ จั ย เรื่ อ ง การพั ฒ นาการเรี ย นการสอนผ า นเว็ บ บล็ อ ก เรื่ อ ง คํ า สั่ ง พื้ น ฐานของ
Visual          Basic   ในรายวิ ช าระบบการจัดการฐานขอมูล              ของนักเรีย นชั้น มัธ ยมศึกษาปที่ 4
โรงเรียนหนองเสือวิทยาคม มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) พัฒนาเว็บบล็อกที่ใชในการเรียนการสอนวิชาระบบ
การจัดการฐานขอมูล เรื่อง คําสั่งพื้นฐานของ Visual Basic สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4
และ 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาป
ที่ 4 จากการเรียนดวยกิจกรรมการเรียนรูโดยใชเว็บบล็อกเปนเครื่องมือในการจัดกิจกรรมการเรียนรู
การวิจัยครั้งนี้ ไดดําเนินการวิจัยกับกลุมตัวอยาง จํานวน 5 คน ซึ่งเปนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่
4/4 เครื่องมือที่ใชการวิจัย คือ กิจกรรมการเรียนรูผานเว็บบล็อกและแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน สถิติที่ใชไดแก รอยละ สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสถิต t-test

           ผลการวิจัยพบวา หลังจากผานการจัดการเรียนรู เรื่อง คําสั่งพื้นฐาน Visual Basic ผานเว็บ
บล็อก นักเรียนมีคะแนนทดสอบหลังเรียนสูงกวาคะแนนทดสอบกอนเรียนผานเว็บบล็อกอยางมี
นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
ข



                                     กิตติกรรมประกาศ

          งานวิจัยในชั้นเรียนฉบับนี้สําเร็จไดดวยความกรุณาเปนอยางยิ่งจากทาน ดร.รสริน เจิมไธสง
ที่ใหคําปรึกษา และขอเสนอแนะตางๆที่เปนประโยชนอยางมาก รวมทั้งตรวจสอบแกไขขอบกพรอง
ตางๆ จากงานวิจัยในชั้นเรียนฉบับนี้ใหสําเร็จสมบูรณ ผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณเปนอยางสูงไว ณ
โอกาสนี้
          ขอขอบพระคุ ณอาจารยเสาวณีย สมบูรณศิโรรัตน อาจารยประจําวิชาคอมพิวเตอรและ
อาจารยพี่เลี้ยง โรงเรียนหนองเสือวิทยาคม ที่ไดกรุณาใหคําแนะนําและขอเสนอแนะในการทําวิจัย
ครั้งนี้
          ขอขอบพระคุณทานผูอํานวยการโรงเรียนและขอบใจนักเรียนโรงเรียนหนองเสือวิทยาคม
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 ที่ใหความรวมมือเปนอยางดียิ่งในการทดลองและเก็บ
ขอมูลในการวิจัยครั้งนี้เปนอยางดี
          สุดทายนี้ขอขอบพระคุณบิดาและมารดา ที่เปนกําลังใจและใหการสนับสนุนทุนในการวิจัย
ครั้งนี้จนสําเร็จลุลวงไปดวยดี จึงขอขอบพระคุณมา ณ ที่นี้




                                                                              อาสมาน        ฮาแว
สารบัญ

                                                                                                                                 หนา
บทคัดยอ                                                                                                                          ก
กิตติกรรมประกาศ                                                                                                                   ข

บทที่
        1ววบทนํา……………………………………………………………………………………………………….                                                                          1
           1.1ววความเปนมาและความสําคัญของปญหา……………………………...………………..                                                             1
           1.2วววัตถุประสงคการวิจัย…………………………………………………………………………..                                                                2
           1.3ววคําถามการวิจัย………….……………………………………………………………………….                                                                   2
           1.4ววสมมุติฐานการวิจัย…….……………………………………………...………………………..                                                               2
           1.5ววขอบเขตของการวจัย…..………………………………………………….........................
                                      ิ                                                                                           3
           1.6ววขอจํากัดของการวิจัย………...………………….…………………………………………….                                                              3
           1.7ววนิยามศัพท………………………………………………………………………………………….                                                                     3
           1.8ววผลที่คาดวาจะไดรับ……………………………………………………………………………..                                                                4
        2ววเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ………………………….………………………...................                                                  5
           2.1ววการจัดการเรียนการสอนโดยใชเว็บบล็อก..........……………………………………...                                                    5
           2.2ววแนวคิดการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ.…………………………………....                                               10
        16 2.3วว ปฏิสัมพันธกับการเรียนรู ..........................................................………………….
                      16                                16                                                                       19
           2.4ววงานวิจัยที่เกี่ยวของ………………………………………………………...........................                                            20
        3วววิธีดําเนินการวิจัย..................………………………………………………………………….......                                                 22
           3.1ววประชากรและกลุมเปาหมาย………………………….....................……………………                                                   22
           3.2ววแผนแบบการทดลองที่ใชในการวิจัย....................……………………………………..                                               23
           3.3ววเครื่องมือที่ใชในการวิจัย......................……………………………………………………                                             23
           3.4วววิธีการสรางเครื่องมือและหาคุณภาพเครื่องมือ.………………………………..........                                               23
           3.5วววิธีดําเนินการวิจัย...........................................................................................   24
           3.6ววการวิเคราะหขอมูลและสถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล..................................                           25
สารบัญ (ตอ)

                                                                                                                   หนา
        4ววผลการดําเนินงานวิจัย......................…………………………………………….......……..…. 27
             4.1ววผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากแบบทดสอบกอนเรียน
                    และหลังเรียนดวยกิจกรรมการเรียนรูโดยใชเว็บบล็อกเปนเครื่องมือ
                    ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู……………………………......................................... 27
        5ววสรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ…................................……………………….. 28
             5.1ววสรุปผลการดําเนินงาน.......................……………………………………………………. 28
             5.2ววอภิปรายผลดําเนินงาน.......................…………………………………………………… 28
             5.3ววขอเสนอแนะ……………………………………………...........................………………… 30
บรรณานุกรม………………………………………………………………………….......................................... 31
ภาคผนวก…………………………………….………………….………………...................................…………. 32
          ภาคผนวก กววแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน….………………………………... 33
          ภาคผนวก ขววคะแนนกอนเรียนและหลังเรียนดวยเว็บบล็อก...................………..… 39
          ภาคผนวก คววภาพเว็บบล็อกของรายวิชาและตัวอยางเว็บบล็อกของนักเรียน….                                       41
          ภาคผนวก งววแผนการจัดการเรียนรู หนวยที่ 6 คําสั่งพื้นฐานของ Visual Basic
                                 วิชาระบบการจัดการฐานขอมูล.....................................................…. 46
ประวัติยอผูวิจัย....................…………………………………………………............................................. 64
สารบัญตาราง


ตารางที่                                                                                                     หนา
      3-1ววแบบแผนการวิจัย One Group Pretest – Posttest Design……………………… 23
      4-1ววตารางเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนและหลังเรียน
           ดวยกิจกรรมการเรียนรูโดยใชเว็บบล็อก…........................................................... 27
      ข-1ววตารางเปรียบเทียบคะแนนกอนเรียนและหลังเรียนดวยเว็บบล็อก.................…… 39
สารบัญภาพ


ภาพที่                                                                                                    หนา
    2-1ววแผนภาพระบบการออกแบบการเรียนการสอน………………………………………………… 15
    2-2ววแผนภาพการวางแผนหรือการออกแบบการเรียนการสอน
         ที่เนนผูเรียนเปนศูนยกลาง…………………………...............................................……… 16
    ค-1ววเว็บบล็อกรายวิชาระบบการจัดการฐานขอมูล.........…….………………………………….. 42
    ค-2ววตัวอยางเนื้อหาที่ใชเว็บบล็อกรายวิชา.……………….………………………....................... 42
    ค-3ววเว็บบล็อกของนักเรียน (นายกฤษดา เมืองสงา)....……………………………….…………... 43
    ค-4ววเว็บบล็อกของนักเรียน (นางสาวนิภัทรา บุญประสงค)……………………................... 43
    ค-5ววเว็บบล็อกของนักเรียน (นายอัษฎาวุธ รักเมือง)...........…………………………............. 44
    ค-6ววเว็บบล็อกของนักเรียน (นางสาวนัฐธิราภ บุญยังประเสริฐ)…………………................ 44
    ค-7ววเว็บบล็อกของนักเรียน (นางสาวรังสิมา เกตุแกว)................................................... 45
    ค-8ววตัวอยางการรวมแสดงความคิดเห็นของนักเรียน...................................................... 45
บทที่ 1

                                              บทนํา

1.1ววความเปนมาและความสําคัญของปญหา
          ปจจุบันเทคโนโลยีได เข ามามีบทบาทตอการศึกษามากขึ้น นั้น ก็คือ การนํ าระบบเครือขาย
อิน เทอรเ น็ ตมาใช ในการเรี ย นการสอนอยางกวางขวาง เนื่องจากอิน เทอรเน็ตเปน เทคโนโลยีที่มี
ศักยภาพในการทํางานสู ง มีการเชื่อมโยงเครือขายคอมพิว เตอรที่มีอยูทั่วโลกเขาดวยกัน เพื่อให
คอมพิวเตอรทุกเครื่องหรือทุกเครือขายสามารถติดตอถึงกันได สงผลใหผูเรียนสามารถรับสงขาวสาร
ขอมูลรูปแบบตางๆถึงกันไดดวยความสะดวกและรวดเร็ว ซึ่งอินเทอรเน็ตมีรูปแบบตางๆที่หลากหลาย
ดังนั้น นักการศึกษาจึงพยายามหารูปแบบมาใชอยางเต็มที่เพื่อสนับสนุนการเรียนการสอน นั่นคือ
การเรียนการสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต (Web-Based Instruction) เปนการนําเสนอโปรแกรม
บทเรียนผานเว็บเพจ โดยนําเสนอผานเวิลด ไวด เว็บ เชน เว็บบล็อก เปนตน
          “เว็บบล็อก” (Web blog) หรือเรียกสั้นๆวา “บล็อก” หมายถึง เว็บไซตที่ใชสําหรับเขียน
บันทึก (Journal) และแสดงผลการบันทึกโดยการเรียนลําดับจากปจจุบันไปหาอดีต โดยทั่วไปบล็อก
จะประกอบดวยตัวอักษร (Text) ภาพนิ่ง (Images) สวนเชื่อมโยง (Links) ไปหาบล็อกหรือเว็บไซต
อื่นๆสว นที่สําคัญของบล็อก คือ ความสามารถในการใหผูอานแสดงความคิดเห็นแบบปฏิสัมพัน ธ
(Interactive) ผูเรียนสามารถใชบล็อกในการเรียนและการจัดการเรียนรูไดตามประเด็นดังตอไปนี้
เชน ใชบล็อกสะทอนความคิดเห็นในเรื่องที่ผูเรียนไดรับประสบการณหรือเรียนมา แบงปนสิ่งที่เรียน
มากับเพื่อน สามารถใชบล็อกในการถายทอดความรูความเขาใจของตนเองจากการที่ไดเรียนมาในชั้น
เรี ยนหรือจากการไปศึกษา คน ควาและสืบคน ขอมูลดว ยตนเอง นํามาเขีย น เรียบเรีย ง สรุปและ
เชื่อมโยงเนื้อหาหรือขอมูลเหลานั้นแลวนําไปไวในบล็อกของวิชาที่ไดเรียนเพื่อใหเพื่อนๆไดเขาไปอาน
ส ง หรื อ ทบทวนงานที่ ไ ด รั บ มอบหมายจากผู ส อนและใช บ ล็ อ กระดมความคิ ด ในการทํ า งานกลุ ม
เนื่องจากบล็อกมีคุณสมบัติปฏิสัมพันธ ทําใหใชบล็อกเปนเครื่องมือในการทํางานกลุมได ผูเรียนซึ่งเปน
ผูอานและผูใชรวมแสดงความคิดเห็นผานบล็อกไดเหมือนนั่งรวมกลุมกับเพื่อนๆ แลว ระดมความ
คิดเห็นตามเวลาที่สะดวก และอยูในระยะเวลาที่กําหนด เปนตน จากสภาพและปญหาในการจัดการ
เรียนการสอนในปจจุบั น ของนักเรียนชั้นมัธ ยมศึกษาป ที่ 4/4 ที่เรียนรายวิชาระบบการจัดการ
ฐานขอมูล เมื่อเรียนจบเนื้อหาในแตละสัปดาหแลว นักเรียนไมสามารถจับใจความของเนื้อหาที่เรียน
2



และลืมเนื้อหา อีกทั้งยังไมมีการทบทวนเนื้อหา เนื่องจากรายวิชาระบบการจัดการฐานขอมูลเปนวิชา
ที่ตองมีการปฏิบัติและวัดผลดวยการฝกปฏิบัติพรอมทั้งนําเสนอชิ้นแลว ซึ่งอาจจะเปนดวยสาเหตุ
หลายประการ เชน เนื้อหาในการเรียนวิชานี้คอนขางซับซอน ยากและสรุปใจความไมคอยได อีกทั้ง
ครูผูสอนไมสามารถตรวจชิ้นงานของนักเรียนไดทั่วถึงทุกคน และอีกประการหนึ่งในการฝกปฏิบัติลง
มือทําชิ้นงานในแตละชิ้นจําเปนจะตองใชเวลาสมาธิและความจําในการเขียนโคดคําสั่ง เปนตน
        จากปญหาในการจัดการเรียนการสอนวิชาระบบการจัดการฐานขอมูลและประโยชนของการใช
เว็บบล็อกในการจัดการเรียนการสอนที่ไดกลาวขางตน ผูวิจัยจึงมีแนวที่จะนําเว็บบล็อกมาใชในการ
จัดการเรียนการสอน เพื่อนกระตุนใหนักเรียนเกิดความสนใจใฝเรียนรู และสามารถสรางชิ้นงานและ
นํามาเผยแพร เพื่อใหนักเรียนมีปฏิสัมพันธกันระหวางนักเรียนดวยกันและนักเรียนกับครูโดยการ
แสดงความคิดเห็น ทําใหเกิดการเรียนรูและแลกเปลี่ยนขอมูล โดยการบันทึกลงในเว็บบล็อกของวิชา

1.2วววัตถุประสงคการวิจัย
       1. เพื่อพัฒนาเว็บบล็อกที่ใชในการเรียนการสอนวิชาระบบการจัดการฐานขอมูล เรื่อง คําสั่ง
พื้นฐานของ Visual Basic สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4
       2.       เพื่ อเปรี ยบเทีย บผลสั มฤทธิ์ทางการเรี ยนกอนเรี ยนและหลังเรีย นของนักเรีย นชั้น
มัธยมศึกษาปที่ 4 จากการเรียนดวยกิจกรรมการเรียนรูโดยใชเว็บบล็อกเปนเครื่องมือในการจัด
กิจกรรมการเรียนรู

1.3ววคําถามการวิจัย
       การนําการจัดการเรียนรูโดยใชเว็บบล็อกมาใชในการจัดกิจกรรมการเรียนรูในรายวิชาระบบ
การจัดการฐานขอมูล เรื่อง คําสั่งพื้นฐานของ Visual Basic จะทําใหนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนเพิ่มขึ้นหรือไม

1.4ววสมมุตฐานการวิจัย
          ิ
      ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนหลังเรียนดวยการจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใชเว็บบล็อก
เปนเครื่องมือในการจัดกิจกรรมการเรียนรูสูงกวากอนเรียน
3



