SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
Download to read offline
นําเสนอ
จดทําโดย
          ั
 เจ้ าอธิการชนะชล ปภาโส/สีดามาตย์
พระปลัดณัฏฐกิตต์ กิตฺติญาโณ/พงศ์รพี
 พระอธิการณัฐพงษ์ ถาวโร/เหลามวง
                            ่ ่
  พระอธิการบวลา นิภาธโร/ลอดสอึ
              ั
พระพทธศาสนาในประเทศองกฤษ
                 ุ               ั
พระพทธศาสนาเข้าสประเทศ
     ุ           ู่
พระพุทธศาสนาเข้ าไปเผยแผ่ทางอังกฤษเมื่อใดนันไม่มีหลักฐานบ่งชี ้แน่
                                                  ้
 ชัดมีแต่ข้อเขียนของนายคลีเมนต์แห่งเมืองอะเล็กซานเดรี ย เคยเขียน
 เรื่ องเกี่ยวกับพระพุทธเจ้ าว่า “บรรดาชาวอิ นเดียทีเ่ ชื อถือปฏิ บติตามคํา
                                                          ่        ั
 สอนของพระพุทธเจ้า ต่างพากันสรรเสริ ญพระพุทธเจ้าต่างๆนาๆและ
 ให้เกี ยรติ ยกย่องว่าเป็ นเทพเจ้า” ซึงชาวอังกฤษได้ รับพุทธศาสนาครัง
                                      ่                                   ้
 แรกเมื่อปี พ.ศ.2393 โดยนายเสปนเซอร์ อาร์ คี ผู้พิมพ์หนังสือศาสน
 จักรแห่งทิศบูรพาขึ ้นออกเผยแผ่         แต่ ณ ขณะนันมีผ้ สนใจใน้ ู
 พระพุทธศาสนาน้ อยมาก
พระพทธศาสนาในประเทศองกฤษ
                ุ               ั
แต่ในปี พ.ศ. 2422 เซอร์ เอ็ดวิน อาร์ โนลด์ได้ เขียนหนังสือประทีปแห่ง
 เอเชียขึ ้นและได้ รับคําตอบรับอย่างแพร่หลาย ทําให้ ชาวอังกฤษหันมา
 เสื่อมใสศรัทธาในพระพุทธศาสนามากขึ ้น ถือว่า หนังสือเล่มนี ้เป็ น
 บทบาทสําคัญในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศอังกฤษรวมทัง้
 ประเทศทางตะวันออกอื่นๆ และปั จจุบนนี ้ หนังสือประทีปแห่งเอเชีย
                                        ั
 เคยตีพิมพ์ในประเทศอังกฤษกว่า 60 ครัง ในสหรัฐอเมริ กาไม่ตํ่ากว่า
                                          ้
 80 ครัง้
พระพทธศาสนาในประเทศองกฤษ
                 ุ               ั
เมื่อ พ.ศ.2424 ศาสตราจารย์ ดร. ที ดับบลิว ริ สเดวิด กับภรรยาได้
 ก่อตังสมาคมบาลีปกรณ์ขึ ้นที่กรุงลอนดอน โดยมีวตถุประสงค์เพื่อแปล
       ้                                          ั
 พระไตรปิ ฎกเป็ นภาษาอังกฤษออกพิมพ์เผยแผ่              เพื่อทังส่งเสริ ม
                                                              ้
 การศึกษาภาษาบาลีและอรรถกถาเหล่านัน ซึง นางสาวไอ ฮอร์ เนอ
                                          ้ ่
 ผู้ประกอบการศึกษาบาลี         อุทิศชีวิตให้ กบงานพระคัมภีร์ภาษาบาลี
                                              ั
 ออกเป็ นภาษาอังกฤษ ซึงเธอเป็ นผู้รับช่วงงานอันประเสริ ฐนี ้ต่อจาก
                           ่
 นายและนางริ สเดวิด ชัวระยะเวลา 25 ปี พระไตรปิ ฏกดังกล่าวทําให้ มี
                      ่
 คนสนใจพระพุทธศาสนามากยิ่งขึ ้น
พระพทธศาสนาในประเทศองกฤษ
                 ุ               ั
• ปี พ.ศ. 2445 ได้ มีชาวอังกฤษผู้หนึงนาม ชาร์ ลส์ เฮนรี่ อัลเลน เบอร์
                                       ่
  เนตได้ อปสมบทเป็ นภิกษุ
             ุ                     ซึงถือว่าเป็ นพระภิ กษุรูปแรกของอังกฤษ
                                     ่
  โดยมีฉายาว่า อานันทะเมตเตยยะ ท่านสนใจพระพุทธศาสนาเมื่ออายุ
  18 ปี ได้ เดินทางไปศึกษาพระพุทธศาสนาที่พม่า มีความปรารถนาที่
  จะนําพุทธศาสนาไปเผยแผ่ที่องกฤษ โดยการนําพระธรรมฑูตจากพม่า
                                 ั
  เดินทางไปประกาศพุทธศาสนาที่กรุงลอนดอน ในปี พ.ศ. 2450 ขณะ
  อยู่ที่กรุงลอนดอนได้ ร่วมมือกับปราชญ์ทางพุทธศาสนาก่อตังพุทธ   ้
  สมาคมแห่งเกรตบริ เทนและไอร์ แลนด์ และได้ พิมพ์นิตยสารพุทธปริ ทศ       ั
  ออกเผยแผ่
พระพทธศาสนาในประเทศองกฤษ
                ุ               ั
• ปี พ.ศ. 2448 ปรากฏมีชาวอังกฤษที่นบถือพระพุทธศาสนาคนแรกได้
                                             ั
  แสดงปาฐกถาธรรมครังแรกในสวนสาธารณะรี เจนต์ ปาร์ ค ชื่อของเขา
                       ้
  คือ อาร์ เจ. แจคสัน ท่านผู้นี ้ได้ เปิ ดร้ านหนังสือทางพระพุทธศาสนา
  กับนาย เจ. อาร์ เพน ต่อมาในปี พ.ศ. 2449 ทังสองท่านได้ ก่อตังพุทธ
                                                      ้            ้
  สมาคมแห่งอังกฤษขึ ้น
พระพทธศาสนาในประเทศองกฤษ
               ุ               ั
• ในปี พ.ศ. 2467 ชาวพุทธในอังกฤษ นําโดยนาย คริ สมาส ฮัมเฟรย์ ได้
  ร่วมกันก่อตังพุทธสมาคมแห่งอังกฤษขึ ้นแทนพุทธสมาคมแห่งเกรตบริ
              ้
  เทนและไอร์ แลนด์ และได้ พิมพ์นิตยสาร ทางสายกลาง ออกเผยแผ่
  ส่งผลให้ พทธศาสนากว้ างขวางออกไปอีก
            ุ
พระพทธศาสนาในประเทศองกฤษ
                 ุ               ั
• ในปี พ.ศ. 2470 พระอนาคาริกะ ธรรมปาละ พระภิกษุชาวลังกาได้ เดินทาง
  มาเผยแผ่พระพุทธศาสนาในอังกฤษ และในปี พ.ศ. 2497 พระกปิลวฑโฒ          ั
  ได้ อปสมบทตัวเองที่กรุงเทพฯ ต่อมาใน พ.ศ. 2498 ได้ พาสามเณรอีก 3 รูป
       ุ
  ไปกรุงเทพเพื่ออุปสมบทเป็ นพระภิกษุที่วดปากนํ้า ก่อนจะกลับไปตังสํานัก
                                        ั                           ้
  สงฆ์ที่พทธวิหาแฮมป์ เสตด สอนวิปัสสนากรรมฐาน ต่อมา พระภิกษุแคนนา
           ุ
  ดารูปหนึงที่บวชในประเทศพม่า ชื่ออานันทโพธิ ได้ เดินทางเข้ ามาวิปัสนากัม
               ่
  ฐานสี่ที่วดมหาธาตุยวราชรังสฤษฎิ์ ปรากฏว่ามีชาวอังกฤษและชาวยุโรป
             ั          ุ
  สนใจเข้ าฝึ กเป็ นจํานวนมากจนต้ องขยายสถานที่ศกษาไปที่พทธวิหารแฮมป
                                                ึ          ุ            ์
  เสตดในประเทศอังกฤษ และได้ อาราธนามัสการ พระราชสุทธิมนีเดินทางไป
                                                              ุ
  ประเทศอังกฤษ โดยมีทางสมาคมเป็ นผู้ออกค่าใช้ จ่ายทังสิ ้น
                                                      ้
พระพทธศาสนาในประเทศองกฤษ
               ุ               ั
• ปี พ.ศ. 2506 ประธานสมาคมแห่งประเทศอังกฤษ ได้ มีหนังสือสถาน
  เอกอัครราชทูต ณ กรุงลอนดอน ขอเชิญผู้แทนสงฆ์ไทยเดินทางไป
  ประเทศอังกฤษจึงได้ รายงานเสนอกระทรวงศึกษาธิการ ในขณะนันถ้ า้
  พิจารณาตามลําดับ ผลการพิจารณาปรากฏว่านายกรัฐมนตรี อนุญาต
  ให้ ดําเนินการสมณะทูตได้
• ในปี พ.ศ. 2507 โดยประกอบด้ วย พระราชสุทธิ มนี เป็ นโชดกปธ. 9
                                              ุ
  พระมหาวิ จิตร ติ ส.สทต.โต เป็ น พระสหจร และอธิ การบดีศาสนา ภานุ
  พงษ์ มุทกนต์ เป็ นไวยาจักร
             ุ ั
พระพทธศาสนาในประเทศองกฤษ
                ุ               ั
• ในปี เดียวกันนันเอง พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หวรั ชการที่ 9 ทรง
                  ้                                  ั
  โปรดเกล้ าสร้ างวัดในกรุงลอนดอน ไว้ ในบรมราชูปถัมภ์ ในพื ้นที่ถนน
  ไครส์ อีสทธีน กรุงลอนดอน เสียเงินไปในราคาประมาณ 17.17 ล้ าน
  บาทและสร้ างเสร็จ
• ในปี พ.ศ. 2508 และในปี พ.ศ. 2509 นันเอง ที่ พระบาทสมเด็จพระ
                                              ้
  เจ้ าอยู่หวรัชการที่ 9 ทรงตังชื่อวัดว่า “วัดพุทธประทีป” ก่อนที่คณะทูต
            ั                 ้
  สายประเทศอังกฤษจะได้ ย้ายไปอยู่ที่วดพุทธประทีปเพื่อเผยแผ่พทธ
                                           ั                      ุ
  ศาสนา ซึงเป็ นวันไทยแห่งแรกในอังกฤษ และยังมีวดที่สร้ างหลังจาก
              ่                                        ั
  นันอีกมากมายอย่าง วัดอมราวดี เป็ นต้ น
     ้
พระพทธศาสนาในประเทศอังกฤ
                  ุ
• ในปี พ.ศ. 2530 หลวงพ่อเขมธัมโมได้ จดตังวัดทางพุทธศาสนาในเมืองวอ
                                              ั ้
  ริคเป็ นรูปแบบของวัดป่ าโดยตังชื่อว่า วัดป่ าสันติธรรม ดําเนินองค์การเผย
                                 ้
  แผ่คําสอนพุทธศาสนาให้ กบชาติอื่นๆที่สนใจ รวมทังสอนการนังสมาธิและ
                             ั                         ้         ่
  แนะแนวทางการแก้ ไขปั ญหาชีวิตด้ วยหลักธรรมทางพุทธศาสนา ภารกิจ
  ใหญ่อีกด้ านหนึงของหลวงพ่อเขมธัมโมคือการจัดตังสํานักงานใหญ่องค์การ
                  ่                                  ้
  คุลิมาล ซึงเป็ นองค์การสอนพุทธศาสนาในเรื อนจํา
              ่
• การจัดอบรมปฏิบติงานด้ านพุทธศาสนา สําหรับอนุศาสนาจารย์ ซึงได้ ผน
                    ั                                                ่ ั
  ตัวเองไปทําหน้ าที่ช่วยเหลือสังคมคุก คือ เข้ าไปสอนนักโทษในเรื อนําโดย
  ไม่จํากัดว่าศาสนาอะไร จนทําให้ พฤติกรรมนักโทษเปลี่ยนจากก้ าวร้ าวเป็ น
  สงบเสงี่ยม บางรายถึงกับขอบวช 7 วัน แล้ วกลับไปอยู่ในคุกต่อ
พระพทธศาสนาในประเทศองกฤษ
                  ุ               ั
• ในปี พ.ศ.2535 ได้ มีการจัดตัง้ สวนป่ าพุทธองค์ ณ เรื อนจําสปริ งฟิ ลล์
  เพื่อให้ นกโทษทํากิจกรรมทางศาสนาจะเห็นว่าพระพุทธศาสนาใน
            ั
  อังกฤษเจริ ญรุ่งเรื องขึ ้นตามลําดับ     มีผ้ เู สื่อมใสเพิ่มมากขึ ้นเรื่ อยๆ
  เพราะประเทศอังกฤษเป็ นประเทศที่ปกครองแบบระบบประชาธิปไตย
  ทําให้ ปะชาชนสามารถนับถือศาสนาได้ อย่างกว้ างขวางเหมืนอย่างประ
                                     ทศไทย
พระพทธศาสนาในประเทศองกฤษ
                ุ               ั
อิทธิพลทางสังคม
 สนองความต้ องการของชาวตะวันตกได้ ด้ วยคําสอนทางพุทธศาสนา
  เป็ นสัจธรรมที่สามารถนําไปพฤติปฏิบติ และพิสจน์ให้ เห็นผลได้ ตาม
                                      ั          ู
  หลักธรรมชาติ อันเป็ นพื ้นฐานแห่งความต้ องการของชนชาวยุโรป ที่
  ชอบพิสจน์ค้นคว้ าหาความจริ ง จึงช่วยให้ เกิดความต้ องการความสุข
           ู
  สงบสุขทางจิตใจมากกว่าอย่างอื่น
 ลดความรุนแรงทางด้ านวัตถุนิยมของชาวตะวันตกได้          ทําให้ ชีวิต
  ความเป็ นอยู่ของชนชาวยุโรปเรี ยบง่าย และทําให้ ลดปั ญหาทางสังคม
  ลงได้ มาก ตามอัตราส่วนของชาวยุโรป ที่หนมานับถือพระพุทธศาสนา
                                           ั
  และได้ ประพฤติปฏิบติตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนามีสงคหวัตถุ
                      ั                                   ั
  ธรรม เป็ นต้ น
พระพทธศาสนาในประเทศองกฤษ
                   ุ               ั
 เป็ นศูนย์กลางศึกษาวัฒนธรรมประเพณีทางพุทธศาสนา                 และเป็ นที่พงของ
                                                                               ึ่
  ประชาชนในยุโรปและอเมริ กาได้ มีวดไทยในฝ่ ายเถรวาทตังอยูหลายเมือง มีชน
                                         ั                   ้ ่
  ชาวยโรป และอเมริ กาเข้ ามาบรรพชาและอุปสมบท เพื่อศึกษาเล่าเรี ยนทาง
           ุ
  พระพุทธศาสนาเป็ นจํานวนมากไม่น้อยเช่นวัดในประเทศอังกฤษ               ทําให้ เป็ นที่
  ศูนย์รวมจิตใจของชาวยุโรป อีกทั ้งพุทธศาสนิกชนชาวไทย ชาวเอเซีย ที่อาศัยอยู่
  ในประเทศนัน ๆ ้
 เป็ นศูนย์กลางทางด้ านวัฒนธรรมประเพณีของศาสนา ที่ชวยให้ สงคมชาวยุโรป
                                                               ่   ั
  และเอเซียมีความเป็ นอยูผกพันกัน โดยเฉพาะชนชาวไทยที่เข้ าไปอาศัยประกอบ
                              ่ ู
  อาชีพทําธุรกิจ และแตงงานใช้ชีวิตร่วมกบชนชาวยโรป ซึงในปั จจุบนมีมาก ได้
                            ่                ั       ุ   ่           ั
  นําเอาระเบียบทางสังคมพร้ อมกับศิลปวัฒนธรรมประเพณีตาง ๆ ทางศาสนาเข้า
                                                           ่
  ไปเผยแพร่ จึงทําให้ ชนชาวยุโรปได้ เข้ าใจว่า สงคมแหงชาวพทธนน มันคงในความ
                                                   ั   ่      ุ ั้ ่
  เป็นผ้ มีเมตตาธรรม มีความกตัญ�ูกตเวทีตอบิดา และมารดา อีกทงผ้ มีพระคณ
         ู                                       ่                   ั้ ู          ุ
  และยังเป็ นผู้อนุรักษ์ วฒนธรรมประเพณีอนดีงามทางศาสนาได้ อย่าง เหนียวแน่น
                          ั                ั