1.5ววขอบเขตของการวิจัย
           การวิจัยในครั้งนี้ เปนงานวิจัยในชั้นเรียน ที่มุงศึกษาการมีสวนรวมและการมีปฏิสัมพันธในการ
เรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ โดยนําเว็บบล็อกมาเปนเครื่องมือและทําการวิจัยและศึกษากับนักเรียน
ที่ผูวิจัยดําเนินการสอน ในภาคเรียนที่ 2/2555
           1.ววขอบเขตดานเนื้อหาสาระในการวิจัย
                เนื้ อหาสาระที่ใช ในการวิจัยในครั้งนี้เปน เนื้อหาสาระที่ใชในการจัดการเรีย นการสอน
นักเรียนในชั้นเรียน โดยจัดการเรียนการสอนผานเครือขายออนไลน นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4/4
วิชาระบบการจัดการฐานขอมูล เรื่อง คําสั่งพื้นฐานของ Visual Basic
           2.ววขอบเขตดานประชากรและกลุมตัวอยาง
                การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยในชั้นเรียน ที่ผูวิจัยไดดําเนินการสอนในภาคเรียนที่ 2/2554
เปนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4/4 กลุมเปาหมายในการวิจัยในครั้งนี้ จํานวน 5 คน
           3.ววเครื่องมือที่ใชในการวิจัย
                เครื่องมือการวิจัย ประกอบดวย กิจกรรมการเรียนรูบนเว็บบล็อก
                แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และ แบบสอบถามความคิดเห็นของผูเรียนที่มีตอ
การจัดการเรียนรูโดยใชเว็บบล็อก
           4.ววระยะเวลาในการวิจัย
                การดําเนินการวิจัย ระหวางเดือน มกราคม – มีนาคม 2556
           5.ววตัวแปรที่ศึกษา
                ตัวแปรตน :              การจัดการเรียนรูผานเว็บบล็อก
                ตัวแปรตาม :              ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาระบบการจัดการฐานขอมูล

1.6ววขอจํากัดของการวิจัย
       ในการดําเนินการวิจัยครั้งนี้ กลุมตัวอยางจําเปนจะตองมีเครื่องคอมพิวเตอรสวนบุคคลที่มีการ
เชื่อมตอระบบเครือขายอินเทอรเน็ต และกลุมตัวอยางจะตองเปนสมาชิกของอีเมลของผูใหบริการ
Gmail เพื่อยืนยันตัวบุคคลในการเขาใชงานเว็บบล็อก จากขอจํากัดดังกลาวทําใหตองลดจํานวนกลุม
ตัวอยางใหนอยลงเพื่อใหสะดวกตอการดําเนินการวิจัยตอไป

1.7ววนิยามศัพท
     การจัดการเรียนรูผานเว็บบล็อก หมายถึง                  การจั ด การเรี ย นรู โ ดยเน น ให ผู เ รี ย น
สามารถเรียนรูไดดวยตนเองโดยมีเนื้อหาที่เหมาะสมถูกเผยแพรในเว็บบล็อก
     เว็บบล็อก           หมายถึง           เว็บไซตชนิดหนึ่ง ซึ่งเนื้อหาหรือ Entry จะถูกเขียน
4



ตามลําดับเวลาและแสดงผลยอนกลับตามลําดับวัน เดือน ป หมายความวา เนื้อหาที่เราเขียนลาสุดจะ
แสดงเปนลําดับแรก
        การปฏิสัมพันธ หมายถึง                  รอยละของกิจกรรมในประเด็นการถาม-ตอบที่ผูเรียนได
แลกเปลี่ยนเรียนรูตอจํานวนผูเรียนในกลุมซึ่งอาจจะเปนกิจกรรมระหวางผูเรียนกับผูเรียน หรือผูเรียน
กบผูสอนผานประเด็นถาม-ตอบในการเรียนรูของเว็บบล็อก
  ั
        กิจกรรมถาม-ตอบ หมายถึง                  สถานการณปญหา เงื่อนไข คําถามและกิจกรรม ที่ผูสอน
รวมกับผูเรียนตั้งประเด็นขึ้นมา เพื่อใหผูเรียน ศึกษาคนควาและตอบคาถามตามภารกิจที่กําหนด โดย
ผูเรียนสามารถอธิบาย หรือแสดงการแกปญหาผานประเด็นที่กําหนดไว ทั้งนี้การแกปญหานั้น อาจจะ
เปนงานเดี่ยว หรืองานกลุมก็ได ผูเรียนมีโอกาสถามตอบขอสงสัย หรือแสดงความคิดเห็นได ตาม
ระยะเวลาที่กําหนด
        ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ผลการวัดการเปลี่ยนแปลงและประสบการณการเรียนรู
ในเนื้อหาสาระที่ผูเรียนไดเรียนผานกิจกรรมการเรียนรูเรียนมาแลววาเกิดการเรียนรูเทาใด โดยวัดดวย
แบบทดสอบวัดสัมฤทธิ์ในการเรียนที่ผูวิจัยพัฒนาขึ้น

1.8ววผลที่คาดวาจะไดรับ
        1.ววผู ส อนได พั ฒ นาเว็ บ บล็ อ กที่ เ หมาะสมต อ การนํ า ไปใช ใ นการเรี ย นการสอนให เ กิ ด
ประสิทธิภาพ
        2.ววผูเรียนไดเรียนรูดวยกระบวนการแบบมีสวนรวมและมีปฏิสัมพันธดวยเว็บบล็อก สามารถ
แสดงความคิดเห็นผานเครือขาย จากการศึกษาประเด็นถาม-ตอบ ขอเสนอแนะทั้งจากผูเรียนและ
ผูสอน เปดโอกาสใหผูเรียนที่มีพื้นฐานความรูที่แตกตางกันสามารถศึกษาในประเด็นถาม-ตอบได
ตลอดเวลา สงผลใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนสูงขึ้น
        3.ววเปนแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยนําเครื่องมือ เว็บบล็อกมาใชในการจัดการ
เรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ แบบมีสวนรวมและมีปฏิสัมพันธผานเครือขายคอมพิวเตอรในการ
จัดการเรียนการสอนในรายวิชาและกลุมผูเรียนกลุมอื่น ๆ ตอไป
บทที่ 2

                               เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ

       ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยไดศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ เพื่อเปนเครื่องมือที่ชวย
ชี้แนะแนวทางหรือใชเปนพื้นฐานในการศึกษา ดังนี้
       2.1ววการจัดการเรียนการสอนโดยใชเว็บบล็อก
            2.1.1ววความเปนมาของเว็บบล็อก
            2.1.2ววความหมายของเว็บบล็อก
            2.1.3ววสวนประกอบของเว็บบล็อก
            2.1.4ววการใชงานบล็อก
       2.2ววแนวคิดการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ
            2.2.1ววหลักการของการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ
            2.2.2วววิธีสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ
            2.2.3ววการออกแบบการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ
            2.2.4ววบทบาทของครูในการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ
       2.3ววปฏิสัมพันธกับการเรียนรู
       2.4ววงานวิจัยที่เกี่ยวของ

2.1ววการจัดการเรียนการสอนโดยใชเว็บบล็อก
        2.1.1ววความเปนมาของเว็บบล็อก
                “Weblog” ถูกใชงานเปนครั้งแรกโดย Jorn Barger ในเดือนธันวาคม ป ค.ศ. 1997
เริ่มแรกคนที่เขียนบล็อกนั้นยังทํากันในระบบ Manual คือเขียนเว็บเพจขึ้นเองทีละหนา เขียนเปนงาน
อดิเรกของกลุมสื่ออิสระตางๆ หลายๆ แหงกลายเปนแหลงขาวสําคัญใหกับหนังสือพิมพหรือสํานักขาว
ชั้นนํา แตในปจจุบันนี้ผูคนหลายลานคนจากทั่วทุกมุมโลก หันมาเขียนบล็อกกันอยางแพรหลาย ตั้งแต
นักเรียน นักศึกษา อาจารย นักเขียน ตลอดจนผูบริหารบริษัทยั กษใหญ อีกทั้งยั งมีเครื่องมือหรื อ
ซอฟทแวรใหเราใชในการเขียนบล็อกไดมากมาย เชน Drupal, WordPress, Movable Typeเปนตน
6



                  ตอมามีฝรั่งที่ชอบเรียกสั้นๆ ชื่อนาย Peter Merholz จับมาเรียกยอเหลือแต “Blog”
แทนในเดือนเมษายน ป ค.ศ. 1999 และคําคํานี้เริ่มใชเปนครั้งแรกๆ ผานทางหนาหนังสือพิมพและ
นิตยสารจนมาถึงวันที่ 13 มีนาคม ค.ศ. 2003 ทาง Oxford English Dictionary จึงไดบรรจุคําวา
blog ในพจนานุกรม แสดงวาไดรับการยอมรับอยางเปนทางการ บล็อก (Blog) ขึ้นแทนศัพทยอดฮิต
อันดับหนึ่ง ซึ่งถูกเสาะแสวงหา ความหมาย ทางพจนานุกรมออนไลน มากที่สุด ประจําป 2004 และ
คนเขียนบล็อกก็ไดรับการยอมรับจากสื่อและสํานักขาวตางๆถึงความรวดเร็วในการใหขอมูลตั้งแตเรื่อง
การเมืองไปจนกระทั่งเรื่องราวของ การประชุมระดับชาติ และจากเหตุการณเหลานี้ นับไดวาบล็อก
เปนสื่อชนิดหนึ่งที่ไมตางจาก วีดีโอ, สิ่งพิมพ, โทรทัศน หรือแมกระทั่งวิทยุ เราสามารถเรียกไดวา
บล็อกไดเขามาเปนสื่อชนิดใหมที่สําคัญอยางแทจริง
                  สํานักขาวเอพีรายงานวา “เว็บไซต ดิกชั่นนารีหรือ พจนานุกรมออนไลน “เมอรเรียม-
เว็บสเตอร” ไดประกาศรายชื่อ คําศัพทซึ่งถูกคลิก เขาไปคนหา ความหมายผาน ระบบออนไลนมาก
ที่สุด 10 อันดับแรกประจําปนี้ ซึ่งอันดับหนึ่งตกเปนของคําวา “บล็อก” (blog) ซึ่งเปนคํายอของ
“เว็บ บล็อก” (web log) โดยนายอาเธอร บิคเนล โฆษกสํานักพิมพพจนานุกรมฉบับ เมอรเรียม-เว็บ
สเตอร กลาววา สํานักพิมพไดเตรียมที่จะนําคําวา “บล็อก” บรรจุลงในพจนานุกรมฉบับลาสุดทั้งที่
เปนเลมและ ฉบับออนไลนแลว แตจากความตองการของผูใชที่หลั่งไหลเขามา ทําใหเมอรเรียม-เว็บ
สเตอรตัดสินใจบรรจุคําวา “บล็อก” ลงในเว็บไซตในสังกัดบางแหงไปกอน โดยใหคําจํากัดความไววา
“เว็บไซตที่บรรจุ เรื่องราวเกี่ยวกับบันทึกสวนตัวประจําวัน ซึ่งสะทอนถึงมุมมอง ความคิดเห็นของ
บุคคล โดยอาจรวมลิงคเชื่อมตอไปยังเว็บไซตอื่นๆ ตามความประสงคของเจาของเว็บบล็อกเองดวย”
โดยทั่วไปคําศัพทที่ถูกบรรจุลงในพจนานุกรมนั้นจะตองผานการใชงาน อยางแพรหลาย มาไมนอยกวา
20 ป ซึ่งหมายความวาคําคํานั้นจะตองถูกนํามาใชโดยทั่วไปในระยะเวลาหนึ่ง อยางไรก็ตาม ปจจุบัน
คําศัพท ทางเทคโนโลยีรวมไปถึงโรคภัยไขเจ็บใหมๆ อยางเชน โรคเอดส โรคไขหวัดซารส ถูกบรรจุลง
ในพจนานุกรมภายในระยะเวลาอันสั้น
                  บล็อกมีบทบาทมากขึ้นในปจจุบันในวงการสื่อมวลชนในหลายประเทศ              เนื่องจาก
ระบบแกไขที่เรียบงาย และสามารถตีพิมพเรื่องราวไดโดยไมตองใชความรูในการเขียนเว็บไซต เปนอีก
ชองทางหนึ่งในการเผยแพรขอมูล หรือแนวความคิด โดยการเขียนบล็อกสามารถเผยแพรขอมูลสู
ประชาชนไดรวดเร็วและเสียคาใชจาย นอยกวาสื่อในดานอื่นจากความนิยมที่มากขึ้น ทําใหหลาย
เว็บไซตเปดใหมีสวนการใชงานบล็อกเพิ่มขึ้นมาในเว็บของตนเอง เพื่อเรียกใหมีการเขาสูเว็บไซตมาก
ขึ้นทั้งผูเขียนและผูอาน
7



        2.1.2ววความหมายของเว็บบล็อก
                  Wikipedia (www, 2552) ไดใหความหมายของ Weblog ไววา
                  “Blog is a type of website or part of a website. Blogs are usually
maintained by an individual with regular entries of commentary, descriptions of
events, or other material such as graphics or video. Entries are commonly displayed
in reverse-chronological order. Blog can also be used as a verb, meaning to maintain
or add content to a blog”
                  ดังนั้น Blog ก็คือการบันทึกบทความของตนเอง (Personal Journal) ลงบนเว็บไซต
โดยเนื้อหาของ Blog นั้นจะครอบคลุมไดทุกเรื่อง ไมวาจะเปนเรื่องราวสวนตัว หรือเปนบทความ
เฉพาะดานตางๆ เชน เรื่องการเมือง เรื่องกลองถายรูป เรื่องกีฬา เรื่องธุรกิจ เปนตน โดยจุดเดนที่ทํา
ใหบล็อกเปนที่นิยมก็คือ ผูเขียนบล็อก จะมีการแสดงความคิดเห็นของตนเอง ใสลงไปในบทความนั้นๆ
โดยบล็อกบางแหง จะมีอิทธิพลในการโนมนาวจิตใจผูอานสูงมาก แตในขณะเดียวกัน บางบล็อกก็จะ
เขียนขึ้นมาเพื่อใหอานกันในกลุมเฉพาะเชนกลุมเพื่อนๆ หรือครอบครัวตนเอง(กติกา สายเสนีย,2548)
                  Blog เปนเครื่องมือที่ครูผูสอนสามารถนํามาใชประกอบการจัดการเรียนการสอนได
เปนอยางดี เพราะจากหนาที่และประโยชนของ Blog คือการเขียนเรื่องราว บทความ สาระ
ประสบการณ หรือความรูที่ไดรับ เก็บสะสมไวอยางเปนหมวดหมู การแนะนําใหนักเรียนรูจักการเขียน
Blog จะชวยใหผูเรียนรูจักการวิเคราะห และสังเคราะหความรู ประสบการณตางๆ ออกมาเปนลาย
ลักษณอักษร โดยความรูนั้นอาจจะมาจากการรวบรวม คนควา ศึกษา และกลั่นกรองออกมาเปนความ
เขาใจของตนเอง ซึ่งก็จะตรงกับทฤษฎีการสรางองคความรู (Constructivism) ดวย และลักษณะที่
สําคัญของ Blog อีกประการหนึ่งก็คือ ผูที่เขามาเยี่ยมชมไดแก ครูผูสอน เพื่อน หรือบุคคลทั่วไป
สามารถที่จะแสดงความคิดเห็น แนะนํา หรือใหความรูเพิ่มเติมในเนื้อหาที่ผูเขียนไดเขียนหรือบันทึกไว
ได ทําใหผูเขียนหรือตัวนักเรียนเอง สามารถปรับปรุงและพัฒนาองคความรูของตนเองไดดียิ่งขน     ึ้
                  บล็อก คือ รูปแบบหนึ่งของเว็บไซต เปนการบันทึกบทความของตนเอง (Personal
Journal) ลงบนเว็ บ ไซต โดยเนื้ อ หาของบล็ อ กนั้ น สามารถครอบคลุ ม ได ทุก เรื่ อ ง มี เ นื้ อ หาได
หลากหลาย ไมวาจะเป นเรื่ องราวสวนตัวที่ สามารถเรี ยกไดวา ไดอารีออนไลน หรือเปน บทความ
เฉพาะดานตางๆ สามารถใชเปนเครื่องมือสื่อสาร การประกาศขาวสาร การแสดงความคิดเห็น การ
เผยแพรผลงาน ในหลายดาน เชน สิ่งแวดลอม การเมือง เทคโนโลยี กีฬา ธุรกิจการคา เปนตน อีกทั้ง
ยังสามารถแตกแขนงไปในเนื้อหาในประเภทตางๆ อีกมากมาย ตามความถนัด ความสนใจของเจาของ
บล็อก เพราะสิ่งสําคัญที่ทําใหบล็อกเปนที่นิยมก็คือ ผูเขียนบล็อกนั่นเอง
8