                                     และมันคง  ่
พระพทธศาสนาในประเทศองกฤษ
               ุ               ั
 เป็ นแหล่งพบปะแลกเปลี่ยนและศึกษาวัฒนธรรมสําหรับประชาชน
 จากประเทศต่าง ๆ โดยมีวดเป็ นศูนย์รวมจิตใจของพุทธศาสนิกชนทัวทัง้
                           ั                                   ่
 ยุโรป รวมทังชาวเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น ไทย, ลาว, พม่า, เขมร,
              ้
 เวียดนาม ที่เข้ าไปถือสัญชาติของประเทศนัน ๆ และวัดไทยยังเปิ ด
                                         ้
 โรงเรี ยนพุทธศาสนาวันอาทิตย์แก่ลกหลานชาวไทยและชาว
                                  ู
 ต่างประเทศที่สนใจจะเรี ยนภาษาไทย, ดนตรี ไทย, ศิลป-วัฒนธรรมอีก
 ด้ วย
พระพทธศาสนาในประเทศองกฤษ
                  ุ               ั
 อิทธิพลทางด้ านเศรษฐกิจ
 คําสอนทางพุทธศาสนามีหลักการที่ไม่ตามกระแสของวัตถุนิยม โดยสอนเรื่ องการ
  ดําเนินชีวิตด้ วยความพอดี มีความสันโดษ ประหยัด ใช้จายตามความจําเป็น ไม่
                                                         ่
  ส่งเสริ มการบริ โภคเพื่อตามใจอยาก ตามใจต้ องการ จึงเป็ นคําสอนที่หกล้ างกับ
                                                                       ั
  แนวคิดแบบวัตถุนิยม           (materialism)          และแนวคิดแบบบริ โภคนิยม
  (consumerism) จึงส่งเสริ มให้ เกิดแนวคิดแบบพอเพียง เน้ นความจําเป็ นใน
  การสนองตอบต่อความต้ องการปั จจัยพื ้นฐานในการดําเนินชีวิต       คําสอนพุทธ
  ศาสนาจึงได้ มีอิทธิพลต่อด้ านเศรษฐกิจเป็ นอย่างมาก
 การที่ชนชาวยุโรป เข้ ามาบวชในพระพุทธศาสนาเป็ นจํานวนมากจึงมีสวนในการ
                                                                     ่
  ชวยลดความฟ่ มเฟือยตามคานิยมตาง ๆ ในการดํารงชีพความเป็ นอยู่ รวมถงการ
   ่               ุ            ่     ่                                  ึ
  แพร่หลายในคําสอนทางพระพุทธศาสนา ทําให้ ชนชาวยุโรป มีความสันโดษใน
                     การครองชีพทางด้านเครื่องอปโภคบริโภคตางๆด้วย
                                              ุ            ่
พระพทธศาสนาในประเทศองกฤษ
                 ุ               ั
 คําสอนทางพุทธศาสนาที่เกี่ยวกับด้ านเศรษฐกิจ ได้ มีอิทธิพลต่อประชาชนผู้
  นับถือพุทธศาสนาชาวตะวันตกไม่น้อย ด้ วยที่คําสอนได้ เน้ นถึงการเลี ้ยงชีพ
  ให้ สจริต ไม่ประกอบอาชีพในทางทุจริต (สัมมาอาชีวะ) และกิจกรรมทาง
         ุ
  เศรษฐกิจก็มีคําสอนที่ให้ เห็นถึงประโยชน์ปัจจุบน เช่นหลักทิฎฐธัมมิกตถะ
                                                ั                      ั
  ประโยชน์ ๔ อันได้ แก่
  ๑. การขยันหมันเพียร
                 ่
  ๒. การประหยัดอดออม
  ๓. การคบคนดี
  ๔. การใช้ จ่ายทรัพย์ตามกําลังของตน เป็ นต้ น ล้ วนเป็ นคําสอนที่กล่าวถึง
  เรื่ องกิจกรรมทางเศรษฐกิจทังสิ ้น
                               ้
พระพทธศาสนาในประเทศองกฤษ
                 ุ               ั
อิทธิพลทางด้ านการเมือง
 การที่รัฐบาลไทยได้ ให้ การสนับสนุนช่วยเหลือการก่อสร้ างถาวรวัตถุต่าง ๆ
  อย่างเช่น ที่วดพุทธประทีป ประเทศอังกฤษ รัฐบาลไทยได้ สนับสนุนปั จจัย
                ั
  ช่วยเหลือในการก่อสร้ างวิหารฝ่ ายเถรวาทแบบไทย ทําให้ เกิดความสัมพันธ์
  อันดีระหว่างประเทศ
 สงครามศาสนาในคริสตวรรษที่ ๑๓ เรี ยกว่าสงครามครูเสด ทําให้ พทธ   ุ
  ศาสนาถูกทําลายจากประเทศลัทเวีย, เอสโทเนีย, โครเอเซีย โดยฝี มือของ
  กองทหารเพื่อพระคริสต์ของเยอรมัน
พระพทธศาสนาในประเทศองกฤษ
                ุ               ั
พระพุทธศาสนาเข้ าไปเผยแพร่ในยุโรป                 ทําให้ เกิดความสัมพันธ์
 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในบรรดากลุมพุทธศาสนิกด้ วยกัน ทําให้
                                             ่
 เกิดชมรม, สมาคมและองค์กรพุทธศาสนิกสัมพันธ์ทวโลก       ั่
 เมื่อผู้นําทางพระพุทธศาสนาจากประเทศที่พฒนาแล้ ว ยุโรป มาพบ
                                                 ั
 กับผู้นําจากประเทศที่เป็ นพุทธมาหลายชัวคน เช่น ไทย พม่า ศรี ลงกา
                                           ่                         ั
 จึงได้ มีการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้เทคนิคการเผยแพร่ธรรม การปฏิบติธรรม ั
 ของกันและกัน ที่อธิบายธรรมด้ านประยุกต์ เพื่อให้ คนหนุ่มสาวเห็น
 คุณค่าของศาสนา เป็ นเรื่ องของประเทศที่พฒนาแล้ ว อาจมีวิธีการที่
                                               ั
                                ทันสมัยกว่าได้
พระพทธศาสนาในประเทศองกฤษ
                 ุ               ั
              พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หว และสมเด็จพระนางเจ้ าฯ
                                         ั
    พระบรมราชินีนาถ องค์อครศาสนูปถัมภ์ ได้ เสด็จเป็ นทางการเปิ ดวัด
                            ั
    ไทยวัดแรกในยุโรปชื่อ วัดพุทธประทีป เมื่อวันที่ ๑ สิงหาคม พ.ศ.
    ๒๕๐๙ นับว่าเป็ นการสร้ างความสัมพันธ์ระหว่างประมุขแห่งกษัตริ ย์ทง้ั
    สองประเทศอีกด้ านหนึงโดยมีพระพุทธศาสนาเป็ นสื่อกลาง
                         ่
พระพทธศาสนาในประเทศองกฤษ
                     ุ               ั
• เอกสารอ้างอง
             ิ
   1. ชิตมโน. พระพทธศาสนาในนานาประเทศ. กรุงเทพฯ: มหามกฎราชวิทยาลย. ๒๕๓๓
                  ุ                                   ุ         ั
   2. ทรงวิทย์ แก้วศรี. ประวติศาสตร์พระพทธศาสนา เล่ม ๑๔ พระพทธศาสนาในองกฤษ เยอรมน .
                            ั           ุ                   ุ         ั         ั
   กรุงเทพฯ:
   การศาสนา. ๒๕๓๐.
   3. ทรงวิทย์ แก้วศรี. ประวติศาสตร์พระพทธศาสนา เล่ม ๑๕ พระพทธ ศาสนาในสหรัฐอเมริกา .
                            ั           ุ                   ุ
   กรุงเทพฯ: การศาสนา. ๒๕๓๐.
   4. อุทย ธมมสาโร. พทธศาสนาในยโรปและอเมริกา. กรุงเทพฯ: โพธ์ิสามต้นการพิมพ์. ๒๕๑๘.
         ั ั         ุ         ุ