                 บล็อกถูกเขียนขึ้นในลําดับที่เรียงตามเวลาในการเขียน ซึ่งจะแสดงขอมูลที่เขียนลาสุด
ไวที่ลําดับแรกสุด โดยปกติบล็อกจะประกอบดวย ขอความ ภาพ ลิงค และสื่อชนิดตางๆ ไมวาจะเปน
เพลง วิดีโอ หรือสื่ออื่นๆ ที่สามารถแสดงผลผานเว็บไซตได
                 จุดเดน และจุดแตกตางของบล็อกกับเว็บไซตโดยปกติคือ บล็อกเปนเครื่องมือสื่อสารที่
สามารถสื่อถึงความเปนกันเองระหวางผูเขียน บล็อก และผูอานบล็อกที่เปนกลุมเปาหมายผานทาง
ระบบการแสดงความคิดเห็น (Comment) ของตนเองใสลงไปในบทความนั้นๆ ซึ่งทําใหผูเขียน
สามารถไดผลตอบกลับโดยทันที บล็อกบางแหงจะมีอิทธิพลในการโนมนาวจิตใจผูอานสูงมาก แตใน
ขณะเดียวกัน บางบล็อกก็จะเขียนขึ้นมาเพื่อใหอานกันในกลุมเฉพาะ เชน กลุมเพื่อนๆ หรือครอบครัว
         2.1.3ววสวนประกอบของเว็บบล็อก
                 บล็อกประกอบไปดวยสวนประกอบ 3 สวนสําคัญ คือ
                 1. หัวขอ (Title) หรือ ชื่อบทความ (ฺ Entry Title) คือ ชื่อเรื่องของบทความที่เขียนใน
บล็อก
                 2. เนื้อหา (Post หรือ Content) อาจเปนตัวหนังสือ หรืออาจเปนรูปภาพ วีดีโอ หรือ
อนิเมชั่น เปนตน โดยสวนประกอบเหลานี้จะรวมเปนสวนเนื้อหาของบทความ
                 3. วันเวลาที่เขียน (Date/Time) เปนวันที่และบางทีอาจมีเวลากํากับอยูดวย ตัววันที่
และเวลานี้ จะเป น ตัว บอกว า บทความในบล็อกนั้น เขีย นขึ้น มาเมื่อไหร แกไขครั้งสุดทายเมื่อไหร
บางครั้งอาจมีวันเวลาระบุอยูในสวนของ comment ดวย ซึ่งจะเปนการบงบอกวา comment นั้น
เขียนเขามาเมื่อไหรเชนกัน
                 นอกจากนี้อาจจะยังมีสวนประกอบยอยๆอีก ซึ่งแลวแตซอฟตแวรที่พัฒนาขึ้นมา เชน
                 - ชื่อผูเขียน (Blog Author) บางบล็อก อาจมีการระบุชื่อผูเขียนไวในบล็อกดวย โดย
ตําแหนงที่จะใสชื่อผูเขียนนั้น สามารถไวที่ตําแหนงใดก็ได เชนดานขางของหนาบล็อก (sidebar) หรือ
อยูในตัวบทความ
                 - ความคิดเห็น (Comment) เปนลิงคที่ใหผูอานคลิกไปเพื่อกรอกความคิดเห็นใหกับ
บล็อกนั้น ๆ หรืออานความเห็นที่มีคนเขียนเขามา
                 - ปฎิทิน (Calendar) บล็อกบางแหงอาจมีปฎิทินอยูดวย โดยในปฎิทินนั้นสามารถ
คลิกตามวันที่ เพื่ออานบทความของวันที่นั้น ๆ ได
                 - บทความยอนหลัง (Archives) บทความเกา หรือบทความยอนหลัง อาจมีการ
จัดเตรียมไวโดยเจาของบล็อก โดยบล็อกแตละแหงอาจจัดเรียงบทความยอนหลังไมเหมือนกัน เชน
จัดเรียงรายเดือน รายสัปดาห รายวัน หรือจะ list บทความทั้งหมดออกมาเลยก็ได
9



                 - ลิงคไปยังเว็บอื่น (Links) เปนจุดเดนและความสนุกของบล็อกอีกอยางหนึ่ง โดย
บล็อกแตละแหง อาจมีลิงคไปยังเว็บอื่นหลากหลายเว็บ บางครั้งเราสามารถเรียก link พวกนี้วา
blogroll
                 - RSS หรือ XML ตัว RSS นี้อาจมีเตรียมไวใหเราโดยอัตโนมัติขึ้นอยูกับ Blogware
หรือ Blog Host ที่เราเลือกใช เชน WordPress หรือ MovableType นั้นจะมี RSS ลิงคไวใหเราโดย
อัตโนมัติ โดยเจา RSS Feed นี้จะชวยใหผูอานเขาถึงบทความของเราไดงายขึ้น โดยการใชโปรแกรม
ชวยอาน Feed ไดดวย บางครั้งนักเขียน Blog คนอื่น ก็อาจใช RSS Feed นี้เพื่อประโยชนในการดึง
ขอมูลไปแสดงในเว็บ หรือบล็อกของตนได
         2.1.4ววการใชงานเว็บบล็อก
                 ผูใชงานบล็อกจะแกไขและบริหารบล็อกผานทางเว็บเบราวเซอรเหมือนการใชงาน
และอานเว็บไซตทั่วไป โดยจะมีรูปแบบบริหารบล็อกที่แตกตางกัน เชนบางระบบที่มีบรรณาธิการของ
บล็อก ผูเขียนหลายคนจะสงเรื่องเขาทางบล็อก และจะตองรอใหบรรณาธิการอนุมัติใหบล็อกเผยแพร
กอน บล็อกถึงจะแสดงผลในเว็บไซตนั้นได ซึ่งจะแตกตางจากบล็อกสวนตัวที่จะใหแสดงผลไดทันที
ผูเขียนบล็อกในปจจุบันจะใชงานบล็อกในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งไมวา ติดตั้งซอฟตแวรของตัวเอง
หรือใชงานบล็อกผานทางเว็บไซตที่ใหบริการบล็อก ผูเขียนบล็อกสามารถใชงานไดทันทีโดยไมตองมี
พื้นฐานความรูในดาน HTML หรือการทําเว็บไซตแตอยางใด ทําใหผูเขียนบล็อกสามารถใชเวลาสวน
ใหญในการบริหารจัดการ เพิ่มเติม ขอมูลและสารสนเทศแทนได นอกจากนี้ระบบการจัดการบล็อกจะ
สนับสนุน ระบบ WYSIWYG ซึ่งทําใหงายตอการเขียน และอาจเพิ่มเติมการมีเทมเพลตในหลายแบบ
ใหเลือกใชสําหรับผูอานบล็อกจะใชงานไดในลักษณะเหมือนอานเว็บไซตทั่วไป และสามารถแสดง
ความเห็นไดในสวนทายของแตละบล็อกโดยอาจจะตองผานการลง ทะเบียนในบางบล็อก นอกจากนี้
ผูอานบล็อกสามารถอานบล็อกไดผานระบบฟด (Feed) ซึ่งมีใหบริการในบล็อกทั่วไป ทําใหผูใช
สามารถอานบล็อกไดโดยตรงผานโปรแกรมตัวอื่นโดยไมจําเปนตอง เขามาสูหนาบล็อกนั้น
                 จากการรวบรวมขอมูลของงานวิจัยทางการศึกษาพบวา ผูสอนในสหรัฐอเมริกานิยมนํา
Blog มาใชในการจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษในโรงเรียนระดับมัธยมกันอยางแพรหลาย
โดยเฉพาะการเสนองานเขียนใน Blog เนื่องจาก Blog มีคุณสมบัติปฏิสัมพันธ (Interactive) ที่ผูอาน
สามารถใหขอคิดเห็นในงานนั้นได ดังนั้น เมื่อผูเรียนเขียนเสร็จ สงงานเขียนของตนเองไวใน Blog จึง
เทากับเปนการเชิญชวนใหผูอานรวมวิจารณแสดงความคิดเห็นงานเขียนของผูเรียน สําหรับผูเรียนที่
เริ่มเขียนการเสนอผลงานเขียนใน Blog เทากับเปนการตีพิมพเผยแพรผลงานของตนเอง อีกทั้งผูเรียน
อาจจะไดรับประโยชนสูงสุดจากผูอานที่เขามาแสดงความเห็นและใหคําแนะนํา รวมทั้งผูเรียนอาจได
เรียนรูวิธี แนวทาง หรือรูปแบบ การเขียนที่ดีจากผูอานที่เปนนักเขียนระดับมืออาชีพ ดังนั้น Blog จึง
10



เปนเสมือนสนามฝกปฏิบัติการเขียนของผูเรียนที่ใหผูเรียนไดขัดเกลา แกไข ปรับปรุง งานเขียนของ
ตนเองจากผูอานที่ไดอานที่ไดมีปฏิสัมพันธกับงานเขียนดวย
                   นอกจากนี้ยังมีงานวิจัยทางการศึกษาในประเทศไทย ที่นิยมนํา Blog มาใชในการ
จัดการเรียนการสอนอีกเปนจํานวนมาก ซึ่งลวนแลวแตกลาววา Blog ชวยใหเกิดปฏิสัมพันธระหวาง
นั ก เรี ย นกั บ ครู นั ก เรี ย นกั บ นั ก เรี ย น รวมทั้ ง นั ก เรี ย นกั บ บุ ค คลภายนอก ทํ า ให นั ก เรี ย นได รั บ
ขอเสนอแนะที่เปนประโยชนในการนํามาปรับปรุงการพัฒนางานเขียนหรือองคความรูของตนเองได
เปนอยางดี
                   Kennedy (2007 : 14) ไดยกตัวอยางการวิจัยเพิ่มเติม คือ การเรียนวิชาการ
หนังสือพิมพที่ Hunterdon เปนวิชาที่ไมใชกระดาษเลย งานของผูเรียนทุกชิ้นจะนําไปไวใน Blog ที่
สรางขึ้ นเฉพาะสํ าหรับ ชั้น เรีย นนี้ เท านั้ น ใหผูเรี ยนทํางานรว มกัน เช น การสืบ คน เรื่องต างๆ จาก
หนังสือพิมพออนไลน เพื่อสงขึ้นไปไวในสวนที่ตนเองรับผิดชอบ กองบรรณาธิการจะประชุมกับผูสอน
เพื่อเลือกเรื่องที่นาสนใจที่สุดในแตละวัด จากการดําเนินการวิธีนี้ ผูสอนพบวาผูเรียนแตละคนจะ
สืบคนขอมูลจากอินเทอรเน็ต เมื่อพบแลวจะสะสมเรื่องตางๆไวใชในชวงแรกของภาคการศึกษา แลว
เขียนเกี่ยวกับเรื่องนี้ตอนปลายภาคการศึกษา นอกจากนี้ ผูสอนยังพบวา การอภิปรายใน Blog เปน
เครื่องมือที่มีประสิทธิภาพที่สุดในการเรียนรูของผูเรียนวิชาการหนังสือพิมพ
                   การใช Blog ในการเรียนการสอนคือการผสมผสานระหวางเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การศึกษาที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ โดยครูจะตองเชื่อมโยงบทเรียน เนื้อหารายวิชา คําสอน แบบฝก
ปฏิ บั ติตา งๆทางวิ ช าการและข อมูล ที่เป ฯประโยชนต อการเรี ย นการสอนอื่ น ๆ นอกจากนี้ การที่
นักเรียนในปจจุบันนิยมใชเครื่องมือสื่อสังคมออนไลนอื่นๆ เชน Facebook, Twitter, Youtube เปน
ตน ครูก็ควรที่จะนําเครื่องมือที่นักเรียนใชบริการอยูเหลานี้ มาใชรวมกับ Blog ในการจัดการเรียนการ
สอนในชั้นเรียน เพื่อฝกฝนใหนักเรียนสามารถใชสื่อสังคมออนไลนในการศึกษา การเรียนรูของตนเอง
ไดอยางมีประสิทธิภาพ ดังนั้นการนําสื่อสังคมออนไลนมาใชในการเรียนการสอนจึงเปนนวัตกรรม
การศึกษาใหมที่ควรพิจารณาเพื่อใชเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอนทุกระดับชั้นของประเทศไทย

2.2ววแนวคิดการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ
            แนวคิ ด การจั ด การเรี ย นรู ท่ี เน น ผู เ รี ย นเป น สํ า คั ญ ตามพระราชบั ญ ญั ติ ก ารศึ ก ษาแห ง ชาติ
พ.ศ. 2542 จากขอมูลนโยบายเกี่ยวกับการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ นํามาสูการทําความ
เขาใจเรื่องหลักการจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ การจัดการเรียนการสอนโดยเนน
ผู เ รี ย นเป น สํ า คัญ หรื อที่รู จั ก ในชื่ อเดิมวา การจัดการเรีย นการสอนโดยยึดผูเรีย นเปน ศูน ย กลาง
(Student Centered หรือ Child Centered) ในยุคของการปฏิรูปการศึกษานี้ไดมีการกําหนดเปน
กฎหมายแลววา ครูทุกคนจะตองใชรูปแบบการจัดการเรียนการสอนโดยยึดผูเรียนเปนสําคัญ จึงเปน
11



ความจําเปนที่ครูทุกคนจะตองใหความสนใจ โดยการศึกษา ทําความเขาใจ และหาแนวทางมาใชใน
การปฏิบัติงานของตนใหประสบผลสําเร็จแนวคิดจากพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542
กลาวถึงการจัดการเรียนรูที่ยอมรับวา บุคคลหรือผูเรียนมีความแตกตางกัน และทุกคนสามารถเรียนรู
ได ดังนั้นในการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ ครูหรือผูจัดการเรียนรูควรมีความเชื่อพื้นฐาน
อยางนอย 3 ประการ คือ (คณะกรรมการการอุดมศึกษา : 2551)
          1.ววเชื่อวาทุกคนมีความแตกตางกัน
          2.ววชื่อวาทุกคนสามารถเรียนรูได และ
          3.ววเชื่อวาการเรียนรูเกิดไดทุกที่ ทุกเวลา
          การจัดการเรียนรูจึงเปนการจัดการบรรยากาศ กิจกรรม สื่อ สถานการณ ฯลฯ ใหผูเรียนเกิด
การเรียนรูไดเต็มตามศักยภาพ ครูจึงจําเปนที่จะตองรูจักผูเรียนอยางรอบดาน และสามารถวิเคราะห
ขอมูลเพื่อนําไปเปนพื้นฐานการออกแบบหรือวางแผนการเรียนรูไดสอดคลองกับผูเรียน สําหรับในการ
จัดกิจกรรมหรือออกแบบการเรียนรู อาจทําไดหลายวิธีการและเทคนิค แตมีขอควรคํานึงวา ในการ
จัดการเรียนรูแตละครั้ง แตละเรื่อง ไดเปดโอกาสใหกับผูเรียนในเรื่องตอไปนี้หรือไม
          1.ววเปดโอกาสใหผูเรียนเปนผูเลือกหรือตัดสินใจในเนื้อหาสาระท่ีสนใจ เปนประโยชนตอตัว
ผูเรียนหรือไม
          2.ววเปดโอกาสใหผูเรียนมีสวนรวมในกิจกรรมการเรียนรู โดยไดคิด ไดรวบรวมความรูและลง
มือปฏิบัติจริงดวยตนเองหรือไม
          จากที่กลาวมาสรุปไดวาแนวคิดการจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนศูนยกลาง เปนความจําเปนที่
ครูทุกคนจะตองใหความสนใจโดยการศึกษา ทาความเขาใจ และหาแนวทางมาใชในการปฏิบัติงาน
ของตนใหป ระสบผลสํ า เร็ จ โดยกระบวนการจัดการเรียนรูที่ยอมรับ วา บุคคลหรือผูเรีย นมีความ
แตกตางกัน และทุกคนสามารถเรียนรูได บนความเชื่อพื้นฐานอยางนอย 3 ประการ คือ เชื่อวาทุกคน
มีความแตกตางกัน เชื่อวาทุกคนสามารถเรียนรูได และ เชื่อวาการเรียนรูเกิดไดทุกที่ ทุกเวลา การ
จัดการเรียนรูจึงเปนการจัดการบรรยากาศ กิจกรรม สื่อ สถานการณ ฯลฯ ใหผูเรียนเกิดการเรียนรูได
เต็มตามศักยภาพ ครูจึงจําเปนที่จะตองรูจักผูเรียนอยางรอบดาน และสามารถวิเคราะหขอมูลเพื่อ
นําไปเปนพื้นฐานการออกแบบหรือวางแผนการเรียนรูไดส อดคลองกับผูเรียน และ เปดโอกาสให
นักเรียนเปนผูเลือกหรือตัดสินใจในเน้ือหาสาระที่สนใจ เปนประโยชนตอตัวผูเรียนหรือไม เปดโอกาส
ใหผูเรียนมีสวนรวมในกิจกรรมการเรียนรู โดยไดคิด ไดรวบรวมความรูและลงมือปฏิบัติจริงดวยตนเอง
โดยกิจกรรมการเรียนรูที่ดีที่ควรชวยใหผูเรียนไดมีสวนรวมทางดานรางกาย ทางสติปญญา ทางสังคม
และทางอารมณ
12




            2.2.1ววหลักการของการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ
                    การจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญคือการเรียนรูที่ตองการใหเกิดขึ้นกับ
ผูเรียนมากที่สุด วิธีดําเนินการ คือใหเสรีภาพแกผูเรียนในการบรรลุเปนผูมีปญญา ดวยการเรียนรูดวย
ตนเอง โดยผานประสบการณตรง เชน ประสบการณในการแกปญหา การเรียนการสอนตองมีการ
พัฒนาและกระตุนสติปญญาใหมีความสามารถในการใชเหตุผล รูจักคิดวิเคราะห และใชศักยภาพของ
ตนไดอยางเต็มที่ สามารถปรับตนใหประสานกับสภาพแวดลอม ทั้งที่เปนมนุษย ธรรมชาติ และความ
เจริญทางเทคโนโลยี เปนการศึกษาที่พัฒนาคนใหมีชีวิตครบ 4 ดาน คือ ภาวิตกาย หมายถึง กายที่
เจริญแลวหรือพัฒนาแลว มีความสัมพันธกับสภาพแวดลอมทางกายไดอยางดี ภาวิตศีล หมายถึง มีศีล
ที่เจริญแลวหรือพัฒนาแลว มีพฤติกรรมทางสังคมที่พัฒนาแลวดํารงอยูในวินัย กอสันติสุข ภาวิตจิต
หมายถึง มีจิตใจที่เจริญแลวหรือพัฒนาแลว สมบูรณดวยคุณภาพจิต สมรรถภาพจิต และสุขภาพจิต
และ ภาวิ ตป ญ ญา หมายถึ ง มีป ญ ญาที่เ จริ ญ แลว หรือ พัฒ นาแลว มี ปญ ญาที่เป น อิ ส ระจากการ
ครอบงําของกิเลส รูเขาใจและเห็นสิ่งทั้งหลายตามความเปนจริง รูเทาทัน จนมีความเปนอิสระโดย
สมบูรณ (สุมน, 2518:19 และพระราชวรมุน,ี 2530:116 อางถึง ในธํารง, 2542:47-48)
                    ในวงการศึกษาตา งก็ย อมรับ วาการจัดการศึกษาที่ดีจ ะตองคํานึงถึงธรรมชาติของ
ผู เ รี ย นแต ล ะคนว า มี ค วามแตกต า งกั น ในด า นต า งๆ ได แ ก เชาวน ป ญ ญา บุ ค ลิ ก ภาพ ความคิ ด
สรางสรรคและพฤติกรรมอื่นๆ การจัดการเรียนการสอน จึงมุงใหเกิดการเรียนรู ทั้งดานความเขาใจ
ทักษะและเจตคติไปพรอมๆ กัน ในระบบการเรียน ผูเรียนควรเปนผูแสดงออกมากกวาผูสอน การจัด
กิจกรรมการเรียนการสอนควรใหผูเรียนมีโอกาสไดแสดงออกมากที่สุด ใหความสําคัญกับความรูสึกนึก
คิด และคานิยมของผูเรียน การจัดบรรยากาศในการเรียน ควรเปนแบบรวมมือมากกวาการแขงขัน
ครูทําหนาที่ชวยเหลือใหกําลังใจ และอํานวยความสะดวกในขบวนการเรียนของผูเรียนการจัดการ
เรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญตามแนวทางการจัดการเรียนรูในพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ
พ.ศ. 2542 มีเทคนิคและวิธีการศึกษาคนควา ดังนี้ (คณะอนุกรรมการปฏิรูปการเรียนรูแผนกวิจัย,
กรมวิชาการ, กระทรวงศึกษาธการ, 2544:6-7)
                                   ิ
                    1. การวิเคราะหผูเรียน การรูจักผูเรียนเปนรายบุคคลหรือรายกลุม ชวยใหครูผูสอนมี
ขอมูลที่สําคัญในการออกแบบการจัดการเรียนรูที่เหมาะสม หลักการวิเคราะหผูเรียนควรคํานึงถึง
องคประกอบที่สําคัญ 3 องคประกอบ คือธรรมชาติของผูเรียน ประสบการณ และพื้นฐานความรูเดิม
วิธีการเรียนรูของผูเรียน
                    2. การใชจิตวิทยาการเรียนรู และการบูรณาการคุณธรรม คานิยมในการจัดกิจกรรม
การเรียนรู
13



                3. การวิเคราะหหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานเชื่อมโยงกับการพัฒนาหลักสูตรและ
การจัดการเรียนรูในสถานศึกษา
                4. การออกแบบการเรียนรูตามสภาพจริงใหสอดคลองกับมาตรฐานหลักสูตรและ
เชื่อมโยงบูรณาการระหวางกลุมวิชาโดยใชผลการเรียนรูที่กําหนดเปนหลัก และใชกระบวนการวิจัย
เปนสวนหนึ่งของการจัดการเรียนรู เพื่อมุงพัฒนาการเรียนรูของผูเรียน
                5. การออกแบบการวัดและประเมินผลตามสภาพจริงโดยใชเครื่องมืดวัดที่หลากหลาย
เพื่อสะทอนภาพไดชัดเจนและแนนอนวาผูเรียนเกิดการเรียนรูดานตางๆ อยางไร ทําใหไดขอมูลของ
ผูเรียนรอบดานที่สอดคลองกับความเปนจริง เพื่อประกอบการตัดสินผูเรียนไดอยางถูกตองและมี
ประสิทธิภาพ
         2.2.2วววิธีสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ
                จากรายงานการวิจัยของทักษิณา เครือหงส (2550) ไดเสนอแนวทางสําหรับผูสอนที่ใช
หลักการสอนโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ ไวดังนี้
                การสอนโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ มีลักษณะดังตอไปนี้
                1. ครู ผู ส อนมีความรู ความเขาใจ รูเปาหมายของการจัดการศึกษาและหลักสูตร
การศึกษาอุดมศึกษา โดยการศึกษาขอมูล พระราชบัญญัติการศึกษา ตําราเอกสารหลักสูตร หลักสูตร
สาขาวิชา ลักษณะรายวิชาจัดทําแผน การสอนและเอกสารประกอบการสอน
                2. ครูผูสอนมีการวิเคราะหศักยภาพของผูเรียนและเขาใจผูเรียนเปนรายบุคคล ใช
หลักการวิ เคราะห ผูเรียน เชน วิเคราะหจากรูปแบบการเรียนรู ความภูมิใจตนเอง เจตคติตอวิช า
ความคาดหวังในการเรียน ใชแบบวัดความรูพื้นฐานของผูเรียน (Pretest) กอนเรียน วัดผลการเรียน
ของผูเรียนเปนรายหนวยและมีการมอบหมายงานใหผูเรียนในระหวางการเรียนการสอน
                3. ครูผูสอนมีความสามารถในการจัดประสบการณที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ โดยการ
จัดทําแผนการจัดประสบการณการเรียนรู เชน การบูรณาการเนื้อหา การจัดการเรียนรูเพื่อชี้แนะ การ
รูคิด
                4. ครูผูสอนมีความสามารถในการใชเทคโนโลยีในการพัฒนาการเรียนรูของตนเอง
และผูเรียน เชน ใชคอมพิวเตอรในการหาความรูจากเครือขายอินเทอรเน็ต มอบหมายใหนักศึกษา
คนควาและนํามาอภิปรายในชั้นเรียน ฝกการใชโปรแกรมสําเร็จรูปในการประมวลขอมูล และจัดทํา
รายงาน พัฒนาและใชสื่อการสอนโดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศ
                5. ครูผูสอนมีการประเมินผลการเรียนการสอนที่สอดคลองกับสภาพการเรียนรูที่จัด
ใหผูเรียนและอิงพัฒนาการของผูเรียน เชน มอบหมายงานเดี่ยวและงานกลุม ประเมินผลการเรียนรู
จากผลงานที่มอบหมายในระหวางเรียน และทดสอบหลังเรียน
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรายวิชาระบบการจัดการ
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรายวิชาระบบการจัดการ
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรายวิชาระบบการจัดการ
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรายวิชาระบบการจัดการ
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรายวิชาระบบการจัดการ
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรายวิชาระบบการจัดการ
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรายวิชาระบบการจัดการ
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรายวิชาระบบการจัดการ
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรายวิชาระบบการจัดการ
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรายวิชาระบบการจัดการ
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรายวิชาระบบการจัดการ
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรายวิชาระบบการจัดการ
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรายวิชาระบบการจัดการ
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรายวิชาระบบการจัดการ
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรายวิชาระบบการจัดการ
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรายวิชาระบบการจัดการ
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรายวิชาระบบการจัดการ
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรายวิชาระบบการจัดการ
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรายวิชาระบบการจัดการ
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรายวิชาระบบการจัดการ
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรายวิชาระบบการจัดการ
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรายวิชาระบบการจัดการ
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรายวิชาระบบการจัดการ
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรายวิชาระบบการจัดการ
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรายวิชาระบบการจัดการ
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรายวิชาระบบการจัดการ
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรายวิชาระบบการจัดการ
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรายวิชาระบบการจัดการ
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรายวิชาระบบการจัดการ
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรายวิชาระบบการจัดการ
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรายวิชาระบบการจัดการ
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรายวิชาระบบการจัดการ
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรายวิชาระบบการจัดการ
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรายวิชาระบบการจัดการ
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรายวิชาระบบการจัดการ
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรายวิชาระบบการจัดการ
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรายวิชาระบบการจัดการ
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรายวิชาระบบการจัดการ
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรายวิชาระบบการจัดการ
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรายวิชาระบบการจัดการ
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรายวิชาระบบการจัดการ
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรายวิชาระบบการจัดการ
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรายวิชาระบบการจัดการ
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรายวิชาระบบการจัดการ
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรายวิชาระบบการจัดการ
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรายวิชาระบบการจัดการ
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรายวิชาระบบการจัดการ
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรายวิชาระบบการจัดการ
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรายวิชาระบบการจัดการ
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรายวิชาระบบการจัดการ
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรายวิชาระบบการจัดการ

More Related Content

What's hot

เรื่อง ขนมจีบ
 เรื่อง  ขนมจีบ เรื่อง  ขนมจีบ
เรื่อง ขนมจีบTook Kata
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานSattawat Backer
 
คำนำไอเอสใหม่
คำนำไอเอสใหม่คำนำไอเอสใหม่
คำนำไอเอสใหม่Thunrada Sukkaseam
 
การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5Puet Mp
 
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานWareerut Hunter
 
2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรมkrupornpana55
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติดguestf57acc
 
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษาResume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษาMontree Dangreung
 
โครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดี
โครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดีโครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดี
โครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดีKrittamook Sansumdang
 
โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์xavi2536
 
โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย ssuserd40879
 
สื่อการสอนเกี่ยวกับทัศนธาตุในงานศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
สื่อการสอนเกี่ยวกับทัศนธาตุในงานศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2สื่อการสอนเกี่ยวกับทัศนธาตุในงานศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2
สื่อการสอนเกี่ยวกับทัศนธาตุในงานศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2พัน พัน
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีKawinTheSinestron
 
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองRung Kru
 
โครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่ม
โครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่มโครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่ม
โครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่มeeii
 
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจสรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจAnnop Phetchakhong
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษาkorakate
 

What's hot (20)

เรื่อง ขนมจีบ
 เรื่อง  ขนมจีบ เรื่อง  ขนมจีบ
เรื่อง ขนมจีบ
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
คำนำไอเอสใหม่
คำนำไอเอสใหม่คำนำไอเอสใหม่
คำนำไอเอสใหม่
 
การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
 
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
 
2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
 
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษาResume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
 
โครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดี
โครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดีโครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดี
โครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดี
 
โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์
 
โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย
 
โครงการ เยี่ยมบ้าน
โครงการ     เยี่ยมบ้านโครงการ     เยี่ยมบ้าน
โครงการ เยี่ยมบ้าน
 
สื่อการสอนเกี่ยวกับทัศนธาตุในงานศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
สื่อการสอนเกี่ยวกับทัศนธาตุในงานศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2สื่อการสอนเกี่ยวกับทัศนธาตุในงานศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่  2
สื่อการสอนเกี่ยวกับทัศนธาตุในงานศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
 