More Related Content

What's hot

พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51Krusupharat
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 Bom Anuchit
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามPadvee Academy
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศSuwannaphum Charoensiri
 
แบบฝึกหัดเรื่องอนุภาคมูลฐาน
แบบฝึกหัดเรื่องอนุภาคมูลฐานแบบฝึกหัดเรื่องอนุภาคมูลฐาน
แบบฝึกหัดเรื่องอนุภาคมูลฐานkrupatcharee
 
การปฏิรูปศาสนา
การปฏิรูปศาสนาการปฏิรูปศาสนา
การปฏิรูปศาสนาJeeji Supadda Phokaew
 
ธาตุหมู่ 6A
ธาตุหมู่ 6Aธาตุหมู่ 6A
ธาตุหมู่ 6ANattha Namm
 
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลงความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลงnarongsak kalong
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3O'Orh ChatmaNee
 
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆwiriya kosit
 
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาการคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาSaipanya school
 
แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์Chakkrawut Mueangkhon
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นsumanan vanict
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1Ocean'Funny Haha
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่Pannaray Kaewmarueang
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะอุษณีษ์ ศรีสม
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมอำนาจ ศรีทิม
 

What's hot (20)

พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
 
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรมการปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
 
พุทธในออสเตรเลีย2
พุทธในออสเตรเลีย2พุทธในออสเตรเลีย2
พุทธในออสเตรเลีย2
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
 
แบบฝึกหัดเรื่องอนุภาคมูลฐาน
แบบฝึกหัดเรื่องอนุภาคมูลฐานแบบฝึกหัดเรื่องอนุภาคมูลฐาน
แบบฝึกหัดเรื่องอนุภาคมูลฐาน
 
การปฏิรูปศาสนา
การปฏิรูปศาสนาการปฏิรูปศาสนา
การปฏิรูปศาสนา
 
ธาตุหมู่ 6A
ธาตุหมู่ 6Aธาตุหมู่ 6A
ธาตุหมู่ 6A
 
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลงความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
 
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาการคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
 
แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
 

Viewers also liked

Viewers also liked (20)

หลักการเรียงบทกิริยาวิเสสนะ
หลักการเรียงบทกิริยาวิเสสนะหลักการเรียงบทกิริยาวิเสสนะ
หลักการเรียงบทกิริยาวิเสสนะ
 
หลักการสัมพันธ์บทสัตตมีวิภัตติ ๑
หลักการสัมพันธ์บทสัตตมีวิภัตติ ๑หลักการสัมพันธ์บทสัตตมีวิภัตติ ๑
หลักการสัมพันธ์บทสัตตมีวิภัตติ ๑
 
ทิคุสมาส
ทิคุสมาสทิคุสมาส
ทิคุสมาส
 
หลักการเรียงบทกิริยาคุมพากย์
หลักการเรียงบทกิริยาคุมพากย์หลักการเรียงบทกิริยาคุมพากย์
หลักการเรียงบทกิริยาคุมพากย์
 
หลักการเรียงบทวิกติกัตตา
หลักการเรียงบทวิกติกัตตาหลักการเรียงบทวิกติกัตตา
หลักการเรียงบทวิกติกัตตา
 
หลักการเรียงบทอาลปนะ๑
หลักการเรียงบทอาลปนะ๑หลักการเรียงบทอาลปนะ๑
หลักการเรียงบทอาลปนะ๑
 
ทิคุสมาส
ทิคุสมาสทิคุสมาส
ทิคุสมาส
 
หลักาการเรียงสัตตมีวิภัตติ
หลักาการเรียงสัตตมีวิภัตติหลักาการเรียงสัตตมีวิภัตติ
หลักาการเรียงสัตตมีวิภัตติ
 
บาลีเสริม ๑๑
บาลีเสริม ๑๑ บาลีเสริม ๑๑
บาลีเสริม ๑๑
 
ทิคุสมาส
ทิคุสมาสทิคุสมาส
ทิคุสมาส
 
บาลีไวยากรณ์ ๔
บาลีไวยากรณ์ ๔บาลีไวยากรณ์ ๔
บาลีไวยากรณ์ ๔
 
บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย
บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย
บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย
 