แบบเสนอโครงการวิจัย ว-สอศ.-2
แบบเสนอโครงการวิจัย ว-สอศ.-2แบบเสนอโครงการวิจัย ว-สอศ.-2
แบบเสนอโครงการวิจัย ว-สอศ.-2
 
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
 
โครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่ม
โครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่มโครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่ม
โครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่ม
 
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจสรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
 
Ictoutdoor2012
Ictoutdoor2012Ictoutdoor2012
Ictoutdoor2012
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
 

Similar to การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรายวิชาระบบการจัดการ

รายงานความก้าวหน้าวิจัย
รายงานความก้าวหน้าวิจัยรายงานความก้าวหน้าวิจัย
รายงานความก้าวหน้าวิจัยNang Ka Nangnarak
 
แผนคอมฯ ม.2 2
แผนคอมฯ ม.2 2แผนคอมฯ ม.2 2
แผนคอมฯ ม.2 2Surapong Jakang
 
แบบฟอร์มโครงงานภาษาอังกฤษ
แบบฟอร์มโครงงานภาษาอังกฤษแบบฟอร์มโครงงานภาษาอังกฤษ
แบบฟอร์มโครงงานภาษาอังกฤษสมใจ จันสุกสี
 
แผนคอมฯ ม.2 4
แผนคอมฯ ม.2 4แผนคอมฯ ม.2 4
แผนคอมฯ ม.2 4Surapong Jakang
 
แผนคอมฯ ม.2 3
แผนคอมฯ ม.2 3แผนคอมฯ ม.2 3
แผนคอมฯ ม.2 3Surapong Jakang
 
Sar ครู..
Sar ครู..Sar ครู..
Sar ครู..krunoony
 
ตยคู่มือ
ตยคู่มือตยคู่มือ
ตยคู่มือunyaparnss
 
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timssNirut Uthatip
 
Scireleaseditem pisa-timss
Scireleaseditem pisa-timssScireleaseditem pisa-timss
Scireleaseditem pisa-timssBiobiome
 
ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSS
ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSSตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSS
ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSSkunkrooyim
 
12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timss
12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timss12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timss
12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timssNaughtily NaRee
 
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timssNirut Uthatip
 
บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555
บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555
บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555ทับทิม เจริญตา
 

Similar to การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรายวิชาระบบการจัดการ (20)

รายงานความก้าวหน้าวิจัย
รายงานความก้าวหน้าวิจัยรายงานความก้าวหน้าวิจัย
รายงานความก้าวหน้าวิจัย
 
แผนคอมฯ ม.2 2
แผนคอมฯ ม.2 2แผนคอมฯ ม.2 2
แผนคอมฯ ม.2 2
 
แบบฟอร์มโครงงานภาษาอังกฤษ
แบบฟอร์มโครงงานภาษาอังกฤษแบบฟอร์มโครงงานภาษาอังกฤษ
แบบฟอร์มโครงงานภาษาอังกฤษ
 
แผนคอมฯ ม.2 4
แผนคอมฯ ม.2 4แผนคอมฯ ม.2 4
แผนคอมฯ ม.2 4
 
R24
R24R24
R24
 
แผนคอมฯ ม.2 3
แผนคอมฯ ม.2 3แผนคอมฯ ม.2 3
แผนคอมฯ ม.2 3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่3แผนการจัดการเรียนรู้ที่3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่3
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่  2หน่วยการเรียนรู้ที่  2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่6แผนการจัดการเรียนรู้ที่6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่6
 
Sar ครู..
Sar ครู..Sar ครู..
Sar ครู..
 
ตยคู่มือ
ตยคู่มือตยคู่มือ
ตยคู่มือ
 
Pisa
PisaPisa
Pisa
 
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
 
Scireleaseditem pisa-timss
Scireleaseditem pisa-timssScireleaseditem pisa-timss
Scireleaseditem pisa-timss
 
ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSS
ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSSตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSS
ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSS
 
12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timss
12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timss12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timss
12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timss
 
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
 
Unit6
Unit6Unit6
Unit6
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่2แผนการจัดการเรียนรู้ที่2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่2
 
บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555
บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555
บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555
 

การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรายวิชาระบบการจัดการ

  • 1. รายงานวิจัยในชั้นเรียน การพัฒนาการเรียนการสอนผานเว็บบล็อก เรื่อง คําสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรายวิชาระบบการจัดการฐานขอมูล ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนหนองเสือวิทยาคม นายอาสมาน ฮาแว รายงานการวิจัยนี้เปนสวนหนึ่งของวิชาการฝกประสบการณวิชาชีพครู 2 สาขาวิชาคอมพิวเตอรศึกษา คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2555
  • 2. รายงานวิจัยในชั้นเรียน การพัฒนาการเรียนการสอนผานเว็บบล็อก เรื่อง คําสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรายวิชาระบบการจัดการฐานขอมูล ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนหนองเสือวิทยาคม นายอาสมาน ฮาแว รายงานการวิจัยนี้เปนสวนหนึ่งของวิชาการฝกประสบการณวิชาชีพครู 2 สาขาวิชาคอมพิวเตอรศึกษา คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2555
  • 3. ก ชื่องานวิจัย การพัฒนาการเรียนการสอนผานเว็บบล็อก เรื่อง คําสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรายวิชาระบบการจัดการฐานขอมูล ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนหนองเสือวิทยาคม ชื่อผูวิจัย นายอาสมาน ฮาแว สาขาวิชา/คณะ เทคโนโลยีสารสนเทศการศึกษา ครุศาสตรอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี อาจารยที่ปรึกษาการวิจัย ดร.รสริน เจิมไธสง ปที่ทําวิจัย 2556 บทคัดยอ งานวิ จั ย เรื่ อ ง การพั ฒ นาการเรี ย นการสอนผ า นเว็ บ บล็ อ ก เรื่ อ ง คํ า สั่ ง พื้ น ฐานของ Visual Basic ในรายวิ ช าระบบการจัดการฐานขอมูล ของนักเรีย นชั้น มัธ ยมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนหนองเสือวิทยาคม มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) พัฒนาเว็บบล็อกที่ใชในการเรียนการสอนวิชาระบบ การจัดการฐานขอมูล เรื่อง คําสั่งพื้นฐานของ Visual Basic สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 และ 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาป ที่ 4 จากการเรียนดวยกิจกรรมการเรียนรูโดยใชเว็บบล็อกเปนเครื่องมือในการจัดกิจกรรมการเรียนรู การวิจัยครั้งนี้ ไดดําเนินการวิจัยกับกลุมตัวอยาง จํานวน 5 คน ซึ่งเปนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4/4 เครื่องมือที่ใชการวิจัย คือ กิจกรรมการเรียนรูผานเว็บบล็อกและแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน สถิติที่ใชไดแก รอยละ สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสถิต t-test ผลการวิจัยพบวา หลังจากผานการจัดการเรียนรู เรื่อง คําสั่งพื้นฐาน Visual Basic ผานเว็บ บล็อก นักเรียนมีคะแนนทดสอบหลังเรียนสูงกวาคะแนนทดสอบกอนเรียนผานเว็บบล็อกอยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
  • 4. กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยในชั้นเรียนฉบับนี้สําเร็จไดดวยความกรุณาเปนอยางยิ่งจากทาน ดร.รสริน เจิมไธสง ที่ใหคําปรึกษา และขอเสนอแนะตางๆที่เปนประโยชนอยางมาก รวมทั้งตรวจสอบแกไขขอบกพรอง ตางๆ จากงานวิจัยในชั้นเรียนฉบับนี้ใหสําเร็จสมบูรณ ผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณเปนอยางสูงไว ณ โอกาสนี้ ขอขอบพระคุ ณอาจารยเสาวณีย สมบูรณศิโรรัตน อาจารยประจําวิชาคอมพิวเตอรและ อาจารยพี่เลี้ยง โรงเรียนหนองเสือวิทยาคม ที่ไดกรุณาใหคําแนะนําและขอเสนอแนะในการทําวิจัย ครั้งนี้ ขอขอบพระคุณทานผูอํานวยการโรงเรียนและขอบใจนักเรียนโรงเรียนหนองเสือวิทยาคม สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 ที่ใหความรวมมือเปนอยางดียิ่งในการทดลองและเก็บ ขอมูลในการวิจัยครั้งนี้เปนอยางดี สุดทายนี้ขอขอบพระคุณบิดาและมารดา ที่เปนกําลังใจและใหการสนับสนุนทุนในการวิจัย ครั้งนี้จนสําเร็จลุลวงไปดวยดี จึงขอขอบพระคุณมา ณ ที่นี้ อาสมาน ฮาแว
  • 5. สารบัญ หนา บทคัดยอ ก กิตติกรรมประกาศ ข บทที่ 1ววบทนํา………………………………………………………………………………………………………. 1 1.1ววความเปนมาและความสําคัญของปญหา……………………………...……………….. 1 1.2วววัตถุประสงคการวิจัย………………………………………………………………………….. 2 1.3ววคําถามการวิจัย………….………………………………………………………………………. 2 1.4ววสมมุติฐานการวิจัย…….……………………………………………...……………………….. 2 1.5ววขอบเขตของการวจัย…..…………………………………………………......................... ิ 3 1.6ววขอจํากัดของการวิจัย………...………………….……………………………………………. 3 1.7ววนิยามศัพท…………………………………………………………………………………………. 3 1.8ววผลที่คาดวาจะไดรับ…………………………………………………………………………….. 4 2ววเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ………………………….………………………................... 5 2.1ววการจัดการเรียนการสอนโดยใชเว็บบล็อก..........……………………………………... 5 2.2ววแนวคิดการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ.………………………………….... 10 16 2.3วว ปฏิสัมพันธกับการเรียนรู ..........................................................…………………. 16 16 19 2.4ววงานวิจัยที่เกี่ยวของ………………………………………………………........................... 20 3วววิธีดําเนินการวิจัย..................…………………………………………………………………....... 22 3.1ววประชากรและกลุมเปาหมาย………………………….....................…………………… 22 3.2ววแผนแบบการทดลองที่ใชในการวิจัย....................…………………………………….. 23 3.3ววเครื่องมือที่ใชในการวิจัย......................…………………………………………………… 23 3.4วววิธีการสรางเครื่องมือและหาคุณภาพเครื่องมือ.……………………………….......... 23 3.5วววิธีดําเนินการวิจัย........................................................................................... 24 3.6ววการวิเคราะหขอมูลและสถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล.................................. 25
  • 6. สารบัญ (ตอ) หนา 4ววผลการดําเนินงานวิจัย......................…………………………………………….......……..…. 27 4.1ววผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากแบบทดสอบกอนเรียน และหลังเรียนดวยกิจกรรมการเรียนรูโดยใชเว็บบล็อกเปนเครื่องมือ ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู……………………………......................................... 27 5ววสรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ…................................……………………….. 28 5.1ววสรุปผลการดําเนินงาน.......................……………………………………………………. 28 5.2ววอภิปรายผลดําเนินงาน.......................…………………………………………………… 28 5.3ววขอเสนอแนะ……………………………………………...........................………………… 30 บรรณานุกรม………………………………………………………………………….......................................... 31 ภาคผนวก…………………………………….………………….………………...................................…………. 32 ภาคผนวก กววแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน….………………………………... 33 ภาคผนวก ขววคะแนนกอนเรียนและหลังเรียนดวยเว็บบล็อก...................………..… 39 ภาคผนวก คววภาพเว็บบล็อกของรายวิชาและตัวอยางเว็บบล็อกของนักเรียน…. 41 ภาคผนวก งววแผนการจัดการเรียนรู หนวยที่ 6 คําสั่งพื้นฐานของ Visual Basic วิชาระบบการจัดการฐานขอมูล.....................................................…. 46 ประวัติยอผูวิจัย....................…………………………………………………............................................. 64
  • 7. สารบัญตาราง ตารางที่ หนา 3-1ววแบบแผนการวิจัย One Group Pretest – Posttest Design……………………… 23 4-1ววตารางเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนและหลังเรียน ดวยกิจกรรมการเรียนรูโดยใชเว็บบล็อก…........................................................... 27 ข-1ววตารางเปรียบเทียบคะแนนกอนเรียนและหลังเรียนดวยเว็บบล็อก.................…… 39
  • 8. สารบัญภาพ ภาพที่ หนา 2-1ววแผนภาพระบบการออกแบบการเรียนการสอน………………………………………………… 15 2-2ววแผนภาพการวางแผนหรือการออกแบบการเรียนการสอน ที่เนนผูเรียนเปนศูนยกลาง…………………………...............................................……… 16 ค-1ววเว็บบล็อกรายวิชาระบบการจัดการฐานขอมูล.........…….………………………………….. 42 ค-2ววตัวอยางเนื้อหาที่ใชเว็บบล็อกรายวิชา.……………….………………………....................... 42 ค-3ววเว็บบล็อกของนักเรียน (นายกฤษดา เมืองสงา)....……………………………….…………... 43 ค-4ววเว็บบล็อกของนักเรียน (นางสาวนิภัทรา บุญประสงค)……………………................... 43 ค-5ววเว็บบล็อกของนักเรียน (นายอัษฎาวุธ รักเมือง)...........…………………………............. 44 ค-6ววเว็บบล็อกของนักเรียน (นางสาวนัฐธิราภ บุญยังประเสริฐ)…………………................ 44 ค-7ววเว็บบล็อกของนักเรียน (นางสาวรังสิมา เกตุแกว)................................................... 45 ค-8ววตัวอยางการรวมแสดงความคิดเห็นของนักเรียน...................................................... 45
  • 9. บทที่ 1 บทนํา 1.1ววความเปนมาและความสําคัญของปญหา ปจจุบันเทคโนโลยีได เข ามามีบทบาทตอการศึกษามากขึ้น นั้น ก็คือ การนํ าระบบเครือขาย อิน เทอรเ น็ ตมาใช ในการเรี ย นการสอนอยางกวางขวาง เนื่องจากอิน เทอรเน็ตเปน เทคโนโลยีที่มี ศักยภาพในการทํางานสู ง มีการเชื่อมโยงเครือขายคอมพิว เตอรที่มีอยูทั่วโลกเขาดวยกัน เพื่อให คอมพิวเตอรทุกเครื่องหรือทุกเครือขายสามารถติดตอถึงกันได สงผลใหผูเรียนสามารถรับสงขาวสาร ขอมูลรูปแบบตางๆถึงกันไดดวยความสะดวกและรวดเร็ว ซึ่งอินเทอรเน็ตมีรูปแบบตางๆที่หลากหลาย ดังนั้น นักการศึกษาจึงพยายามหารูปแบบมาใชอยางเต็มที่เพื่อสนับสนุนการเรียนการสอน นั่นคือ การเรียนการสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต (Web-Based Instruction) เปนการนําเสนอโปรแกรม บทเรียนผานเว็บเพจ โดยนําเสนอผานเวิลด ไวด เว็บ เชน เว็บบล็อก เปนตน “เว็บบล็อก” (Web blog) หรือเรียกสั้นๆวา “บล็อก” หมายถึง เว็บไซตที่ใชสําหรับเขียน บันทึก (Journal) และแสดงผลการบันทึกโดยการเรียนลําดับจากปจจุบันไปหาอดีต โดยทั่วไปบล็อก จะประกอบดวยตัวอักษร (Text) ภาพนิ่ง (Images) สวนเชื่อมโยง (Links) ไปหาบล็อกหรือเว็บไซต อื่นๆสว นที่สําคัญของบล็อก คือ ความสามารถในการใหผูอานแสดงความคิดเห็นแบบปฏิสัมพัน ธ (Interactive) ผูเรียนสามารถใชบล็อกในการเรียนและการจัดการเรียนรูไดตามประเด็นดังตอไปนี้ เชน ใชบล็อกสะทอนความคิดเห็นในเรื่องที่ผูเรียนไดรับประสบการณหรือเรียนมา แบงปนสิ่งที่เรียน มากับเพื่อน สามารถใชบล็อกในการถายทอดความรูความเขาใจของตนเองจากการที่ไดเรียนมาในชั้น เรี ยนหรือจากการไปศึกษา คน ควาและสืบคน ขอมูลดว ยตนเอง นํามาเขีย น เรียบเรีย ง สรุปและ เชื่อมโยงเนื้อหาหรือขอมูลเหลานั้นแลวนําไปไวในบล็อกของวิชาที่ไดเรียนเพื่อใหเพื่อนๆไดเขาไปอาน ส ง หรื อ ทบทวนงานที่ ไ ด รั บ มอบหมายจากผู ส อนและใช บ ล็ อ กระดมความคิ ด ในการทํ า งานกลุ ม เนื่องจากบล็อกมีคุณสมบัติปฏิสัมพันธ ทําใหใชบล็อกเปนเครื่องมือในการทํางานกลุมได ผูเรียนซึ่งเปน ผูอานและผูใชรวมแสดงความคิดเห็นผานบล็อกไดเหมือนนั่งรวมกลุมกับเพื่อนๆ แลว ระดมความ คิดเห็นตามเวลาที่สะดวก และอยูในระยะเวลาที่กําหนด เปนตน จากสภาพและปญหาในการจัดการ เรียนการสอนในปจจุบั น ของนักเรียนชั้นมัธ ยมศึกษาป ที่ 4/4 ที่เรียนรายวิชาระบบการจัดการ ฐานขอมูล เมื่อเรียนจบเนื้อหาในแตละสัปดาหแลว นักเรียนไมสามารถจับใจความของเนื้อหาที่เรียน
  • 10. 2 และลืมเนื้อหา อีกทั้งยังไมมีการทบทวนเนื้อหา เนื่องจากรายวิชาระบบการจัดการฐานขอมูลเปนวิชา ที่ตองมีการปฏิบัติและวัดผลดวยการฝกปฏิบัติพรอมทั้งนําเสนอชิ้นแลว ซึ่งอาจจะเปนดวยสาเหตุ หลายประการ เชน เนื้อหาในการเรียนวิชานี้คอนขางซับซอน ยากและสรุปใจความไมคอยได อีกทั้ง ครูผูสอนไมสามารถตรวจชิ้นงานของนักเรียนไดทั่วถึงทุกคน และอีกประการหนึ่งในการฝกปฏิบัติลง มือทําชิ้นงานในแตละชิ้นจําเปนจะตองใชเวลาสมาธิและความจําในการเขียนโคดคําสั่ง เปนตน จากปญหาในการจัดการเรียนการสอนวิชาระบบการจัดการฐานขอมูลและประโยชนของการใช เว็บบล็อกในการจัดการเรียนการสอนที่ไดกลาวขางตน ผูวิจัยจึงมีแนวที่จะนําเว็บบล็อกมาใชในการ จัดการเรียนการสอน เพื่อนกระตุนใหนักเรียนเกิดความสนใจใฝเรียนรู และสามารถสรางชิ้นงานและ นํามาเผยแพร เพื่อใหนักเรียนมีปฏิสัมพันธกันระหวางนักเรียนดวยกันและนักเรียนกับครูโดยการ แสดงความคิดเห็น ทําใหเกิดการเรียนรูและแลกเปลี่ยนขอมูล โดยการบันทึกลงในเว็บบล็อกของวิชา 1.2วววัตถุประสงคการวิจัย 1. เพื่อพัฒนาเว็บบล็อกที่ใชในการเรียนการสอนวิชาระบบการจัดการฐานขอมูล เรื่อง คําสั่ง พื้นฐานของ Visual Basic สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 2. เพื่ อเปรี ยบเทีย บผลสั มฤทธิ์ทางการเรี ยนกอนเรี ยนและหลังเรีย นของนักเรีย นชั้น มัธยมศึกษาปที่ 4 จากการเรียนดวยกิจกรรมการเรียนรูโดยใชเว็บบล็อกเปนเครื่องมือในการจัด กิจกรรมการเรียนรู 1.3ววคําถามการวิจัย การนําการจัดการเรียนรูโดยใชเว็บบล็อกมาใชในการจัดกิจกรรมการเรียนรูในรายวิชาระบบ การจัดการฐานขอมูล เรื่อง คําสั่งพื้นฐานของ Visual Basic จะทําใหนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนเพิ่มขึ้นหรือไม 1.4ววสมมุตฐานการวิจัย ิ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนหลังเรียนดวยการจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใชเว็บบล็อก เปนเครื่องมือในการจัดกิจกรรมการเรียนรูสูงกวากอนเรียน