บาลีเสริม ๑๐ (การเรียงฉัฏฐีวิภัตติ)
บาลีเสริม ๑๐ (การเรียงฉัฏฐีวิภัตติ)บาลีเสริม ๑๐ (การเรียงฉัฏฐีวิภัตติ)
บาลีเสริม ๑๐ (การเรียงฉัฏฐีวิภัตติ)
 
บาลีเสริม ๑๐ Pdf
บาลีเสริม ๑๐ Pdfบาลีเสริม ๑๐ Pdf
บาลีเสริม ๑๐ Pdf
 
ภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทย
ภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทยภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทย
ภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทย
 
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลีแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
 
กถาวัตถุ
กถาวัตถุกถาวัตถุ
กถาวัตถุ
 
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส
 
พระอภิธรรมปิฎก บทที่ ๑
พระอภิธรรมปิฎก บทที่ ๑พระอภิธรรมปิฎก บทที่ ๑
พระอภิธรรมปิฎก บทที่ ๑
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 

Similar to พระพุทธศาสนาในประเทศอังกฤษ

พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันPadvee Academy
 
ความรู้ทางพุทธศาสนา
ความรู้ทางพุทธศาสนาความรู้ทางพุทธศาสนา
ความรู้ทางพุทธศาสนาTongsamut vorasan
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) ธรรมนูญชีวิต
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   ธรรมนูญชีวิตพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   ธรรมนูญชีวิต
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) ธรรมนูญชีวิตTongsamut vorasan
 
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)หนุ่มน้อย ดาร์จีลิ่ง
 
สไลด์ ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...
สไลด์  ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...สไลด์  ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...
สไลด์ ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...Prachoom Rangkasikorn
 
สไลด์ ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...
สไลด์  ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...สไลด์  ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...
สไลด์ ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...Prachoom Rangkasikorn
 
จังหวัดปราจีนบุรี
จังหวัดปราจีนบุรีจังหวัดปราจีนบุรี
จังหวัดปราจีนบุรีKKloveyou
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Net'Net Zii
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยPadvee Academy
 
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555Panda Jing
 
การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทย
การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทยการนำชาดกเข้ามาในประเทศไทย
การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทยRung Kru
 
หน้าที่ชาวพุทธ.docx
หน้าที่ชาวพุทธ.docxหน้าที่ชาวพุทธ.docx
หน้าที่ชาวพุทธ.docxpinglada1
 
หน้าที่ชาวพุทธ
หน้าที่ชาวพุทธหน้าที่ชาวพุทธ
หน้าที่ชาวพุทธleemeanshun minzstar
 

Similar to พระพุทธศาสนาในประเทศอังกฤษ (20)

พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
 
ความรู้ทางพุทธศาสนา
ความรู้ทางพุทธศาสนาความรู้ทางพุทธศาสนา
ความรู้ทางพุทธศาสนา
 
Buddhajayanti2,600
Buddhajayanti2,600Buddhajayanti2,600
Buddhajayanti2,600
 
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดียพระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) ธรรมนูญชีวิต
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   ธรรมนูญชีวิตพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   ธรรมนูญชีวิต
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) ธรรมนูญชีวิต
 
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)
 
สไลด์ ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...
สไลด์  ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...สไลด์  ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...
สไลด์ ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...
 
สไลด์ ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...
สไลด์  ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...สไลด์  ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...
สไลด์ ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...
 
จังหวัดปราจีนบุรี
จังหวัดปราจีนบุรีจังหวัดปราจีนบุรี
จังหวัดปราจีนบุรี
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
หนังสือธรรมะใกล้ตัว
หนังสือธรรมะใกล้ตัวหนังสือธรรมะใกล้ตัว
หนังสือธรรมะใกล้ตัว
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
 
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎกพัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
 
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
 
Saeng Dhamma June, 2010
Saeng Dhamma June, 2010Saeng Dhamma June, 2010
Saeng Dhamma June, 2010
 
การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทย
การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทยการนำชาดกเข้ามาในประเทศไทย
การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทย
 
ปฏิญญาชมพุทธคยา ๒๕๕๔
ปฏิญญาชมพุทธคยา ๒๕๕๔ปฏิญญาชมพุทธคยา ๒๕๕๔
ปฏิญญาชมพุทธคยา ๒๕๕๔
 
หน้าที่ชาวพุทธ.docx
หน้าที่ชาวพุทธ.docxหน้าที่ชาวพุทธ.docx
หน้าที่ชาวพุทธ.docx
 
หน้าที่ชาวพุทธ
หน้าที่ชาวพุทธหน้าที่ชาวพุทธ
หน้าที่ชาวพุทธ
 

More from วัดดอนทอง กาฬสินธุ์

กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 

More from วัดดอนทอง กาฬสินธุ์ (20)

กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
 
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
 
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
 
รูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนารูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนา
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Pptธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
 
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
 
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำรายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
 
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
 
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
 
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
 
แนวข้อสอบของนิสิต ครั้งที่ ๒
แนวข้อสอบของนิสิต ครั้งที่ ๒แนวข้อสอบของนิสิต ครั้งที่ ๒
แนวข้อสอบของนิสิต ครั้งที่ ๒
 