  • 11. 3 1.5ววขอบเขตของการวิจัย การวิจัยในครั้งนี้ เปนงานวิจัยในชั้นเรียน ที่มุงศึกษาการมีสวนรวมและการมีปฏิสัมพันธในการ เรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ โดยนําเว็บบล็อกมาเปนเครื่องมือและทําการวิจัยและศึกษากับนักเรียน ที่ผูวิจัยดําเนินการสอน ในภาคเรียนที่ 2/2555 1.ววขอบเขตดานเนื้อหาสาระในการวิจัย เนื้ อหาสาระที่ใช ในการวิจัยในครั้งนี้เปน เนื้อหาสาระที่ใชในการจัดการเรีย นการสอน นักเรียนในชั้นเรียน โดยจัดการเรียนการสอนผานเครือขายออนไลน นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4/4 วิชาระบบการจัดการฐานขอมูล เรื่อง คําสั่งพื้นฐานของ Visual Basic 2.ววขอบเขตดานประชากรและกลุมตัวอยาง การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยในชั้นเรียน ที่ผูวิจัยไดดําเนินการสอนในภาคเรียนที่ 2/2554 เปนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4/4 กลุมเปาหมายในการวิจัยในครั้งนี้ จํานวน 5 คน 3.ววเครื่องมือที่ใชในการวิจัย เครื่องมือการวิจัย ประกอบดวย กิจกรรมการเรียนรูบนเว็บบล็อก แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และ แบบสอบถามความคิดเห็นของผูเรียนที่มีตอ การจัดการเรียนรูโดยใชเว็บบล็อก 4.ววระยะเวลาในการวิจัย การดําเนินการวิจัย ระหวางเดือน มกราคม – มีนาคม 2556 5.ววตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรตน : การจัดการเรียนรูผานเว็บบล็อก ตัวแปรตาม : ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาระบบการจัดการฐานขอมูล 1.6ววขอจํากัดของการวิจัย ในการดําเนินการวิจัยครั้งนี้ กลุมตัวอยางจําเปนจะตองมีเครื่องคอมพิวเตอรสวนบุคคลที่มีการ เชื่อมตอระบบเครือขายอินเทอรเน็ต และกลุมตัวอยางจะตองเปนสมาชิกของอีเมลของผูใหบริการ Gmail เพื่อยืนยันตัวบุคคลในการเขาใชงานเว็บบล็อก จากขอจํากัดดังกลาวทําใหตองลดจํานวนกลุม ตัวอยางใหนอยลงเพื่อใหสะดวกตอการดําเนินการวิจัยตอไป 1.7ววนิยามศัพท การจัดการเรียนรูผานเว็บบล็อก หมายถึง การจั ด การเรี ย นรู โ ดยเน น ให ผู เ รี ย น สามารถเรียนรูไดดวยตนเองโดยมีเนื้อหาที่เหมาะสมถูกเผยแพรในเว็บบล็อก เว็บบล็อก หมายถึง เว็บไซตชนิดหนึ่ง ซึ่งเนื้อหาหรือ Entry จะถูกเขียน
  • 12. 4 ตามลําดับเวลาและแสดงผลยอนกลับตามลําดับวัน เดือน ป หมายความวา เนื้อหาที่เราเขียนลาสุดจะ แสดงเปนลําดับแรก การปฏิสัมพันธ หมายถึง รอยละของกิจกรรมในประเด็นการถาม-ตอบที่ผูเรียนได แลกเปลี่ยนเรียนรูตอจํานวนผูเรียนในกลุมซึ่งอาจจะเปนกิจกรรมระหวางผูเรียนกับผูเรียน หรือผูเรียน กบผูสอนผานประเด็นถาม-ตอบในการเรียนรูของเว็บบล็อก ั กิจกรรมถาม-ตอบ หมายถึง สถานการณปญหา เงื่อนไข คําถามและกิจกรรม ที่ผูสอน รวมกับผูเรียนตั้งประเด็นขึ้นมา เพื่อใหผูเรียน ศึกษาคนควาและตอบคาถามตามภารกิจที่กําหนด โดย ผูเรียนสามารถอธิบาย หรือแสดงการแกปญหาผานประเด็นที่กําหนดไว ทั้งนี้การแกปญหานั้น อาจจะ เปนงานเดี่ยว หรืองานกลุมก็ได ผูเรียนมีโอกาสถามตอบขอสงสัย หรือแสดงความคิดเห็นได ตาม ระยะเวลาที่กําหนด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ผลการวัดการเปลี่ยนแปลงและประสบการณการเรียนรู ในเนื้อหาสาระที่ผูเรียนไดเรียนผานกิจกรรมการเรียนรูเรียนมาแลววาเกิดการเรียนรูเทาใด โดยวัดดวย แบบทดสอบวัดสัมฤทธิ์ในการเรียนที่ผูวิจัยพัฒนาขึ้น 1.8ววผลที่คาดวาจะไดรับ 1.ววผู ส อนได พั ฒ นาเว็ บ บล็ อ กที่ เ หมาะสมต อ การนํ า ไปใช ใ นการเรี ย นการสอนให เ กิ ด ประสิทธิภาพ 2.ววผูเรียนไดเรียนรูดวยกระบวนการแบบมีสวนรวมและมีปฏิสัมพันธดวยเว็บบล็อก สามารถ แสดงความคิดเห็นผานเครือขาย จากการศึกษาประเด็นถาม-ตอบ ขอเสนอแนะทั้งจากผูเรียนและ ผูสอน เปดโอกาสใหผูเรียนที่มีพื้นฐานความรูที่แตกตางกันสามารถศึกษาในประเด็นถาม-ตอบได ตลอดเวลา สงผลใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนสูงขึ้น 3.ววเปนแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยนําเครื่องมือ เว็บบล็อกมาใชในการจัดการ เรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ แบบมีสวนรวมและมีปฏิสัมพันธผานเครือขายคอมพิวเตอรในการ จัดการเรียนการสอนในรายวิชาและกลุมผูเรียนกลุมอื่น ๆ ตอไป
  • 13. บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยไดศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ เพื่อเปนเครื่องมือที่ชวย ชี้แนะแนวทางหรือใชเปนพื้นฐานในการศึกษา ดังนี้ 2.1ววการจัดการเรียนการสอนโดยใชเว็บบล็อก 2.1.1ววความเปนมาของเว็บบล็อก 2.1.2ววความหมายของเว็บบล็อก 2.1.3ววสวนประกอบของเว็บบล็อก 2.1.4ววการใชงานบล็อก 2.2ววแนวคิดการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ 2.2.1ววหลักการของการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ 2.2.2วววิธีสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ 2.2.3ววการออกแบบการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ 2.2.4ววบทบาทของครูในการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ 2.3ววปฏิสัมพันธกับการเรียนรู 2.4ววงานวิจัยที่เกี่ยวของ 2.1ววการจัดการเรียนการสอนโดยใชเว็บบล็อก 2.1.1ววความเปนมาของเว็บบล็อก “Weblog” ถูกใชงานเปนครั้งแรกโดย Jorn Barger ในเดือนธันวาคม ป ค.ศ. 1997 เริ่มแรกคนที่เขียนบล็อกนั้นยังทํากันในระบบ Manual คือเขียนเว็บเพจขึ้นเองทีละหนา เขียนเปนงาน อดิเรกของกลุมสื่ออิสระตางๆ หลายๆ แหงกลายเปนแหลงขาวสําคัญใหกับหนังสือพิมพหรือสํานักขาว ชั้นนํา แตในปจจุบันนี้ผูคนหลายลานคนจากทั่วทุกมุมโลก หันมาเขียนบล็อกกันอยางแพรหลาย ตั้งแต นักเรียน นักศึกษา อาจารย นักเขียน ตลอดจนผูบริหารบริษัทยั กษใหญ อีกทั้งยั งมีเครื่องมือหรื อ ซอฟทแวรใหเราใชในการเขียนบล็อกไดมากมาย เชน Drupal, WordPress, Movable Typeเปนตน
  • 14. 6 ตอมามีฝรั่งที่ชอบเรียกสั้นๆ ชื่อนาย Peter Merholz จับมาเรียกยอเหลือแต “Blog” แทนในเดือนเมษายน ป ค.ศ. 1999 และคําคํานี้เริ่มใชเปนครั้งแรกๆ ผานทางหนาหนังสือพิมพและ นิตยสารจนมาถึงวันที่ 13 มีนาคม ค.ศ. 2003 ทาง Oxford English Dictionary จึงไดบรรจุคําวา blog ในพจนานุกรม แสดงวาไดรับการยอมรับอยางเปนทางการ บล็อก (Blog) ขึ้นแทนศัพทยอดฮิต อันดับหนึ่ง ซึ่งถูกเสาะแสวงหา ความหมาย ทางพจนานุกรมออนไลน มากที่สุด ประจําป 2004 และ คนเขียนบล็อกก็ไดรับการยอมรับจากสื่อและสํานักขาวตางๆถึงความรวดเร็วในการใหขอมูลตั้งแตเรื่อง การเมืองไปจนกระทั่งเรื่องราวของ การประชุมระดับชาติ และจากเหตุการณเหลานี้ นับไดวาบล็อก เปนสื่อชนิดหนึ่งที่ไมตางจาก วีดีโอ, สิ่งพิมพ, โทรทัศน หรือแมกระทั่งวิทยุ เราสามารถเรียกไดวา บล็อกไดเขามาเปนสื่อชนิดใหมที่สําคัญอยางแทจริง สํานักขาวเอพีรายงานวา “เว็บไซต ดิกชั่นนารีหรือ พจนานุกรมออนไลน “เมอรเรียม- เว็บสเตอร” ไดประกาศรายชื่อ คําศัพทซึ่งถูกคลิก เขาไปคนหา ความหมายผาน ระบบออนไลนมาก ที่สุด 10 อันดับแรกประจําปนี้ ซึ่งอันดับหนึ่งตกเปนของคําวา “บล็อก” (blog) ซึ่งเปนคํายอของ “เว็บ บล็อก” (web log) โดยนายอาเธอร บิคเนล โฆษกสํานักพิมพพจนานุกรมฉบับ เมอรเรียม-เว็บ สเตอร กลาววา สํานักพิมพไดเตรียมที่จะนําคําวา “บล็อก” บรรจุลงในพจนานุกรมฉบับลาสุดทั้งที่ เปนเลมและ ฉบับออนไลนแลว แตจากความตองการของผูใชที่หลั่งไหลเขามา ทําใหเมอรเรียม-เว็บ สเตอรตัดสินใจบรรจุคําวา “บล็อก” ลงในเว็บไซตในสังกัดบางแหงไปกอน โดยใหคําจํากัดความไววา “เว็บไซตที่บรรจุ เรื่องราวเกี่ยวกับบันทึกสวนตัวประจําวัน ซึ่งสะทอนถึงมุมมอง ความคิดเห็นของ บุคคล โดยอาจรวมลิงคเชื่อมตอไปยังเว็บไซตอื่นๆ ตามความประสงคของเจาของเว็บบล็อกเองดวย” โดยทั่วไปคําศัพทที่ถูกบรรจุลงในพจนานุกรมนั้นจะตองผานการใชงาน อยางแพรหลาย มาไมนอยกวา 20 ป ซึ่งหมายความวาคําคํานั้นจะตองถูกนํามาใชโดยทั่วไปในระยะเวลาหนึ่ง อยางไรก็ตาม ปจจุบัน คําศัพท ทางเทคโนโลยีรวมไปถึงโรคภัยไขเจ็บใหมๆ อยางเชน โรคเอดส โรคไขหวัดซารส ถูกบรรจุลง ในพจนานุกรมภายในระยะเวลาอันสั้น บล็อกมีบทบาทมากขึ้นในปจจุบันในวงการสื่อมวลชนในหลายประเทศ เนื่องจาก ระบบแกไขที่เรียบงาย และสามารถตีพิมพเรื่องราวไดโดยไมตองใชความรูในการเขียนเว็บไซต เปนอีก ชองทางหนึ่งในการเผยแพรขอมูล หรือแนวความคิด โดยการเขียนบล็อกสามารถเผยแพรขอมูลสู ประชาชนไดรวดเร็วและเสียคาใชจาย นอยกวาสื่อในดานอื่นจากความนิยมที่มากขึ้น ทําใหหลาย เว็บไซตเปดใหมีสวนการใชงานบล็อกเพิ่มขึ้นมาในเว็บของตนเอง เพื่อเรียกใหมีการเขาสูเว็บไซตมาก ขึ้นทั้งผูเขียนและผูอาน
  • 15. 7 2.1.2ววความหมายของเว็บบล็อก Wikipedia (www, 2552) ไดใหความหมายของ Weblog ไววา “Blog is a type of website or part of a website. Blogs are usually maintained by an individual with regular entries of commentary, descriptions of events, or other material such as graphics or video. Entries are commonly displayed in reverse-chronological order. Blog can also be used as a verb, meaning to maintain or add content to a blog” ดังนั้น Blog ก็คือการบันทึกบทความของตนเอง (Personal Journal) ลงบนเว็บไซต โดยเนื้อหาของ Blog นั้นจะครอบคลุมไดทุกเรื่อง ไมวาจะเปนเรื่องราวสวนตัว หรือเปนบทความ เฉพาะดานตางๆ เชน เรื่องการเมือง เรื่องกลองถายรูป เรื่องกีฬา เรื่องธุรกิจ เปนตน โดยจุดเดนที่ทํา ใหบล็อกเปนที่นิยมก็คือ ผูเขียนบล็อก จะมีการแสดงความคิดเห็นของตนเอง ใสลงไปในบทความนั้นๆ โดยบล็อกบางแหง จะมีอิทธิพลในการโนมนาวจิตใจผูอานสูงมาก แตในขณะเดียวกัน บางบล็อกก็จะ เขียนขึ้นมาเพื่อใหอานกันในกลุมเฉพาะเชนกลุมเพื่อนๆ หรือครอบครัวตนเอง(กติกา สายเสนีย,2548) Blog เปนเครื่องมือที่ครูผูสอนสามารถนํามาใชประกอบการจัดการเรียนการสอนได เปนอยางดี เพราะจากหนาที่และประโยชนของ Blog คือการเขียนเรื่องราว บทความ สาระ ประสบการณ หรือความรูที่ไดรับ เก็บสะสมไวอยางเปนหมวดหมู การแนะนําใหนักเรียนรูจักการเขียน Blog จะชวยใหผูเรียนรูจักการวิเคราะห และสังเคราะหความรู ประสบการณตางๆ ออกมาเปนลาย ลักษณอักษร โดยความรูนั้นอาจจะมาจากการรวบรวม คนควา ศึกษา และกลั่นกรองออกมาเปนความ เขาใจของตนเอง ซึ่งก็จะตรงกับทฤษฎีการสรางองคความรู (Constructivism) ดวย และลักษณะที่ สําคัญของ Blog อีกประการหนึ่งก็คือ ผูที่เขามาเยี่ยมชมไดแก ครูผูสอน เพื่อน หรือบุคคลทั่วไป สามารถที่จะแสดงความคิดเห็น แนะนํา หรือใหความรูเพิ่มเติมในเนื้อหาที่ผูเขียนไดเขียนหรือบันทึกไว ได ทําใหผูเขียนหรือตัวนักเรียนเอง สามารถปรับปรุงและพัฒนาองคความรูของตนเองไดดียิ่งขน ึ้ บล็อก คือ รูปแบบหนึ่งของเว็บไซต เปนการบันทึกบทความของตนเอง (Personal Journal) ลงบนเว็ บ ไซต โดยเนื้ อ หาของบล็ อ กนั้ น สามารถครอบคลุ ม ได ทุก เรื่ อ ง มี เ นื้ อ หาได หลากหลาย ไมวาจะเป นเรื่ องราวสวนตัวที่ สามารถเรี ยกไดวา ไดอารีออนไลน หรือเปน บทความ เฉพาะดานตางๆ สามารถใชเปนเครื่องมือสื่อสาร การประกาศขาวสาร การแสดงความคิดเห็น การ เผยแพรผลงาน ในหลายดาน เชน สิ่งแวดลอม การเมือง เทคโนโลยี กีฬา ธุรกิจการคา เปนตน อีกทั้ง ยังสามารถแตกแขนงไปในเนื้อหาในประเภทตางๆ อีกมากมาย ตามความถนัด ความสนใจของเจาของ บล็อก เพราะสิ่งสําคัญที่ทําใหบล็อกเปนที่นิยมก็คือ ผูเขียนบล็อกนั่นเอง
  • 16. 8 บล็อกถูกเขียนขึ้นในลําดับที่เรียงตามเวลาในการเขียน ซึ่งจะแสดงขอมูลที่เขียนลาสุด ไวที่ลําดับแรกสุด โดยปกติบล็อกจะประกอบดวย ขอความ ภาพ ลิงค และสื่อชนิดตางๆ ไมวาจะเปน เพลง วิดีโอ หรือสื่ออื่นๆ ที่สามารถแสดงผลผานเว็บไซตได จุดเดน และจุดแตกตางของบล็อกกับเว็บไซตโดยปกติคือ บล็อกเปนเครื่องมือสื่อสารที่ สามารถสื่อถึงความเปนกันเองระหวางผูเขียน บล็อก และผูอานบล็อกที่เปนกลุมเปาหมายผานทาง ระบบการแสดงความคิดเห็น (Comment) ของตนเองใสลงไปในบทความนั้นๆ ซึ่งทําใหผูเขียน สามารถไดผลตอบกลับโดยทันที บล็อกบางแหงจะมีอิทธิพลในการโนมนาวจิตใจผูอานสูงมาก แตใน ขณะเดียวกัน บางบล็อกก็จะเขียนขึ้นมาเพื่อใหอานกันในกลุมเฉพาะ เชน กลุมเพื่อนๆ หรือครอบครัว 2.1.3ววสวนประกอบของเว็บบล็อก บล็อกประกอบไปดวยสวนประกอบ 3 สวนสําคัญ คือ 1. หัวขอ (Title) หรือ ชื่อบทความ (ฺ Entry Title) คือ ชื่อเรื่องของบทความที่เขียนใน บล็อก 2. เนื้อหา (Post หรือ Content) อาจเปนตัวหนังสือ หรืออาจเปนรูปภาพ วีดีโอ หรือ อนิเมชั่น เปนตน โดยสวนประกอบเหลานี้จะรวมเปนสวนเนื้อหาของบทความ 3. วันเวลาที่เขียน (Date/Time) เปนวันที่และบางทีอาจมีเวลากํากับอยูดวย ตัววันที่ และเวลานี้ จะเป น ตัว บอกว า บทความในบล็อกนั้น เขีย นขึ้น มาเมื่อไหร แกไขครั้งสุดทายเมื่อไหร บางครั้งอาจมีวันเวลาระบุอยูในสวนของ comment ดวย ซึ่งจะเปนการบงบอกวา comment นั้น เขียนเขามาเมื่อไหรเชนกัน นอกจากนี้อาจจะยังมีสวนประกอบยอยๆอีก ซึ่งแลวแตซอฟตแวรที่พัฒนาขึ้นมา เชน - ชื่อผูเขียน (Blog Author) บางบล็อก อาจมีการระบุชื่อผูเขียนไวในบล็อกดวย โดย ตําแหนงที่จะใสชื่อผูเขียนนั้น สามารถไวที่ตําแหนงใดก็ได เชนดานขางของหนาบล็อก (sidebar) หรือ อยูในตัวบทความ - ความคิดเห็น (Comment) เปนลิงคที่ใหผูอานคลิกไปเพื่อกรอกความคิดเห็นใหกับ บล็อกนั้น ๆ หรืออานความเห็นที่มีคนเขียนเขามา - ปฎิทิน (Calendar) บล็อกบางแหงอาจมีปฎิทินอยูดวย โดยในปฎิทินนั้นสามารถ คลิกตามวันที่ เพื่ออานบทความของวันที่นั้น ๆ ได - บทความยอนหลัง (Archives) บทความเกา หรือบทความยอนหลัง อาจมีการ จัดเตรียมไวโดยเจาของบล็อก โดยบล็อกแตละแหงอาจจัดเรียงบทความยอนหลังไมเหมือนกัน เชน จัดเรียงรายเดือน รายสัปดาห รายวัน หรือจะ list บทความทั้งหมดออกมาเลยก็ได