พระพุทธศาสนาในประเทศอังกฤษ

  • 1.
  • 2.
  • 4. จดทําโดย ั เจ้ าอธิการชนะชล ปภาโส/สีดามาตย์ พระปลัดณัฏฐกิตต์ กิตฺติญาโณ/พงศ์รพี พระอธิการณัฐพงษ์ ถาวโร/เหลามวง ่ ่ พระอธิการบวลา นิภาธโร/ลอดสอึ ั
  • 5. พระพทธศาสนาในประเทศองกฤษ ุ ั พระพทธศาสนาเข้าสประเทศ ุ ู่ พระพุทธศาสนาเข้ าไปเผยแผ่ทางอังกฤษเมื่อใดนันไม่มีหลักฐานบ่งชี ้แน่ ้ ชัดมีแต่ข้อเขียนของนายคลีเมนต์แห่งเมืองอะเล็กซานเดรี ย เคยเขียน เรื่ องเกี่ยวกับพระพุทธเจ้ าว่า “บรรดาชาวอิ นเดียทีเ่ ชื อถือปฏิ บติตามคํา ่ ั สอนของพระพุทธเจ้า ต่างพากันสรรเสริ ญพระพุทธเจ้าต่างๆนาๆและ ให้เกี ยรติ ยกย่องว่าเป็ นเทพเจ้า” ซึงชาวอังกฤษได้ รับพุทธศาสนาครัง ่ ้ แรกเมื่อปี พ.ศ.2393 โดยนายเสปนเซอร์ อาร์ คี ผู้พิมพ์หนังสือศาสน จักรแห่งทิศบูรพาขึ ้นออกเผยแผ่ แต่ ณ ขณะนันมีผ้ สนใจใน้ ู พระพุทธศาสนาน้ อยมาก
  • 6. พระพทธศาสนาในประเทศองกฤษ ุ ั แต่ในปี พ.ศ. 2422 เซอร์ เอ็ดวิน อาร์ โนลด์ได้ เขียนหนังสือประทีปแห่ง เอเชียขึ ้นและได้ รับคําตอบรับอย่างแพร่หลาย ทําให้ ชาวอังกฤษหันมา เสื่อมใสศรัทธาในพระพุทธศาสนามากขึ ้น ถือว่า หนังสือเล่มนี ้เป็ น บทบาทสําคัญในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศอังกฤษรวมทัง้ ประเทศทางตะวันออกอื่นๆ และปั จจุบนนี ้ หนังสือประทีปแห่งเอเชีย ั เคยตีพิมพ์ในประเทศอังกฤษกว่า 60 ครัง ในสหรัฐอเมริ กาไม่ตํ่ากว่า ้ 80 ครัง้
  • 7. พระพทธศาสนาในประเทศองกฤษ ุ ั เมื่อ พ.ศ.2424 ศาสตราจารย์ ดร. ที ดับบลิว ริ สเดวิด กับภรรยาได้ ก่อตังสมาคมบาลีปกรณ์ขึ ้นที่กรุงลอนดอน โดยมีวตถุประสงค์เพื่อแปล ้ ั พระไตรปิ ฎกเป็ นภาษาอังกฤษออกพิมพ์เผยแผ่ เพื่อทังส่งเสริ ม ้ การศึกษาภาษาบาลีและอรรถกถาเหล่านัน ซึง นางสาวไอ ฮอร์ เนอ ้ ่ ผู้ประกอบการศึกษาบาลี อุทิศชีวิตให้ กบงานพระคัมภีร์ภาษาบาลี ั ออกเป็ นภาษาอังกฤษ ซึงเธอเป็ นผู้รับช่วงงานอันประเสริ ฐนี ้ต่อจาก ่ นายและนางริ สเดวิด ชัวระยะเวลา 25 ปี พระไตรปิ ฏกดังกล่าวทําให้ มี ่ คนสนใจพระพุทธศาสนามากยิ่งขึ ้น
  • 8. พระพทธศาสนาในประเทศองกฤษ ุ ั • ปี พ.ศ. 2445 ได้ มีชาวอังกฤษผู้หนึงนาม ชาร์ ลส์ เฮนรี่ อัลเลน เบอร์ ่ เนตได้ อปสมบทเป็ นภิกษุ ุ ซึงถือว่าเป็ นพระภิ กษุรูปแรกของอังกฤษ ่ โดยมีฉายาว่า อานันทะเมตเตยยะ ท่านสนใจพระพุทธศาสนาเมื่ออายุ 18 ปี ได้ เดินทางไปศึกษาพระพุทธศาสนาที่พม่า มีความปรารถนาที่ จะนําพุทธศาสนาไปเผยแผ่ที่องกฤษ โดยการนําพระธรรมฑูตจากพม่า ั เดินทางไปประกาศพุทธศาสนาที่กรุงลอนดอน ในปี พ.ศ. 2450 ขณะ อยู่ที่กรุงลอนดอนได้ ร่วมมือกับปราชญ์ทางพุทธศาสนาก่อตังพุทธ ้ สมาคมแห่งเกรตบริ เทนและไอร์ แลนด์ และได้ พิมพ์นิตยสารพุทธปริ ทศ ั ออกเผยแผ่
  • 9. พระพทธศาสนาในประเทศองกฤษ ุ ั • ปี พ.ศ. 2448 ปรากฏมีชาวอังกฤษที่นบถือพระพุทธศาสนาคนแรกได้ ั แสดงปาฐกถาธรรมครังแรกในสวนสาธารณะรี เจนต์ ปาร์ ค ชื่อของเขา ้ คือ อาร์ เจ. แจคสัน ท่านผู้นี ้ได้ เปิ ดร้ านหนังสือทางพระพุทธศาสนา กับนาย เจ. อาร์ เพน ต่อมาในปี พ.ศ. 2449 ทังสองท่านได้ ก่อตังพุทธ ้ ้ สมาคมแห่งอังกฤษขึ ้น
  • 10. พระพทธศาสนาในประเทศองกฤษ ุ ั • ในปี พ.ศ. 2467 ชาวพุทธในอังกฤษ นําโดยนาย คริ สมาส ฮัมเฟรย์ ได้ ร่วมกันก่อตังพุทธสมาคมแห่งอังกฤษขึ ้นแทนพุทธสมาคมแห่งเกรตบริ ้ เทนและไอร์ แลนด์ และได้ พิมพ์นิตยสาร ทางสายกลาง ออกเผยแผ่ ส่งผลให้ พทธศาสนากว้ างขวางออกไปอีก ุ
  • 11. พระพทธศาสนาในประเทศองกฤษ ุ ั • ในปี พ.ศ. 2470 พระอนาคาริกะ ธรรมปาละ พระภิกษุชาวลังกาได้ เดินทาง มาเผยแผ่พระพุทธศาสนาในอังกฤษ และในปี พ.ศ. 2497 พระกปิลวฑโฒ ั ได้ อปสมบทตัวเองที่กรุงเทพฯ ต่อมาใน พ.ศ. 2498 ได้ พาสามเณรอีก 3 รูป ุ ไปกรุงเทพเพื่ออุปสมบทเป็ นพระภิกษุที่วดปากนํ้า ก่อนจะกลับไปตังสํานัก ั ้ สงฆ์ที่พทธวิหาแฮมป์ เสตด สอนวิปัสสนากรรมฐาน ต่อมา พระภิกษุแคนนา ุ ดารูปหนึงที่บวชในประเทศพม่า ชื่ออานันทโพธิ ได้ เดินทางเข้ ามาวิปัสนากัม ่ ฐานสี่ที่วดมหาธาตุยวราชรังสฤษฎิ์ ปรากฏว่ามีชาวอังกฤษและชาวยุโรป ั ุ สนใจเข้ าฝึ กเป็ นจํานวนมากจนต้ องขยายสถานที่ศกษาไปที่พทธวิหารแฮมป ึ ุ ์ เสตดในประเทศอังกฤษ และได้ อาราธนามัสการ พระราชสุทธิมนีเดินทางไป ุ ประเทศอังกฤษ โดยมีทางสมาคมเป็ นผู้ออกค่าใช้ จ่ายทังสิ ้น ้
  • 12. พระพทธศาสนาในประเทศองกฤษ ุ ั • ปี พ.ศ. 2506 ประธานสมาคมแห่งประเทศอังกฤษ ได้ มีหนังสือสถาน เอกอัครราชทูต ณ กรุงลอนดอน ขอเชิญผู้แทนสงฆ์ไทยเดินทางไป ประเทศอังกฤษจึงได้ รายงานเสนอกระทรวงศึกษาธิการ ในขณะนันถ้ า้ พิจารณาตามลําดับ ผลการพิจารณาปรากฏว่านายกรัฐมนตรี อนุญาต ให้ ดําเนินการสมณะทูตได้ • ในปี พ.ศ. 2507 โดยประกอบด้ วย พระราชสุทธิ มนี เป็ นโชดกปธ. 9 ุ พระมหาวิ จิตร ติ ส.สทต.โต เป็ น พระสหจร และอธิ การบดีศาสนา ภานุ พงษ์ มุทกนต์ เป็ นไวยาจักร ุ ั
  • 13. พระพทธศาสนาในประเทศองกฤษ ุ ั • ในปี เดียวกันนันเอง พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หวรั ชการที่ 9 ทรง ้ ั โปรดเกล้ าสร้ างวัดในกรุงลอนดอน ไว้ ในบรมราชูปถัมภ์ ในพื ้นที่ถนน ไครส์ อีสทธีน กรุงลอนดอน เสียเงินไปในราคาประมาณ 17.17 ล้ าน บาทและสร้ างเสร็จ • ในปี พ.ศ. 2508 และในปี พ.ศ. 2509 นันเอง ที่ พระบาทสมเด็จพระ ้ เจ้ าอยู่หวรัชการที่ 9 ทรงตังชื่อวัดว่า “วัดพุทธประทีป” ก่อนที่คณะทูต ั ้ สายประเทศอังกฤษจะได้ ย้ายไปอยู่ที่วดพุทธประทีปเพื่อเผยแผ่พทธ ั ุ ศาสนา ซึงเป็ นวันไทยแห่งแรกในอังกฤษ และยังมีวดที่สร้ างหลังจาก ่ ั นันอีกมากมายอย่าง วัดอมราวดี เป็ นต้ น ้
  • 14. พระพทธศาสนาในประเทศอังกฤ ุ • ในปี พ.ศ. 2530 หลวงพ่อเขมธัมโมได้ จดตังวัดทางพุทธศาสนาในเมืองวอ ั ้ ริคเป็ นรูปแบบของวัดป่ าโดยตังชื่อว่า วัดป่ าสันติธรรม ดําเนินองค์การเผย ้ แผ่คําสอนพุทธศาสนาให้ กบชาติอื่นๆที่สนใจ รวมทังสอนการนังสมาธิและ ั ้ ่ แนะแนวทางการแก้ ไขปั ญหาชีวิตด้ วยหลักธรรมทางพุทธศาสนา ภารกิจ ใหญ่อีกด้ านหนึงของหลวงพ่อเขมธัมโมคือการจัดตังสํานักงานใหญ่องค์การ ่ ้ คุลิมาล ซึงเป็ นองค์การสอนพุทธศาสนาในเรื อนจํา ่ • การจัดอบรมปฏิบติงานด้ านพุทธศาสนา สําหรับอนุศาสนาจารย์ ซึงได้ ผน ั ่ ั ตัวเองไปทําหน้ าที่ช่วยเหลือสังคมคุก คือ เข้ าไปสอนนักโทษในเรื อนําโดย ไม่จํากัดว่าศาสนาอะไร จนทําให้ พฤติกรรมนักโทษเปลี่ยนจากก้ าวร้ าวเป็ น สงบเสงี่ยม บางรายถึงกับขอบวช 7 วัน แล้ วกลับไปอยู่ในคุกต่อ
  • 15. พระพทธศาสนาในประเทศองกฤษ ุ ั • ในปี พ.ศ.2535 ได้ มีการจัดตัง้ สวนป่ าพุทธองค์ ณ เรื อนจําสปริ งฟิ ลล์ เพื่อให้ นกโทษทํากิจกรรมทางศาสนาจะเห็นว่าพระพุทธศาสนาใน ั อังกฤษเจริ ญรุ่งเรื องขึ ้นตามลําดับ มีผ้ เู สื่อมใสเพิ่มมากขึ ้นเรื่ อยๆ เพราะประเทศอังกฤษเป็ นประเทศที่ปกครองแบบระบบประชาธิปไตย ทําให้ ปะชาชนสามารถนับถือศาสนาได้ อย่างกว้ างขวางเหมืนอย่างประ ทศไทย
  • 16. พระพทธศาสนาในประเทศองกฤษ ุ ั อิทธิพลทางสังคม  สนองความต้ องการของชาวตะวันตกได้ ด้ วยคําสอนทางพุทธศาสนา เป็ นสัจธรรมที่สามารถนําไปพฤติปฏิบติ และพิสจน์ให้ เห็นผลได้ ตาม ั ู หลักธรรมชาติ อันเป็ นพื ้นฐานแห่งความต้ องการของชนชาวยุโรป ที่ ชอบพิสจน์ค้นคว้ าหาความจริ ง จึงช่วยให้ เกิดความต้ องการความสุข ู สงบสุขทางจิตใจมากกว่าอย่างอื่น  ลดความรุนแรงทางด้ านวัตถุนิยมของชาวตะวันตกได้ ทําให้ ชีวิต ความเป็ นอยู่ของชนชาวยุโรปเรี ยบง่าย และทําให้ ลดปั ญหาทางสังคม ลงได้ มาก ตามอัตราส่วนของชาวยุโรป ที่หนมานับถือพระพุทธศาสนา ั และได้ ประพฤติปฏิบติตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนามีสงคหวัตถุ ั ั ธรรม เป็ นต้ น
  • 17. พระพทธศาสนาในประเทศองกฤษ ุ ั  เป็ นศูนย์กลางศึกษาวัฒนธรรมประเพณีทางพุทธศาสนา และเป็ นที่พงของ ึ่ ประชาชนในยุโรปและอเมริ กาได้ มีวดไทยในฝ่ ายเถรวาทตังอยูหลายเมือง มีชน ั ้ ่ ชาวยโรป และอเมริ กาเข้ ามาบรรพชาและอุปสมบท เพื่อศึกษาเล่าเรี ยนทาง ุ พระพุทธศาสนาเป็ นจํานวนมากไม่น้อยเช่นวัดในประเทศอังกฤษ ทําให้ เป็ นที่ ศูนย์รวมจิตใจของชาวยุโรป อีกทั ้งพุทธศาสนิกชนชาวไทย ชาวเอเซีย ที่อาศัยอยู่ ในประเทศนัน ๆ ้  เป็ นศูนย์กลางทางด้ านวัฒนธรรมประเพณีของศาสนา ที่ชวยให้ สงคมชาวยุโรป ่ ั และเอเซียมีความเป็ นอยูผกพันกัน โดยเฉพาะชนชาวไทยที่เข้ าไปอาศัยประกอบ ่ ู อาชีพทําธุรกิจ และแตงงานใช้ชีวิตร่วมกบชนชาวยโรป ซึงในปั จจุบนมีมาก ได้ ่ ั ุ ่ ั นําเอาระเบียบทางสังคมพร้ อมกับศิลปวัฒนธรรมประเพณีตาง ๆ ทางศาสนาเข้า ่ ไปเผยแพร่ จึงทําให้ ชนชาวยุโรปได้ เข้ าใจว่า สงคมแหงชาวพทธนน มันคงในความ ั ่ ุ ั้ ่ เป็นผ้ มีเมตตาธรรม มีความกตัญ�ูกตเวทีตอบิดา และมารดา อีกทงผ้ มีพระคณ ู ่ ั้ ู ุ และยังเป็ นผู้อนุรักษ์ วฒนธรรมประเพณีอนดีงามทางศาสนาได้ อย่าง เหนียวแน่น ั ั และมันคง ่