  • 17. 9 - ลิงคไปยังเว็บอื่น (Links) เปนจุดเดนและความสนุกของบล็อกอีกอยางหนึ่ง โดย บล็อกแตละแหง อาจมีลิงคไปยังเว็บอื่นหลากหลายเว็บ บางครั้งเราสามารถเรียก link พวกนี้วา blogroll - RSS หรือ XML ตัว RSS นี้อาจมีเตรียมไวใหเราโดยอัตโนมัติขึ้นอยูกับ Blogware หรือ Blog Host ที่เราเลือกใช เชน WordPress หรือ MovableType นั้นจะมี RSS ลิงคไวใหเราโดย อัตโนมัติ โดยเจา RSS Feed นี้จะชวยใหผูอานเขาถึงบทความของเราไดงายขึ้น โดยการใชโปรแกรม ชวยอาน Feed ไดดวย บางครั้งนักเขียน Blog คนอื่น ก็อาจใช RSS Feed นี้เพื่อประโยชนในการดึง ขอมูลไปแสดงในเว็บ หรือบล็อกของตนได 2.1.4ววการใชงานเว็บบล็อก ผูใชงานบล็อกจะแกไขและบริหารบล็อกผานทางเว็บเบราวเซอรเหมือนการใชงาน และอานเว็บไซตทั่วไป โดยจะมีรูปแบบบริหารบล็อกที่แตกตางกัน เชนบางระบบที่มีบรรณาธิการของ บล็อก ผูเขียนหลายคนจะสงเรื่องเขาทางบล็อก และจะตองรอใหบรรณาธิการอนุมัติใหบล็อกเผยแพร กอน บล็อกถึงจะแสดงผลในเว็บไซตนั้นได ซึ่งจะแตกตางจากบล็อกสวนตัวที่จะใหแสดงผลไดทันที ผูเขียนบล็อกในปจจุบันจะใชงานบล็อกในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งไมวา ติดตั้งซอฟตแวรของตัวเอง หรือใชงานบล็อกผานทางเว็บไซตที่ใหบริการบล็อก ผูเขียนบล็อกสามารถใชงานไดทันทีโดยไมตองมี พื้นฐานความรูในดาน HTML หรือการทําเว็บไซตแตอยางใด ทําใหผูเขียนบล็อกสามารถใชเวลาสวน ใหญในการบริหารจัดการ เพิ่มเติม ขอมูลและสารสนเทศแทนได นอกจากนี้ระบบการจัดการบล็อกจะ สนับสนุน ระบบ WYSIWYG ซึ่งทําใหงายตอการเขียน และอาจเพิ่มเติมการมีเทมเพลตในหลายแบบ ใหเลือกใชสําหรับผูอานบล็อกจะใชงานไดในลักษณะเหมือนอานเว็บไซตทั่วไป และสามารถแสดง ความเห็นไดในสวนทายของแตละบล็อกโดยอาจจะตองผานการลง ทะเบียนในบางบล็อก นอกจากนี้ ผูอานบล็อกสามารถอานบล็อกไดผานระบบฟด (Feed) ซึ่งมีใหบริการในบล็อกทั่วไป ทําใหผูใช สามารถอานบล็อกไดโดยตรงผานโปรแกรมตัวอื่นโดยไมจําเปนตอง เขามาสูหนาบล็อกนั้น จากการรวบรวมขอมูลของงานวิจัยทางการศึกษาพบวา ผูสอนในสหรัฐอเมริกานิยมนํา Blog มาใชในการจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษในโรงเรียนระดับมัธยมกันอยางแพรหลาย โดยเฉพาะการเสนองานเขียนใน Blog เนื่องจาก Blog มีคุณสมบัติปฏิสัมพันธ (Interactive) ที่ผูอาน สามารถใหขอคิดเห็นในงานนั้นได ดังนั้น เมื่อผูเรียนเขียนเสร็จ สงงานเขียนของตนเองไวใน Blog จึง เทากับเปนการเชิญชวนใหผูอานรวมวิจารณแสดงความคิดเห็นงานเขียนของผูเรียน สําหรับผูเรียนที่ เริ่มเขียนการเสนอผลงานเขียนใน Blog เทากับเปนการตีพิมพเผยแพรผลงานของตนเอง อีกทั้งผูเรียน อาจจะไดรับประโยชนสูงสุดจากผูอานที่เขามาแสดงความเห็นและใหคําแนะนํา รวมทั้งผูเรียนอาจได เรียนรูวิธี แนวทาง หรือรูปแบบ การเขียนที่ดีจากผูอานที่เปนนักเขียนระดับมืออาชีพ ดังนั้น Blog จึง
  • 18. 10 เปนเสมือนสนามฝกปฏิบัติการเขียนของผูเรียนที่ใหผูเรียนไดขัดเกลา แกไข ปรับปรุง งานเขียนของ ตนเองจากผูอานที่ไดอานที่ไดมีปฏิสัมพันธกับงานเขียนดวย นอกจากนี้ยังมีงานวิจัยทางการศึกษาในประเทศไทย ที่นิยมนํา Blog มาใชในการ จัดการเรียนการสอนอีกเปนจํานวนมาก ซึ่งลวนแลวแตกลาววา Blog ชวยใหเกิดปฏิสัมพันธระหวาง นั ก เรี ย นกั บ ครู นั ก เรี ย นกั บ นั ก เรี ย น รวมทั้ ง นั ก เรี ย นกั บ บุ ค คลภายนอก ทํ า ให นั ก เรี ย นได รั บ ขอเสนอแนะที่เปนประโยชนในการนํามาปรับปรุงการพัฒนางานเขียนหรือองคความรูของตนเองได เปนอยางดี Kennedy (2007 : 14) ไดยกตัวอยางการวิจัยเพิ่มเติม คือ การเรียนวิชาการ หนังสือพิมพที่ Hunterdon เปนวิชาที่ไมใชกระดาษเลย งานของผูเรียนทุกชิ้นจะนําไปไวใน Blog ที่ สรางขึ้ นเฉพาะสํ าหรับ ชั้น เรีย นนี้ เท านั้ น ใหผูเรี ยนทํางานรว มกัน เช น การสืบ คน เรื่องต างๆ จาก หนังสือพิมพออนไลน เพื่อสงขึ้นไปไวในสวนที่ตนเองรับผิดชอบ กองบรรณาธิการจะประชุมกับผูสอน เพื่อเลือกเรื่องที่นาสนใจที่สุดในแตละวัด จากการดําเนินการวิธีนี้ ผูสอนพบวาผูเรียนแตละคนจะ สืบคนขอมูลจากอินเทอรเน็ต เมื่อพบแลวจะสะสมเรื่องตางๆไวใชในชวงแรกของภาคการศึกษา แลว เขียนเกี่ยวกับเรื่องนี้ตอนปลายภาคการศึกษา นอกจากนี้ ผูสอนยังพบวา การอภิปรายใน Blog เปน เครื่องมือที่มีประสิทธิภาพที่สุดในการเรียนรูของผูเรียนวิชาการหนังสือพิมพ การใช Blog ในการเรียนการสอนคือการผสมผสานระหวางเทคโนโลยีสารสนเทศและ การศึกษาที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ โดยครูจะตองเชื่อมโยงบทเรียน เนื้อหารายวิชา คําสอน แบบฝก ปฏิ บั ติตา งๆทางวิ ช าการและข อมูล ที่เป ฯประโยชนต อการเรี ย นการสอนอื่ น ๆ นอกจากนี้ การที่ นักเรียนในปจจุบันนิยมใชเครื่องมือสื่อสังคมออนไลนอื่นๆ เชน Facebook, Twitter, Youtube เปน ตน ครูก็ควรที่จะนําเครื่องมือที่นักเรียนใชบริการอยูเหลานี้ มาใชรวมกับ Blog ในการจัดการเรียนการ สอนในชั้นเรียน เพื่อฝกฝนใหนักเรียนสามารถใชสื่อสังคมออนไลนในการศึกษา การเรียนรูของตนเอง ไดอยางมีประสิทธิภาพ ดังนั้นการนําสื่อสังคมออนไลนมาใชในการเรียนการสอนจึงเปนนวัตกรรม การศึกษาใหมที่ควรพิจารณาเพื่อใชเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอนทุกระดับชั้นของประเทศไทย 2.2ววแนวคิดการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ แนวคิ ด การจั ด การเรี ย นรู ท่ี เน น ผู เ รี ย นเป น สํ า คั ญ ตามพระราชบั ญ ญั ติ ก ารศึ ก ษาแห ง ชาติ พ.ศ. 2542 จากขอมูลนโยบายเกี่ยวกับการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ นํามาสูการทําความ เขาใจเรื่องหลักการจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ การจัดการเรียนการสอนโดยเนน ผู เ รี ย นเป น สํ า คัญ หรื อที่รู จั ก ในชื่ อเดิมวา การจัดการเรีย นการสอนโดยยึดผูเรีย นเปน ศูน ย กลาง (Student Centered หรือ Child Centered) ในยุคของการปฏิรูปการศึกษานี้ไดมีการกําหนดเปน กฎหมายแลววา ครูทุกคนจะตองใชรูปแบบการจัดการเรียนการสอนโดยยึดผูเรียนเปนสําคัญ จึงเปน
  • 19. 11 ความจําเปนที่ครูทุกคนจะตองใหความสนใจ โดยการศึกษา ทําความเขาใจ และหาแนวทางมาใชใน การปฏิบัติงานของตนใหประสบผลสําเร็จแนวคิดจากพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 กลาวถึงการจัดการเรียนรูที่ยอมรับวา บุคคลหรือผูเรียนมีความแตกตางกัน และทุกคนสามารถเรียนรู ได ดังนั้นในการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ ครูหรือผูจัดการเรียนรูควรมีความเชื่อพื้นฐาน อยางนอย 3 ประการ คือ (คณะกรรมการการอุดมศึกษา : 2551) 1.ววเชื่อวาทุกคนมีความแตกตางกัน 2.ววชื่อวาทุกคนสามารถเรียนรูได และ 3.ววเชื่อวาการเรียนรูเกิดไดทุกที่ ทุกเวลา การจัดการเรียนรูจึงเปนการจัดการบรรยากาศ กิจกรรม สื่อ สถานการณ ฯลฯ ใหผูเรียนเกิด การเรียนรูไดเต็มตามศักยภาพ ครูจึงจําเปนที่จะตองรูจักผูเรียนอยางรอบดาน และสามารถวิเคราะห ขอมูลเพื่อนําไปเปนพื้นฐานการออกแบบหรือวางแผนการเรียนรูไดสอดคลองกับผูเรียน สําหรับในการ จัดกิจกรรมหรือออกแบบการเรียนรู อาจทําไดหลายวิธีการและเทคนิค แตมีขอควรคํานึงวา ในการ จัดการเรียนรูแตละครั้ง แตละเรื่อง ไดเปดโอกาสใหกับผูเรียนในเรื่องตอไปนี้หรือไม 1.ววเปดโอกาสใหผูเรียนเปนผูเลือกหรือตัดสินใจในเนื้อหาสาระท่ีสนใจ เปนประโยชนตอตัว ผูเรียนหรือไม 2.ววเปดโอกาสใหผูเรียนมีสวนรวมในกิจกรรมการเรียนรู โดยไดคิด ไดรวบรวมความรูและลง มือปฏิบัติจริงดวยตนเองหรือไม จากที่กลาวมาสรุปไดวาแนวคิดการจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนศูนยกลาง เปนความจําเปนที่ ครูทุกคนจะตองใหความสนใจโดยการศึกษา ทาความเขาใจ และหาแนวทางมาใชในการปฏิบัติงาน ของตนใหป ระสบผลสํ า เร็ จ โดยกระบวนการจัดการเรียนรูที่ยอมรับ วา บุคคลหรือผูเรีย นมีความ แตกตางกัน และทุกคนสามารถเรียนรูได บนความเชื่อพื้นฐานอยางนอย 3 ประการ คือ เชื่อวาทุกคน มีความแตกตางกัน เชื่อวาทุกคนสามารถเรียนรูได และ เชื่อวาการเรียนรูเกิดไดทุกที่ ทุกเวลา การ จัดการเรียนรูจึงเปนการจัดการบรรยากาศ กิจกรรม สื่อ สถานการณ ฯลฯ ใหผูเรียนเกิดการเรียนรูได เต็มตามศักยภาพ ครูจึงจําเปนที่จะตองรูจักผูเรียนอยางรอบดาน และสามารถวิเคราะหขอมูลเพื่อ นําไปเปนพื้นฐานการออกแบบหรือวางแผนการเรียนรูไดส อดคลองกับผูเรียน และ เปดโอกาสให นักเรียนเปนผูเลือกหรือตัดสินใจในเน้ือหาสาระที่สนใจ เปนประโยชนตอตัวผูเรียนหรือไม เปดโอกาส ใหผูเรียนมีสวนรวมในกิจกรรมการเรียนรู โดยไดคิด ไดรวบรวมความรูและลงมือปฏิบัติจริงดวยตนเอง โดยกิจกรรมการเรียนรูที่ดีที่ควรชวยใหผูเรียนไดมีสวนรวมทางดานรางกาย ทางสติปญญา ทางสังคม และทางอารมณ
  • 20. 12 2.2.1ววหลักการของการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ การจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญคือการเรียนรูที่ตองการใหเกิดขึ้นกับ ผูเรียนมากที่สุด วิธีดําเนินการ คือใหเสรีภาพแกผูเรียนในการบรรลุเปนผูมีปญญา ดวยการเรียนรูดวย ตนเอง โดยผานประสบการณตรง เชน ประสบการณในการแกปญหา การเรียนการสอนตองมีการ พัฒนาและกระตุนสติปญญาใหมีความสามารถในการใชเหตุผล รูจักคิดวิเคราะห และใชศักยภาพของ ตนไดอยางเต็มที่ สามารถปรับตนใหประสานกับสภาพแวดลอม ทั้งที่เปนมนุษย ธรรมชาติ และความ เจริญทางเทคโนโลยี เปนการศึกษาที่พัฒนาคนใหมีชีวิตครบ 4 ดาน คือ ภาวิตกาย หมายถึง กายที่ เจริญแลวหรือพัฒนาแลว มีความสัมพันธกับสภาพแวดลอมทางกายไดอยางดี ภาวิตศีล หมายถึง มีศีล ที่เจริญแลวหรือพัฒนาแลว มีพฤติกรรมทางสังคมที่พัฒนาแลวดํารงอยูในวินัย กอสันติสุข ภาวิตจิต หมายถึง มีจิตใจที่เจริญแลวหรือพัฒนาแลว สมบูรณดวยคุณภาพจิต สมรรถภาพจิต และสุขภาพจิต และ ภาวิ ตป ญ ญา หมายถึ ง มีป ญ ญาที่เ จริ ญ แลว หรือ พัฒ นาแลว มี ปญ ญาที่เป น อิ ส ระจากการ ครอบงําของกิเลส รูเขาใจและเห็นสิ่งทั้งหลายตามความเปนจริง รูเทาทัน จนมีความเปนอิสระโดย สมบูรณ (สุมน, 2518:19 และพระราชวรมุน,ี 2530:116 อางถึง ในธํารง, 2542:47-48) ในวงการศึกษาตา งก็ย อมรับ วาการจัดการศึกษาที่ดีจ ะตองคํานึงถึงธรรมชาติของ ผู เ รี ย นแต ล ะคนว า มี ค วามแตกต า งกั น ในด า นต า งๆ ได แ ก เชาวน ป ญ ญา บุ ค ลิ ก ภาพ ความคิ ด สรางสรรคและพฤติกรรมอื่นๆ การจัดการเรียนการสอน จึงมุงใหเกิดการเรียนรู ทั้งดานความเขาใจ ทักษะและเจตคติไปพรอมๆ กัน ในระบบการเรียน ผูเรียนควรเปนผูแสดงออกมากกวาผูสอน การจัด กิจกรรมการเรียนการสอนควรใหผูเรียนมีโอกาสไดแสดงออกมากที่สุด ใหความสําคัญกับความรูสึกนึก คิด และคานิยมของผูเรียน การจัดบรรยากาศในการเรียน ควรเปนแบบรวมมือมากกวาการแขงขัน ครูทําหนาที่ชวยเหลือใหกําลังใจ และอํานวยความสะดวกในขบวนการเรียนของผูเรียนการจัดการ เรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญตามแนวทางการจัดการเรียนรูในพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 มีเทคนิคและวิธีการศึกษาคนควา ดังนี้ (คณะอนุกรรมการปฏิรูปการเรียนรูแผนกวิจัย, กรมวิชาการ, กระทรวงศึกษาธการ, 2544:6-7) ิ 1. การวิเคราะหผูเรียน การรูจักผูเรียนเปนรายบุคคลหรือรายกลุม ชวยใหครูผูสอนมี ขอมูลที่สําคัญในการออกแบบการจัดการเรียนรูที่เหมาะสม หลักการวิเคราะหผูเรียนควรคํานึงถึง องคประกอบที่สําคัญ 3 องคประกอบ คือธรรมชาติของผูเรียน ประสบการณ และพื้นฐานความรูเดิม วิธีการเรียนรูของผูเรียน 2. การใชจิตวิทยาการเรียนรู และการบูรณาการคุณธรรม คานิยมในการจัดกิจกรรม การเรียนรู
  • 21. 13 3. การวิเคราะหหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานเชื่อมโยงกับการพัฒนาหลักสูตรและ การจัดการเรียนรูในสถานศึกษา 4. การออกแบบการเรียนรูตามสภาพจริงใหสอดคลองกับมาตรฐานหลักสูตรและ เชื่อมโยงบูรณาการระหวางกลุมวิชาโดยใชผลการเรียนรูที่กําหนดเปนหลัก และใชกระบวนการวิจัย เปนสวนหนึ่งของการจัดการเรียนรู เพื่อมุงพัฒนาการเรียนรูของผูเรียน 5. การออกแบบการวัดและประเมินผลตามสภาพจริงโดยใชเครื่องมืดวัดที่หลากหลาย เพื่อสะทอนภาพไดชัดเจนและแนนอนวาผูเรียนเกิดการเรียนรูดานตางๆ อยางไร ทําใหไดขอมูลของ ผูเรียนรอบดานที่สอดคลองกับความเปนจริง เพื่อประกอบการตัดสินผูเรียนไดอยางถูกตองและมี ประสิทธิภาพ 2.2.2วววิธีสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ จากรายงานการวิจัยของทักษิณา เครือหงส (2550) ไดเสนอแนวทางสําหรับผูสอนที่ใช หลักการสอนโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ ไวดังนี้ การสอนโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ มีลักษณะดังตอไปนี้ 1. ครู ผู ส อนมีความรู ความเขาใจ รูเปาหมายของการจัดการศึกษาและหลักสูตร การศึกษาอุดมศึกษา โดยการศึกษาขอมูล พระราชบัญญัติการศึกษา ตําราเอกสารหลักสูตร หลักสูตร สาขาวิชา ลักษณะรายวิชาจัดทําแผน การสอนและเอกสารประกอบการสอน 2. ครูผูสอนมีการวิเคราะหศักยภาพของผูเรียนและเขาใจผูเรียนเปนรายบุคคล ใช หลักการวิ เคราะห ผูเรียน เชน วิเคราะหจากรูปแบบการเรียนรู ความภูมิใจตนเอง เจตคติตอวิช า ความคาดหวังในการเรียน ใชแบบวัดความรูพื้นฐานของผูเรียน (Pretest) กอนเรียน วัดผลการเรียน ของผูเรียนเปนรายหนวยและมีการมอบหมายงานใหผูเรียนในระหวางการเรียนการสอน 3. ครูผูสอนมีความสามารถในการจัดประสบการณที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ โดยการ จัดทําแผนการจัดประสบการณการเรียนรู เชน การบูรณาการเนื้อหา การจัดการเรียนรูเพื่อชี้แนะ การ รูคิด 4. ครูผูสอนมีความสามารถในการใชเทคโนโลยีในการพัฒนาการเรียนรูของตนเอง และผูเรียน เชน ใชคอมพิวเตอรในการหาความรูจากเครือขายอินเทอรเน็ต มอบหมายใหนักศึกษา คนควาและนํามาอภิปรายในชั้นเรียน ฝกการใชโปรแกรมสําเร็จรูปในการประมวลขอมูล และจัดทํา รายงาน พัฒนาและใชสื่อการสอนโดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศ 5. ครูผูสอนมีการประเมินผลการเรียนการสอนที่สอดคลองกับสภาพการเรียนรูที่จัด ใหผูเรียนและอิงพัฒนาการของผูเรียน เชน มอบหมายงานเดี่ยวและงานกลุม ประเมินผลการเรียนรู จากผลงานที่มอบหมายในระหวางเรียน และทดสอบหลังเรียน