  • 18. พระพทธศาสนาในประเทศองกฤษ ุ ั  เป็ นแหล่งพบปะแลกเปลี่ยนและศึกษาวัฒนธรรมสําหรับประชาชน จากประเทศต่าง ๆ โดยมีวดเป็ นศูนย์รวมจิตใจของพุทธศาสนิกชนทัวทัง้ ั ่ ยุโรป รวมทังชาวเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น ไทย, ลาว, พม่า, เขมร, ้ เวียดนาม ที่เข้ าไปถือสัญชาติของประเทศนัน ๆ และวัดไทยยังเปิ ด ้ โรงเรี ยนพุทธศาสนาวันอาทิตย์แก่ลกหลานชาวไทยและชาว ู ต่างประเทศที่สนใจจะเรี ยนภาษาไทย, ดนตรี ไทย, ศิลป-วัฒนธรรมอีก ด้ วย
  • 19. พระพทธศาสนาในประเทศองกฤษ ุ ั  อิทธิพลทางด้ านเศรษฐกิจ  คําสอนทางพุทธศาสนามีหลักการที่ไม่ตามกระแสของวัตถุนิยม โดยสอนเรื่ องการ ดําเนินชีวิตด้ วยความพอดี มีความสันโดษ ประหยัด ใช้จายตามความจําเป็น ไม่ ่ ส่งเสริ มการบริ โภคเพื่อตามใจอยาก ตามใจต้ องการ จึงเป็ นคําสอนที่หกล้ างกับ ั แนวคิดแบบวัตถุนิยม (materialism) และแนวคิดแบบบริ โภคนิยม (consumerism) จึงส่งเสริ มให้ เกิดแนวคิดแบบพอเพียง เน้ นความจําเป็ นใน การสนองตอบต่อความต้ องการปั จจัยพื ้นฐานในการดําเนินชีวิต คําสอนพุทธ ศาสนาจึงได้ มีอิทธิพลต่อด้ านเศรษฐกิจเป็ นอย่างมาก  การที่ชนชาวยุโรป เข้ ามาบวชในพระพุทธศาสนาเป็ นจํานวนมากจึงมีสวนในการ ่ ชวยลดความฟ่ มเฟือยตามคานิยมตาง ๆ ในการดํารงชีพความเป็ นอยู่ รวมถงการ ่ ุ ่ ่ ึ แพร่หลายในคําสอนทางพระพุทธศาสนา ทําให้ ชนชาวยุโรป มีความสันโดษใน การครองชีพทางด้านเครื่องอปโภคบริโภคตางๆด้วย ุ ่
  • 20. พระพทธศาสนาในประเทศองกฤษ ุ ั  คําสอนทางพุทธศาสนาที่เกี่ยวกับด้ านเศรษฐกิจ ได้ มีอิทธิพลต่อประชาชนผู้ นับถือพุทธศาสนาชาวตะวันตกไม่น้อย ด้ วยที่คําสอนได้ เน้ นถึงการเลี ้ยงชีพ ให้ สจริต ไม่ประกอบอาชีพในทางทุจริต (สัมมาอาชีวะ) และกิจกรรมทาง ุ เศรษฐกิจก็มีคําสอนที่ให้ เห็นถึงประโยชน์ปัจจุบน เช่นหลักทิฎฐธัมมิกตถะ ั ั ประโยชน์ ๔ อันได้ แก่ ๑. การขยันหมันเพียร ่ ๒. การประหยัดอดออม ๓. การคบคนดี ๔. การใช้ จ่ายทรัพย์ตามกําลังของตน เป็ นต้ น ล้ วนเป็ นคําสอนที่กล่าวถึง เรื่ องกิจกรรมทางเศรษฐกิจทังสิ ้น ้
  • 21. พระพทธศาสนาในประเทศองกฤษ ุ ั อิทธิพลทางด้ านการเมือง  การที่รัฐบาลไทยได้ ให้ การสนับสนุนช่วยเหลือการก่อสร้ างถาวรวัตถุต่าง ๆ อย่างเช่น ที่วดพุทธประทีป ประเทศอังกฤษ รัฐบาลไทยได้ สนับสนุนปั จจัย ั ช่วยเหลือในการก่อสร้ างวิหารฝ่ ายเถรวาทแบบไทย ทําให้ เกิดความสัมพันธ์ อันดีระหว่างประเทศ  สงครามศาสนาในคริสตวรรษที่ ๑๓ เรี ยกว่าสงครามครูเสด ทําให้ พทธ ุ ศาสนาถูกทําลายจากประเทศลัทเวีย, เอสโทเนีย, โครเอเซีย โดยฝี มือของ กองทหารเพื่อพระคริสต์ของเยอรมัน
  • 22. พระพทธศาสนาในประเทศองกฤษ ุ ั พระพุทธศาสนาเข้ าไปเผยแพร่ในยุโรป ทําให้ เกิดความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในบรรดากลุมพุทธศาสนิกด้ วยกัน ทําให้ ่ เกิดชมรม, สมาคมและองค์กรพุทธศาสนิกสัมพันธ์ทวโลก ั่  เมื่อผู้นําทางพระพุทธศาสนาจากประเทศที่พฒนาแล้ ว ยุโรป มาพบ ั กับผู้นําจากประเทศที่เป็ นพุทธมาหลายชัวคน เช่น ไทย พม่า ศรี ลงกา ่ ั จึงได้ มีการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้เทคนิคการเผยแพร่ธรรม การปฏิบติธรรม ั ของกันและกัน ที่อธิบายธรรมด้ านประยุกต์ เพื่อให้ คนหนุ่มสาวเห็น คุณค่าของศาสนา เป็ นเรื่ องของประเทศที่พฒนาแล้ ว อาจมีวิธีการที่ ั ทันสมัยกว่าได้
  • 23. พระพทธศาสนาในประเทศองกฤษ ุ ั  พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หว และสมเด็จพระนางเจ้ าฯ ั พระบรมราชินีนาถ องค์อครศาสนูปถัมภ์ ได้ เสด็จเป็ นทางการเปิ ดวัด ั ไทยวัดแรกในยุโรปชื่อ วัดพุทธประทีป เมื่อวันที่ ๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๐๙ นับว่าเป็ นการสร้ างความสัมพันธ์ระหว่างประมุขแห่งกษัตริ ย์ทง้ั สองประเทศอีกด้ านหนึงโดยมีพระพุทธศาสนาเป็ นสื่อกลาง ่
  • 24.
  • 25.
  • 26. พระพทธศาสนาในประเทศองกฤษ ุ ั • เอกสารอ้างอง ิ 1. ชิตมโน. พระพทธศาสนาในนานาประเทศ. กรุงเทพฯ: มหามกฎราชวิทยาลย. ๒๕๓๓ ุ ุ ั 2. ทรงวิทย์ แก้วศรี. ประวติศาสตร์พระพทธศาสนา เล่ม ๑๔ พระพทธศาสนาในองกฤษ เยอรมน . ั ุ ุ ั ั กรุงเทพฯ: การศาสนา. ๒๕๓๐. 3. ทรงวิทย์ แก้วศรี. ประวติศาสตร์พระพทธศาสนา เล่ม ๑๕ พระพทธ ศาสนาในสหรัฐอเมริกา . ั ุ ุ กรุงเทพฯ: การศาสนา. ๒๕๓๐. 4. อุทย ธมมสาโร. พทธศาสนาในยโรปและอเมริกา. กรุงเทพฯ: โพธ์ิสามต้นการพิมพ์. ๒๕๑๘. ั ั ุ ุ